ปรึกษาคดีความเขตบางบอน โทร 086-8639177
หมวดหมู่สินค้า: rtd72 ทนาย/ประกันตัว
14 เมษายน 2565
ผู้ชม 133 ผู้ชม
สำนักงานกฎหมาย รับว่าความคดีมรดก คดีที่ดิน คดีครอบครัว คดีกู้ยืม อุบัติเหตุรถชน คดีรถชน เรียกค่าสินไหม คดีแพ่ง คดีอาญา
ให้คำปรึกษากฎหมายฟรีในพื้นที่เขตบางบอน
ปรึกษาคดีความเขตบางบอน
ปรึกษาคดีความเขตบางบอน
ทนายคดีกู้ยืมเงินเขตบางบอน
ทนายคดีพิพาทเกี่ยวกับมรดกเขตบางบอน
คดีผิดสัญญาต่าง ๆ คดีค้ำประกัน คดีละเมิดเรียกค่าเสียหาย คดีร้องขอจัดตั้งผู้จัดการมรดก คดีซื้อขาย คดีบังคับจำนอง คดีประกันภัย คดีฟ้องแบ่งแยกกรรมสิทธิ์ คดีหุ้นส่วนบริษัท คดีครอบครัวเขตบางบอน คดีตัวแทนนายหน้า คดีที่ดินเขตบางบอน คดีฟ้องขับไล่
ปรึกษาทนายเขตบางบอน
บริการปรึกษากฎหมายเขตบางบอน
ทนายคดีพิพาทเกี่ยวกับมรดกเขตบางบอน
คดีผิดสัญญาต่าง ๆ คดีค้ำประกัน คดีละเมิดเรียกค่าเสียหาย คดีร้องขอจัดตั้งผู้จัดการมรดก คดีซื้อขาย คดีบังคับจำนอง คดีประกันภัย คดีฟ้องแบ่งแยกกรรมสิทธิ์ คดีหุ้นส่วนบริษัท คดีครอบครัวเขตบางบอน คดีตัวแทนนายหน้า คดีที่ดินเขตบางบอน คดีฟ้องขับไล่
ปรึกษาทนายเขตบางบอน
บริการปรึกษากฎหมายเขตบางบอน
- รับปรึกษาปัญหาด้านกฎหมายเขตบางบอน รับว่าความทั่วราชอาณาจักร คดีแพ่ง คดีอาญา
- ปรึกษาคดีฟรี อุบัติเหตุรถชนเขตบางบอน ประกันภัย ค่าสินไหม คดีแพ่ง คดีอาญา เจรจากับเจ้าหนี้ เจรจาต่อรองหนี้
- รับปรึกษาปัญหาด้านกฎหมาย รับว่าความคดีมรดกเขตบางบอน คดีที่ดิน คดีครอบครัว คดีแรงงาน คดีเช็ค คดีกู้ยืม คดีเช่าซื้อ คดีล้มละลาย
- รับปรึกษาปัญหาด้านกฎหมาย รับว่าความคดีเขตบางบอน คดีลิขสิทธิ์สิทธิบัตร เอกเทศสัญญาต่างๆ รับสืบทรัพย์และบังคับคดี
- ปรึกษากฎหมายฟรี คุยกับทนายความเขตบางบอน ฟรี สายตรงทนายความ ปรึกษาทนายฟรี ปรึกษาคดีความ ปรึกษาคดีฟรี
รับปรึกษาปัญหาด้านกฎหมายเขตบางบอน
รับว่าความคดีแพ่ง คดีอาญาเขตบางบอน
ทนายเขตบางบอนปรึกษาคดีฟรี อุบัติเหตุรถชน ประกันภัย ค่าสินไหม คดีแพ่ง คดีอาญา
รับว่าความเจรจากับเจ้าหนี้ เจรจาต่อรองหนี้เขตบางบอน
รับว่าความคดีมรดก คดีที่ดินเขตบางบอน คดีครอบครัว คดีแรงงาน คดีเช็ค คดีกู้ยืม คดีเช่าซื้อ คดีล้มละลาย
รับว่าความคดี คดีลิขสิทธิ์สิทธิบัตร เอกเทศสัญญาต่างๆ รับสืบทรัพย์และบังคับคดีเขตบางบอน
ความรู้ทางกฏหมายและคดีความ
ทนายความ เป็นวิชาชีพทางกฎหมายแขนงหนึ่ง ในแต่ละประเทศอาจมีศัพท์เรียกทนายแตกต่างกัน เช่น barrister-at-law หรือ attorneyหรือ solicitor ซึ่ง barrister-at-law จะหมายถึงทนายความที่ว่าความในศาล ส่วน solicitor จะเป็นที่ปรึกษากฎหมายที่ไม่ได้ว่าความ ในอเมริกาจะเรียกทนายความว่า attroney หรือ lawyer ซึ่งว่าความได้ และเป็นทนายความเพียงประเภทเดียว บางครั้งมีผู้แปลคำว่า lawyer ว่านักกฎหมาย แต่ในประเทศไทย ทนายความสามารถรับปรึกษาปัญหากฎหมายและว่าความได้ โดยผู้จะเป็นทนายความ ต้องสอบใบอนุญาตว่าความจากสภาทนายความก่อน ขณะที่บางประเทศ ทนายความต้องจบเนติบัณฑิตย์ก่อน
"ทนาย" มีความหมายว่า ผู้รับใช้ หรือผู้แทนนาย, เป็นคำที่กร่อนมาจาก "แทนนาย", โดยสามารถหมายถึง
• ทนายความ - ผู้ที่สภาทนายความได้รับจดทะเบียนและออกใบอนุญาตให้เป็นทนายความ, ภาษาปากเรียก "หมอความ", โบราณเรียก "ผู้พากย์หนัง", และมักเรียกกันโดยย่อว่า "ทนาย"
• ทนายแผ่นดิน - หมายถึง พนักงานรักษาพระอัยการ หรือที่ปัจจุบันเรียกโดยสั้นว่า "อัยการ"
• ทนายเรือน - พนักงานฝ่ายในมีหน้าที่ติดต่อกับสถานที่ต่าง ๆ ในพระราชวัง
• ทนายเลือก (นักมวย) - นักมวยสําหรับป้องกันพระเจ้าแผ่นดิน
• กรมทนายเลือก - ชื่อกรมในสมัยโบราณกรมหนึ่ง มีหน้าที่กํากับมวย
• ทนายหน้าหอ - เป็นภาษาปาก หมายความว่า หัวหน้าคนรับใช้ที่ใช้ออกหน้าออกตา หรือคนที่มักออกรับหน้าแทนเจ้านายของตน
เมื่อพิจารณาจากความหมาย และประเภทของทนายแล้ว เห็นว่า คำว่า “ทนาย” มีความหมายหลาประการซึ่งไม่เหมือนกัน แล้วแต่ประเภท จึงไม่อาจเอาความหมายของคำว่าแทนนาย มาใช้กับคำว่าทนายความได้ ด้วย ทนายความนั้น ต้องเป็นผู้มีวิชาชีพ ได้รับการศึกษาเล่าเรียนด้านกฎหมายเป็นผู้ได้รับการอบรมวิชาว่าความ มีสภาทนายความรองรับ คำว่า แทนนาย จึงไม่อาจใช้ในความหมายนี้ได้
สำหรับคำว่า ทนายแผ่นดิน ปรากฏหลักฐานตามพระราชกำหนดเก่า กฎหมายตราสามดวง
จ.ศ. ๑๖๐๙ ตรงกับปี พ.ศ. ๑๗๙๐ (หลักฐานที่เขียนเป็นจุลศักราช ตรงกับปีพุทธศักราชที่เท่าไหร่ ให้เอา ๑๑๘๑ บวกเข้ากับจุลศักราช จะถอดออกมาได้เป็นพุทธศักราช)
ตำแหน่งอัยการนี้แต่เดิมเรียกว่า "ยกกระบัตร"หรือ "ยกระบัตร" หรือ " ยกบัตร"ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 แปลความไว้ว่าเป็น " ตำแหน่งข้าราชการครั้งโบราณสังกัดกระทรวงวัง มีหน้าที่ออกไปประจำอยู่ตามหัวเมือง เพื่อสอดส่องอรรถคดี ตำแหน่งเจ้าพนักงานเกี่ยวกับอรรถคดีตรงกับอัยการในบัดนี้
ถ้าแลผู้พิภากษานั่งพร้อมกัน จะพิภากษาเหนมิตกลงมิพร้อมกัน โจท จำเลย ยังติดใจอยู่ ให้ยกกฎหมายเอาว่าแก่ผู้รักษาเมือง ๆ จะเหนประการใด ถ้าแลผู้รักษาเมืองเหนข้อใดกะทงใดมิแจ้งก็ให้ซักถามฝ่ายโจท จำเลย ให้กระจายข้อซึ่งกระลาการพิภากษามิ ตกลง ให้แจ้งออกทุกข้อ แล้วให้ผู้รักษาเมืองแลปลัดยุกกระบัตรกรมการพ้อมกัน ให้พิภากษาเหนพร้อมกัน
ในอดีต รัชกาลที่ ๑ ของเรา ทรงดำรงตำแหน่งเป็นหลวงยกระบัตร เมืองราชบุรี ในสมัยพระชนม์มายุ ๒๕ พระชันษา ซึ่งตรงกับแผ่นดิน สมเด็จพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) แห่งกรุงศรีอยุธยา
ดังนั้น ทนายแผ่นดินจึงไม่ใช่ แทนนาย อย่างแน่นอน
คำว่า ทนายความ เป็นคำใหม่ ที่ปรากฏวิชาชีพนี้ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ด้วยพระราชบิดา (พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์) นำวิธีพิจารณาคดี ระบบกล่าวหาเข้ามาใช้ในประเทศไทย การนำเสนอพยานหลักฐานต่อศาลต้องกระทำโดยทนายความ ซึ่งในอดีตก่อนหน้านั้น ระบบวิธีพิจารณาคดีของไทยเป็นแบบไต่สวน ผู้พิพากษาสามารถถามหาพยานหลักฐานด้วยตนเอง แต่เมื่อเปลี่ยนมาใช้ประมวลกฎหมายตามคำแนะนำของ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ จึงต้องมีวิชาชีพทนายความเพื่อนำเสนอพยานหลักฐานต่อศาล ทนายความตาม พระราชบัญญัติทนายความ ๒๕๒๘ จึงต้องเป็นผู้จบการศึกษานิติศาสตร์บัณฑิตเท่านั้น
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
ทนายความ หมายความว่า ผู้ที่สภาทนายความได้รับจดทะเบียนและออกใบอนุญาตให้เป็นทนายความ
ดังนั้น คำว่า “ทนายความ” จึงไม่อยู่ในความหมายของคำว่า แทนนาย เนื่องจากทนายความเป็นผู้ใช้วิชาชีพ ประกอบกับการมีจริยธรรมในวิชาชีพบังคับอยู่ ว่าด้วยเรื่อง มารยาททนายความ ทนายความเป็นวิชาชีพอิสระ ไม่มีเจ้านาย การรับว่าความให้แก่ผู้ใด ไม่ใช่การรับว่าเขาผู้นั้นเป็นเจ้านาย หากแต่เป็นการทำสัญญาจ้างทำของ ซึ่งผุ้ว่าจ้าง ไม่มีอำนาจสั่งการในการทำงานของทนายความ บางที การเป็นทนายความในประเทศไทย จะเป็นผู้อุปถัมภ์ลูกความด้วยซ้ำ ทนายความจะเรียกผู้ทีมาว่าจ้างว่า “ลูกความ” หมายถึง ต้องฟังทนายความ มิใช่สั่งทนายความ ทนายอายุมากๆ แล้วบางท่าน เมื่อพบลูกความ ลูกความจะเป็นผู้ยกมือไหว้ทนายความก่อนด้วยความเกรงใจ เพราะทนายความเป็นผู้ถือหางคดีตนอยู่
คำว่า “ทนายหน้าหอ” หมายถึง คำใช้เรียกชายรับใช้คนสนิทซึ่งคอยดูแลปรนนิบัติเจ้านายอย่างใกล้ชิดเรียกว่าเป็นคนรู้ใจที่รู้ความต้องการของเจ้านายไปเสียทุกเรื่อง และยังเป็นผู้ที่ทำหน้าที่ออกมาพบปะแขกเหรื่อก่อนเพื่อพิจารณาว่าคนไหนควรจะได้เข้าพบ บรรดาเจ้าขุนมูลนายสมัยโบราณต่างก็มีทนายหน้าหอกันแทบทั้งนั้น
ทนายหน้าหอเหล่านี้ ทำหน้าที่เป็นกระบอกเสียงแทนนาย เมื่อมีชาวบ้านแห่งใดมานินทราให้ร้ายนายตน ทนายหน้าหอจะทำหน้าที่ถกเถียงและแก้ต่างให้ ในสมัยก่อนเรียกว่า เป็น ขี้ข้าหรือบ่าวของนายนั่นเอง ทนายหน้าหอนี้จะเรียกตัวเองว่า “บ่าว” หมายถึงเป็นบ่าวของเจ้านาย เราสามารถเห็นบทบาทของทนายหน้าหอ จากวรรณกรรมสมัยก่อน ที่ผู้เขียนชอบและพอจะหยิบยกได้ คือ วรรณกรรมเรื่องสี่แผ่นดิน
คุณชิด พี่ชายต่างมารดาของแม่พลอยนั้น มีทนายหน้าหอ คอยติดตามไปทุกที กระทั่งพากันไปกินเหล้าเมามาย จนถูกเจ้าคุณพ่อจับผูกเฆี่ยนตี “คุณชิดก็แอบลงเรือข้ามฟากไปเที่ยวกับทนายหนุ่มๆ ของเจ้าคุณพ่อ ครั้งหนึ่ง พลอยจำได้ว่า คุณชิดหายไปหลายวัน แต่พอกลับมาก็เกิดเรื่อใหญ่ เพราะเจ้าคุณพ่อท่านมัดมือเฆี่ยนที่หน้าตึก ทั้งคุณชิดและทนาย เสียงร้องกันให้ลั่นบ้านไปหมด” (สี่แผ่นดิน เล่ม ๑ หน้า ๓)
จะเห็นได้ว่า คนรับใช้สนิท ที่คอยติดตามเป็นกระบอกเสียง และรองมือรองเท้านายตลอดเวลา
ดังนั้น จะใช้คำว่า แทนนาย ในความหมายของทนายความเห็นทีจะไม่ได้