8030911

แนะนำการสอบกรมพิทักษ์เด็กเยาวชนผู้ด้อยโอกาส

หมวดหมู่สินค้า: 59 กรมกิจการเด็กและเยาวชน

27 มิถุนายน 2565

ผู้ชม 139 ผู้ชม

แนะนำการสอบกรมพิทักษ์เด็กเยาวชนผู้ด้อยโอกาส
แนะนำการสอบกรมพิทักษ์เด็กเยาวชนผู้ด้อยโอกาส หางานราชการ สอบบรรจุงานราชการ สมัครงานราชการ
การเตรียมตัวสอบกรมพิทักษ์เด็กเยาวชนผู้ด้อยโอกาส หางานราชการ สอบบรรจุงานราชการ สมัครงานราชการ
สอบบรรจุกรมพิทักษ์เด็กเยาวชนผู้ด้อยโอกาส , ข้อสอบกรมพิทักษ์เด็กเยาวชนผู้ด้อยโอกาส , งานราชการกรมพิทักษ์เด็กเยาวชนผู้ด้อยโอกาส

บทบาทหน้าที่ของกรมพิทักษ์เด็กเยาวชนผู้ด้อยโอกาส





กรมพิทักษ์เด็กเยาวชนผู้ด้อยโอกาส
 
เกี่ยวกับเรา
เราคือใคร • เป้าหมายของเรา • เราทำอะไร • เราทำอย่างไร • โครงการของเรา
สยามกัมมาจล
สืบสานปณิธานการดำเนินกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อสังคม
นับจากสยามได้เปิดประเทศเพื่อค้าขายกับชาติตะวันตก ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว (พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๑๑) ส่งผลให้การค้าขายทั้งภายในและภายนอกประเทศขยายตัวมากขึ้น ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางด้านระบบเศรษฐกิจไทยจากระบบเศรษฐกิจแบบ "เลี้ยงตัวเอง" มา เป็นเศรษฐกิจที่ "ผลิตเพื่อตลาด" ซึ่งต้องพึ่งพาเงินตรามากขึ้น จำเป็นที่จะต้องพึ่งพาธนาคารพาณิชย์ เพื่อให้บริการทางการเงินทางการรับฝาก ให้กู้เงิน และรองรับการบริการทางการเงินในการค้าระ หว่างประเทศ ซึ่งในระยะแรก ชาติตะวันตกมีบทบาทในการตั้งธนาคารสาขาขึ้นในประเทศไทย
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่ง ดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติได้ทรงตระหนักถึงความสำคัญของสถาบันการ เงินที่จะมีต่อระบบเศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศ จึงดำริที่จะตั้ง "ธนาคารกลาง"หรือ "แนช นัลแบงค์" (National Bank) และธนาคารพาณิชย์ ขึ้นเพื่อให้ประเทศไทยมีสถาบันการเงิน และการ ธนาคารเป็นของตนเอง
โดยในระยะแรก ได้ทรงจัดตั้งกิจการธนาคารในชื่อว่า “บุคคลัภย์” (Book Club) เพื่อทดลองให้ บริการรับฝากและให้กู้ยืมเงินแก่ประชาชนทั่วไป เมื่อพ่อค้า นักธุรกิจ และหน่วยงานราชการไทยให้ การยอมรับใช้บริการของบุคคลัภย์อย่างแพร่หลาย แล้วจึงเริ่มดำเนินการขยายธุรกิจไปด้านการแลก เปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ นับเป็นครั้งแรกที่คนไทยเข้ามามีส่วนร่วมในธุรกิจที่เคยผูกขาดโดย ธนาคารต่างประเทศ
ความสำเร็จของ “บุคคลัภย์” นำไปสู่การก่อตั้งธนาคารพาณิชย์ของไทยแห่งแรกขึ้น กรมหมื่นมหิศร- ราชหฤทัย ได้ยื่นขอจดทะเบียน บริษัท แบงค์สยามกัมมาจล ทุนจำกัด โดยต้องฝ่าฟันอุปสรรคการ ต่อต้านจากประเทศชาติตะวันตกที่เข้ามามีบทบาททางเศรษฐกิจในประเทศไทย จนต้องทรงตัดสิน พระทัยยื่นหนังสือกราบบังคมทูล ขอลาออกจากตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ เพื่อ ให้การก่อตั้งธนาคารแห่งแรกของไทยจึงยังคงเดินหน้าต่อไปได้ จนกระทั่ง พระบาทสมเด็จพระจุล จอม-เกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานอำนาจพิเศษให้จัดตั้ง “บริษัท แบงค์สยามกัมมาจล ทุนจำกัด” ขึ้น ด้วยทุนจดทะเบียน ๓ ล้านบาท โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๔๙ (ร.ศ.๑๒๕) ให้บริษัทแบงค์สยามกัมมาจลทุนจำกัด ประกอบธุรกิจธนาคาร พาณิชย์ได้อย่างเป็นทางการ ซึ่งต่อมา บริษัทแบงค์สยามกัมมาจลทุนจำกัด ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น “ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด” ตั้งแต่วันที่ ๒๗ มกราคม ๒๔๘๒ ตามการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก “สยาม” เป็น “ไทย”
จึงเป็นอันว่าความพยายามที่จะให้ประเทศไทยเป็นอิสระทางการเงินตามพระราชดำริของกรมหมื่น มหิศรราชหฤทัย ก็ประสบผลสำเร็จ นับเป็นคุณประโยชน์ต่อประชาชน และแผ่นดินไทยในที่สุด
นับตั้งแต่ก่อตั้ง ธนาคารไทยพาณิชย์ ได้ดำเนินงานภายใต้ปณิธานอันแน่วแน่ คือ การดำเนินงานด้วย คุณภาพควบคู่คุณธรรม โดยถือว่าการดำเนินกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อสังคมนั้นเป็นส่วนสำคัญ ส่วนหนึ่งของการดำเนินแนวนโยบายของธนาคาร และได้ก่อตั้ง มูลนิธิสยามกัมมาจล (Siam Com mercial Foundation) ขึ้นเมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๓๘ เพื่อให้เป็นหน่วยงาน ที่ดำเนินการในส่วน ของกิจกรรมเพื่อสังคม การนำคำว่า “สยามกัมมาจล” มาตั้งเป็นชื่อมูลนิธิ จึงถือเป็นการยืนยันถึง เจตนารมณ์ขององค์กร ที่คำนึงถึงประโยชน์ต่อประชาชน และประเทศชาติ นับแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมไปถึงอนาคต
ในระยะแรก มูลนิธิสยามกัมมาจล มีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านการศึกษา ศิลป- วัฒนธรรม การอนุรักษ์ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม จนกระทั่ง ปี พ.ศ.๒๕๕๑ ธนาคาร จึงมอบหมายให้ มูลนิธิสยามกัมมาจล เป็นหน่วยงานหลักในการดำเนินงานส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเยาวชน และชุมชน ทั้งนี้ด้วยตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาเยาวชน ผู้ซึ่งจะเติบโตเป็นกำลังสำคัญใน การพัฒนาประเทศนั่นเอง











ประวัติความเป็นมา
สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและ พิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการและ ผู้สูงอายุ เป็นส่วนราชการมีฐานะ เป็นกรมในสังกัด กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 และพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหาร และอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 โดยยุบรวมส่วนราชการ ที่มีภารกิจหน้าที่คล้ายกันหรือเหมือนกันตามกลุ่มเป้าหมายซึ่งอยู่ในกลุ่ม งานเดียวกัน เข้ามารวมกัน เป็น หน่วยงานเดียว คือ ให้รวม 4 หน่วยงาน คือ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี บางส่วนของกรมการพัฒนาชุมชน และกรมเร่งรัดพัฒนาชนบท สังกัดกระทรวงมหาดไทย และบางส่วนของกรมประชาสงเคราะห์สังกัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม มาเป็นสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
 
วิสัยทัศน์
สท. เป็นองค์กรกลางในการพัฒนากลุ่มเป้าหมายให้เป็นไปตามมาตรฐาน
 
พันธกิจ
พัฒนามาตรการกลไกและนวัตกรรม ในการส่งเสริมสวัสดิภาพ และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิกลุ่มเป้าหมาย
เสริมสร้างความเข้มแข็งและบูรณาการ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการส่งเสริมสวัสดิภาพ และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิกลุ่มเป้าหมาย
พัฒนาระบบบริหารจัดการของ สท. ให้มีศักยภาพเป็นองค์กรกลาง ในการพัฒนากลุ่มเป้าหมาย
 
ติดต่อองค์กร
สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ (สท.)
ที่อยู่: 618/1 ถนนนิคมมักกะสัน แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์: 02-2555850-7
โทรสาร: 02-2539113
Website: http://www.opp.go.th





ไฟล์ราคา 389 เพิ่ม 100 บาท แถมฟรี ชุดติวสอบ ภาค ก แบบเข้าใจง่าย
หนังสือราคา 789 บวก แถมฟรี MP3บรรยาย และโปรแกรมฝึกทำข้อสอบ ภาค ก 
>รวบรวมจาก
ผู้สอบติดอันดับต้นๆ เจาะข้อสอบเข้างานราชการ << 

>> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ <<
>> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ <<
>> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน <<

 

 

 

 

Engine by shopup.com