7720687

ปรึกษาคดีความสุรินทร์  โทร 086-8639177

หมวดหมู่สินค้า: rtd72 ทนาย/ประกันตัว

14 เมษายน 2565

ผู้ชม 145 ผู้ชม



สำนักงานกฎหมาย รับว่าความคดีมรดก คดีที่ดิน คดีครอบครัว คดีกู้ยืม อุบัติเหตุรถชน คดีรถชน เรียกค่าสินไหม คดีแพ่ง คดีอาญา
ให้คำปรึกษากฎหมายฟรีในพื้นที่สุรินทร์  
ปรึกษาคดีความสุรินทร์  
ทนายคดีกู้ยืมเงินสุรินทร์  
ทนายคดีพิพาทเกี่ยวกับมรดกสุรินทร์  
คดีผิดสัญญาต่าง ๆ  คดีค้ำประกัน คดีละเมิดเรียกค่าเสียหาย  คดีร้องขอจัดตั้งผู้จัดการมรดก คดีซื้อขาย คดีบังคับจำนอง คดีประกันภัย คดีฟ้องแบ่งแยกกรรมสิทธิ์ คดีหุ้นส่วนบริษัท  
คดีครอบครัวสุรินทร์ คดีตัวแทนนายหน้า คดีที่ดินสุรินทร์   คดีฟ้องขับไล่

               ปรึกษาทนายสุรินทร์     




       บริการปรึกษากฎหมายสุรินทร์  

รับปรึกษาปัญหาด้านกฎหมายสุรินทร์ รับว่าความทั่วราชอาณาจักร  คดีแพ่ง คดีอาญา
-  ปรึกษาคดีฟรี อุบัติเหตุรถชนสุรินทร์ ประกันภัย ค่าสินไหม คดีแพ่ง คดีอาญา เจรจากับเจ้าหนี้ เจรจาต่อรองหนี้
- รับปรึกษาปัญหาด้านกฎหมาย  รับว่าความคดีมรดกสุรินทร์ คดีที่ดิน คดีครอบครัว คดีแรงงาน คดีเช็ค คดีกู้ยืม  คดีเช่าซื้อ คดีล้มละลาย 
- รับปรึกษาปัญหาด้านกฎหมาย  รับว่าความคดีสุรินทร์ คดีลิขสิทธิ์สิทธิบัตร  เอกเทศสัญญาต่างๆ รับสืบทรัพย์และบังคับคดี 
- ปรึกษากฎหมายฟรี คุยกับทนายความสุรินทร์ ฟรี สายตรงทนายความ ปรึกษาทนายฟรี ปรึกษาคดีความ ปรึกษาคดีฟรี 



รับปรึกษาปัญหาด้านกฎหมายสุรินทร์  
รับว่าความคดีแพ่ง คดีอาญาสุรินทร์  
ทนายสุรินทร์ ปรึกษาคดีฟรี อุบัติเหตุรถชน ประกันภัย ค่าสินไหม คดีแพ่ง คดีอาญา 
รับว่าความเจรจากับเจ้าหนี้ เจรจาต่อรองหนี้สุรินทร์  
รับว่าความคดีมรดก  คดีที่ดินสุรินทร์ คดีครอบครัว คดีแรงงาน คดีเช็ค คดีกู้ยืม  คดีเช่าซื้อ คดีล้มละลาย 
รับว่าความคดี คดีลิขสิทธิ์สิทธิบัตร  เอกเทศสัญญาต่างๆ รับสืบทรัพย์และบังคับคดีสุรินทร์  


ทนายความ เป็นวิชาชีพทางกฎหมายแขนงหนึ่ง ในแต่ละประเทศอาจมีศัพท์เรียกทนายแตกต่างกัน เช่น barrister-at-law หรือ attorneyหรือ solicitor ซึ่ง barrister-at-law จะหมายถึงทนายความที่ว่าความในศาล ส่วน solicitor จะเป็นที่ปรึกษากฎหมายที่ไม่ได้ว่าความ ในสหรัฐอเมริกาจะเรียกทนายความว่า attorney หรือ lawyer ซึ่งว่าความได้ และเป็นทนายความเพียงประเภทเดียว บางครั้งมีผู้แปลคำว่า lawyer ว่านักกฎหมาย แต่ในประเทศไทย การเป็นทนายว่าความ จะต้องสอบใบอนุญาตว่าความ (ตั๋วทนาย) จากสภาทนายความก่อน โดยไม่จำเป็นต้องสำเร็จการศึกษาระดับเนติบัณฑิต แต่จะต้องเป็นสมาชิกเนติบัณฑิตสภา ขณะที่บางประเทศ ทนายความต้องจบเนติบัณฑิตก่อน
 
ลักษณะของงานที่ทำ
          ปฏิบัติงานทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ให้คำปรึกษาทางกฎหมาย จัดทำเอกสารเกี่ยวกับกฎหมาย ทำหน้าที่เป็นตัวแทนในเรื่องที่เกี่ยวกับกฎหมาย และดำเนินการแทนคู่ความทั้งทางอาญาและแพ่งตรวจสอบเรื่องราวต่างๆ และค้นตัวบทกฎหมายที่จะนำมาใช้โดยการศึกษาประมวลกฎหมายพระราชกฤษฎีกาเทศบัญญัติคำพิพากษาของศาลสูงที่มีมาแล้ว และกฎข้อบังคับที่ตราขึ้นไว้ให้คำแนะนำแก่ลูกความถึงสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมายทำการแทนลูกความในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับกฎหมาย จัดทำเอกสารเกี่ยวกับกฎหมาย และค้นหาบรรพต่างๆ ในประมวลกฎหมาย ว่าความและดำเนินกระบวนการพิจารณาใดๆ ในศาลแทนคู่ความทั้งในคดีแพ่งและคดีอาญา มีบทบาทในการสร้างและรักษาความเป็นธรรมให้กับสังคมมีบทบาทในการคุ้มครอง ดูแลรักษาผลประโยชน์ของบุคคลและองค์กรธุรกิจเอกชนต่าง ๆ มีบทบาทในการให้คำปรึกษาแนะนำ ในการดำเนินการต่างๆ ให้ถูกต้องตามระเบียบและกฎหมาย มีบทบาทเป็นคนกลางเพื่อ ไกล่เกลี่ยความขัดแย้งแห่งผลประโยชน์ด้วย อาจเชี่ยวชาญในงานกฎหมายสาขาใดสาขาหนึ่งโดยเฉพาะ อาจเป็นทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายประจำองค์กร บรรษัทห้างหุ้นส่วน บริษัท นิติบุคคล คณะบุคคล หรือเอกชน
 
สภาพการทำงาน
          ทำงานในสำนักงานมีสิ่งอำนวยความสะดวกสบายเช่นสำนักงานทั่วไปมีอุปกรณ์ช่วยในการจัดการงานเอกสาร เช่น เครื่องพิมพ์ดีด หรือคอมพิวเตอร์ บางครั้งต้องออกไปติดต่อประสานงานนอกสำนักงาน เช่น ศาล สถานีตำรวจ สถานที่อื่นๆ เพื่อปฏิบัติภาระกิจทนายความตามที่ได้รับมอบหมาย ส่วนใหญ่ทำงานสัปดาห์ละ 40 ชั่วโมง แต่การทำงานล่วงเวลาเป็นเรื่องปกติในอาชีพนี้ อาจจะต้องมาทำงานในวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุด
 
          การทำงานของทนายความ เป็นงานที่ต้องมีผู้ได้ประโยชน์ และผู้เสียประโยชน์ อาชีพทนายความเป็นอาชีพที่ค่อนข้างเสี่ยงอันตรายอันเนื่องมาจากลักษณะงาน การฟ้องร้องระหว่างคู่คดีอาจสร้างความไม่พอใจให้อีกฝ่าย หรืองานในหน้าที่อาจจะทำให้ผู้อื่นเสียผลประโยชน์ ทำให้เกิดความโกรธแค้น และอาจถึงขั้นทำร้ายร่างกายและชีวิตได้ ผู้เป็นทนายความควรที่จะจัดให้เกิดความยุติธรรมทั้งสองฝ่าย มีความซื่อสัตย์สุจริตในหน้าที่ไม่ใช้ความรู้ในอาชีพเอาเปรียบ หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย
 
คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ
          ผู้สนใจจะประกอบอาชีพนี้จะต้องเป็นผู้ที่มีใจรักในอาชีพนี้เป็นพื้นฐานเพราะงานว่าความเป็นงานที่ต้องมีความเสียสละ ทุ่มเทใฝ่หาความรู้และมีวาทศิลป์ผู้ที่ประสงค์จะประกอบอาชีพทนายความจะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
          1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านนิติศาสตร์
          2. ต้องขอจดทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นทนายความจากสภาทนายความ
          3. มีสัญชาติไทย
          4. อายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์ ในวันที่ยื่นคำขอจดทะเบียนและรับใบอนุญาต
          5. ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียบกพร่องในศีลธรรมอันดี และไม่เป็นผู้ได้กระทำการใดซึ่งแสดงให้เห็นว่าไม่น่าไว้วางใจในความซื่อสัตย์สุจริต
          6. ไม่อยู่ในระหว่างต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
          7. ไม่เคยต้องโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก ในคดีที่คณะกรรมการเห็นว่าจะนำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่ง วิชาชีพ
          8. ไม่เป็นบุคคลผู้ต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้ล้มละลาย
          9. ไม่เป็นโรคติดต่อซึ่งเป็นที่รังเกียจของสังคม
          10. ไม่เป็นผู้มีร่างกายพิการ หรือจิตบกพร่องอันเป็นเหตุให้เป็นผู้หย่อนสมรรถภาพในการประกอบอาชีพ
          11. ไม่เป็นข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถิ่นซึ่งมีเงินเดือนและตำแหน่งประจำเว้นแต่ข้าราชการการเมือง
          12. ต้องซื่อตรงต่อลูกความ ผู้ร่วมงานอำนวยการความยุติธรรม ชุมชน ผู้ร่วม สำนักงาน และตนเอง
 
          ผู้ที่สนใจประกอบอาชีพทนายความ ควรเตรียมความพร้อมดังต่อไปนี้ : มีความสนใจในด้านกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม และต้องชอบที่จะท่องจำเพราะวิชานิติศาสตร์เป็นการเรียนที่ต้องท่องจำมาก เช่น กฎระเบียบ มาตราต่างๆ เป็นต้น
 
          ผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ต้องสอบเข้ารับการคัดเลือกหรือเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาคณะนิติศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี สำเร็จการศึกษาได้รับปริญญาตรีทางนิติศาสตร์ หรือประกาศนียบัตรในวิชานิติศาสตร์ ซึ่งเทียบได้ไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี จากสถาบันการศึกษาซึ่งสภาทนายความเห็นว่าสถาบันนั้นมีมาตรฐานการศึกษาที่ผู้ได้รับปริญญาตรี หรือประกาศนียบัตรควรเป็นทนายความได้และเป็นสมาชิกแห่งเนติบัณฑิตยสภา
 
          เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่าต้องเข้ารับการอบรมจากสภาทนายความโดยอบรมภาคทฤษฎีหลักสูตร 6 เดือน และอบรมภาคปฏิบัติ หลักสูตร 6เดือน จึงสมัครเข้าสอบขอใบอนุญาตว่าความผ่านการทดสอบจะได้รับใบอนุญาตว่าความทั่วราชอาณาจักรจากสภาทนายความ
 
Engine by shopup.com