9388150

รับดูแลผู้ป่วยตามบ้านอำเภออัมพวา โทร 080-2426616

หมวดหมู่สินค้า: rtd68 ทำความสะอาด

04 สิงหาคม 2567

ผู้ชม 98 ผู้ชม

 
 
อำเภออัมพวาดูแลผู้สูงอายุ&ผู้ป่วยพักฟื้น อบอุ่น ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ‎
ศูนย์แลผู้สูงอายุอำเภออัมพวา ผู้ป่วย รับเฝ้าไข้ตามบ้าน โรงพยาบาล ดูแลเด็กตามบ้านและผู้สูงอายุ จัดหาพนักงานดูแลผู้สูงอายุ ดูแลผู้ป่วยอำเภออัมพวา แม่บ้าน พี่เลี้ยงเด็ก เจ้าหน้าที่เราผ่านการฝึกอบรม
รับดูแลผู้ป่วยตามบ้านอำเภออัมพวา 
รับดูแลคนชราตามบ้านอำเภออัมพวา 
รับดูแลคนแก่ตามบ้านอำเภออัมพวา 
รับเฝ้าไข้ตามบ้านอำเภออัมพวา 
อำเภออัมพวาศูนย์ดูแลผู้สูงอายุที่ไหนดี
บริการดูแลผู้สูงอายุอำเภออัมพวาบริการดูแลผู้ป่วย รายวัน รายเดือน เฝ้าไข้ผู้ป่วยที่บ้าน ที่โรงพยาบาล รับเฝ้าไข้ 24 ชั่วโมง บริการส่งพยาบาลพิเศษ เฝ้าไข้ ดูแลผู้สูงอายุ ประจำบ้าน ราคาเป็นกันเอง รับเฝ้าไข้ 24 ชม. บริการด้วยใจ
งานดูแลผู้สูงอายุตามบ้านอำเภออัมพวา 
งานดูแลผู้สูงอายุตามบ้านอำเภออัมพวา 
อัตราค่าบริการดูแลผู้สูงอายุอำเภออัมพวา 
รับจ้างดูแลผู้สูงอายุรายวันอำเภออัมพวา 
หาคนอยู่เป็นเพื่อนคนแก่อำเภออัมพวา 
บริการจัดส่งพนักงานดูแลผู้สูงอายุอำเภออัมพวา 
รับดูแลผู้สูงอายุตามบ้านราคาอำเภออัมพวา 
 
 
จัดส่งพนักงานดูแลคนแก่อำเภออัมพวา ผู้ป่วย เฝ้าไข้ ประจำตามบ้าน  รับเฝ้าไข้ตามโรงพยาบาล ดูแลเด็กตามบ้านและผู้สูงอายุ แม่บ้านทำความสะอาดอำเภออัมพวา หาคนดูแลผู้ป่วยที่บ้านหรือเฝ้าไข้ที่โรงพยาบาล
รับดูแลผู้ป่วยติดเตียงอำเภออัมพวา 
รับดูแลผู้สูงอายุตามบ้านอำเภออัมพวา 
จัดส่งคนดูแลผู้ป่วยอำเภออัมพวา 
อัตราค่าบริการดูแลผู้สูงอายุอำเภออัมพวา 
รับจ้างดูแลผู้สูงอายุรายวันอำเภออัมพวา 
รับดูแลผู้สูงอายุตามบ้านราคาอำเภออัมพวา 
อำเภออัมพวา ดูแลผู้สูงอายุ แบบไป-กลับ
ดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยพักฟื้นอำเภออัมพวา 
 
 
ผู้สูงอายุ เป็นวัยของการเปลี่ยนแปลง มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางกาย มีความเสื่อมของอวัยวะต่างๆ เมื่ออายุมากขึ้น ผิวหน้า กล้ามเนื้อ สายตาแย่ลง และนอกจากทางกาย เรื่องของจิตใจก็มีการเปลี่ยนแปลงเช่นกัน ในแง่ดี ได้แก่ ผู้สูงอายุมีประสบการณ์มีความสามารถในการปรับตัวมาก่อน จากด้านสุขภาพจิต “อาบน้ำร้อนมาก่อน” จึงเป็นการที่มีคุณค่ามากในผู้สูงอายุ แต่ในอีกแง่มุมหนึ่ง ผู้สูงอายุจะประสบกับการสูญเสียในชีวิตมาก อาทิ เกษียณอายุการทำงาน สูญเสียเพื่อนจากการเสียชีวิต คู่ครอง ทำให้ผู้สูงอายุต้องปรับตัวมากเมื่อก้าวเข้าสู่วัยสูงอายุ 
 
     แต่หากผู้สูงอายุไม่สามารถปรับตัวได้ และบางครั้งเราไม่ทันได้สังเกตุเกิดการสะสมเป็นระยะเวลานานก็อาจจะพบปัญหาสุขภาพจิตซี่งปัญหาที่พบบ่อยได้แก่ ความวิตกกังวล โรคซึมเศร้า ปัญหานอนไม่หลับ ภาวะสมองเสื่อม เป็นต้น เพื่อช่วยลดสาเหตุการเกิดปัญหาสุขภาพจิตมีวิธีการดูแลที่สามารถทำได้เองที่บ้านได้ดังนี้
 
ให้ความเคารพ นับถือ และยกย่อง 
เป็นสิ่งแรกที่ควรจะต้องปฏิบัติในการดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ที่ผู้ดูแลจะต้องทำเพื่อให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่ากับคนในครอบครัว
 
ขยับแขน-ขา 
การออกกำลังกาย ไม่ว่าจะเป็นการเดิน การเต้นรำ นอกจากเป็นการรักษาสุขภาพทางกาย แล้วยังช่วยให้สารเอ็นดอร์ฟิน (Endorphin) ออกมาทำให้เรารู้สึกมีความสุขมากขึ้น ลดความเครียด ลดความวิตกกังวลได้
 
การพบปะครอบครัว 
หาเวลาว่างพาลูกหลานเยี่ยมผู้สูงอายุ หากิจกรรมทำร่วมกัน เช่น การรับประทานอาหารพร้อมหน้ากัน การทำบุญ ปลูกต้นไม้ เป็นต้น
 
โทรศัพท์หาเพื่อน 
ในบางครั้งปัญหาความเครียดที่เกิดขึ้นก็ไม่สามารถผ่านไปได้ทุกครั้ง หัวใจแม้จะแกร่งเพียงใดก็ยังต้องการที่พึ่งพิงเสมอ ยกหูโทรศัพท์หาเพื่อนรู้ใจสันคนแล้วระบายความรู้สึกให้เพื่อนได้รับรู้ เพราะการมีคนรับฟังและให้คำปรึกษา จะทำให้ชีวิตที่ไม่สมดุลเข้าที่เข้าทางมากขึ้น อย่างน้อยก็ยังรู้สึกว่า ไม่ได้แบกปัญหาอยู่คนเดียวในโลก
 
หาสัตว์เลี้ยงเป็นเพื่อน
ลองหาสัตว์เลี้ยงสักตัวมาเป็นเพื่อนเล่น เพราะการให้เวลากับสัตว์เลี้ยงตัวโปรด คุยเล่น หยอกล้อกับมันเสียบ้าง จะช่วยให้จิตใจที่ฟุ้งซ่าน สงบลงได้ แถมรู้จักการให้และมองโลกในแง่ดีมากขึ้นอีกต่างหาก ที่สำคัญยังช่วยลดความดันโลหิตได้อีกด้วย
 
สร้างอารมณ์ขัน 
พยายามมองหาเพื่อนที่มีอารมณ์ขันช่วยกระตุ้นจิตใจให้หัวเราได้อีกครั้ง เพราะคนที่หัวเราะง่ายจะมีสุขภาพจิตที่ดี เนื่องจากการหัวเราะจะช่วยลดความดันโลหิต และระดับฮอร์โมนคอร์ติซอลลง (ฮอร์โมนคอร์ติซอล= ฮอร์โมนแสดงความเหนื่อยล้าในกระแสเลือด) และช่วยเสริมสร้างระดับของ "อิมโมโนโกลบูลินเอ" ซึ่งเป็นสารแอนติบอดีที่สร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายอีกด้วย
 
งานอดิเรก 
การทำงานอดิเรกที่ชื่นชอบ เช่น ปลูกต้นไม้ เลี้ยงสัตว์ เล่นดนตรี เพื่อทำให้ใจเพลิดเพลิน
 
การพักผ่อนอารมณ์ 
ควรพักผ่อนทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่เคร่งเครียด หรือวิตกกังวลจนเกินเหตุ
 
ดูแลเรื่องอาหารที่ดีมีประโยชน์ 
เล่าถึงประโยชน์ของอาหารแต่ละอย่างจะดีอย่างไรต่อสุขภาพผู้สูงอายุ เป็นการดูแลสุขภาพจิตของผู้สูงอายุที่ทำให้รู้สึกว่าผู้ดูแล หรือลูกหลานใส่ใจสุขภาพของตนไม่ละเลย
 
ศาสนา 
การสวดมนต์ ทำบุญเป็นที่พึ่งที่ดีของผู้สูงอายุ จะช่วยบรรเทาทุกข์ให้ความหวังและความสุขกับผู้สูงอายุ                    
การดูแลสุขภาพจิตให้แข็งแรงเป็นสิ่งที่สำคัญมากๆ เนื่องจาก สุขภาพจิตมีผลต่อ ความรู้สึก ความคิด
 
และการตอบสนองต่อสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับเรา หากเรามีสุขภาพจิตที่ดีเราก็จะสามารจัดการ
 
กับปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตของเราได้เป็นอย่างดี เราสามารถที่จะดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับคนรอบตัวของเรา
 
 
ในทางกลับกัน หากเรามีสุขภาพจิตที่ไม่ดี นอกจากจะส่งผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันของเราแล้ว
 
ยังส่งผลต่อสุขภาพกายของเราด้วย ไม่ว่าจะเป็น อาการนอนไม่หลับ หรือนอนมากเกินไป เบื่ออาหาร หรือทานอาหารมากจนเกินไป อ่อนเพลีย ท้องเสีย มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคมะเร็ง ไมเกรน ความดัน-
 
โลหิตสูง เบาหวาน หรือโรคซึมเศร้า เป็นต้น
 
ภาวะอารมณ์ไม่ว่าจะเป็น ตื่นเต้น มีความสุข โกรธ เสียใจ ดีใจ กระวนกระวายใจ เครียด หรือเศร้าใจ
เป็นสิ่งปกติในชีวิตของมนุษย์ แต่หากเรามีภาวะอารมณ์ในด้านลบ เช่น เครียด หรือเศร้าใจต่อเนื่องกันเป็นเวลายาวนาน และมีความรุนแรง อาจส่งผลต่อสุขภาพจิต ทำให้เราเป็นโรคซึมเศร้า หรือโรค
อื่นๆ ที่เกี่ยวกับภาวะทางจิตใจได้
 
ดังนั้นการดูแลสุขภาพจิตของเราให้แข็งแรงและเบิกบานเป็นเรื่องที่จำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อให้เราสามาถ
ดำเนินชีวิตของเราได้อย่างมีความสุข และมีสติปัญญาที่เบิกบาน และโปร่งใสในการจัดการกับปัญหา
ต่างๆ ที่อาจเข้ามาในชีวิต
 
วันนี้แพรมีบทความจิตวิทยา การดูแลสุขภาพจิตของเราให้แข็งแรง ด้วยกันทั้งหมด 9 วิธี เพื่อให้เรามีจิตใจที่เบิกบานแจ่มใส สามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุข มาฝากกันค่ะ
 
1. รักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับคนรอบข้าง
มีผลการศึกษามากมาย ชี้ให้เห็นว่า ความเหงา เป็นตัวแปรหนึ่งที่เป็นต้นกำเนิดของปัญหาสุขภาพจิต
มนุษย์เราเป็นสัตว์สังคม เราต้องการการยอมรับ ต้องการมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบตัว ดังนั้น การรักษา
ความสัมพันธ์ที่ดีกับคนรอบตัวจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในวันที่เราประสบปัญหาชีวิต
การมีคนที่เราไว้ใจ เช่น เพื่อนสนิท หรือคนในครอบครัว คอยอยู่ข้างๆ และให้กำลังใจ จะช่วยทำให้
เราผ่านปัญหา และช่วงเวลาที่ยากลำบากนั้นไปได้ง่ายขึ้น 
การบอกถึงความรู้สึกของเรา การขอความช่วยเหลือ ไม่ใช่การแสดงความอ่อนแอใดๆ แต่เป็นการ
แสดงความเข้มแข็ง ในการยอมรับและซื่อสัตย์กับความรู้สึกของตัวเอง เมื่อเรายอมรับและอยู่กับ
ความรู้สึกที่เกิดขึ้น จะช่วยให้เราผ่านช่วงเวลาของการเศร้าเสียใจได้เร็วขึ้น
 
2. ออกกำลังกาย
การออกกำลังกาย มีส่วนช่วยรักษาและพัฒนาสุขภาพจิต เป็นอย่างมาก นอกจากการออกกำลังกาย
จะช่วยให้ร่างกายของเราแข็งแรงแล้ว ยังช่วยทำให้เรานอนหลับได้ง่ายขึ้น ในระหว่างการออกกำลังกาย ร่างกายจะหลั่งสารเอนโดรฟิน ซึ่งเป็นสารแห่งความสุข ช่วยทำให้เรารู้สึกดีขึ้น
ดังนั้นการแบ่งเวลาเพื่อออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ จึงเป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งต่อสุขภาพกายและใจของเราเอง
 
3. พัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง
การมีเป้าหมายในชีวิต หรือ การใช้ชีวิตแบบมีจุดมุ่งหมาย เป็นสิ่งที่จะช่วยให้เรามีความสุขอย่างแท้
จริง มนุษย์ทุกคนต้องการการเติบโต การมีเป้าหมายที่ชัดเจนว่าเราต้องการอะไร อยากทำอะไรและลงมือทำ เมื่อเราได้เห็นพัฒนาการของตัวเอง สัมผัสถึงความสำเร็จเมื่อเราบรรลุเป้าหมายนั้นๆ จะช่วย
ทำให้เรามีชีวิตที่มีความหมายมากขึ้น และที่สำคัญ เป็นความสุขอย่างแท้จริง ที่ยั่งยืนในการมีชีวิต
วันนี้ ให้ลองถามตัวเองว่า มีอะไรบ้างที่เราอยากจะทำ อยากจะเติบโต หรือเรียนรู้ เช่น อยากจะเป็นนักเขียน อยากจะเขียนหนังสือสักเล่ม ก็วางแผน และลงมือทำ เมื่อวันที่เราทำมันสำเร็จ นอกจากเราจะรู้สึกภูมิใจกับความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมายนั้น ๆ แล้ว เรายังเติบโตในเชิงของทักษะที่เราพัฒนาระหว่างทางอีกด้วย
 
4. รู้จักขอบคุณสิ่งต่างๆ ในชีวิต
บ่อยครั้งที่เราไม่มีความสุขกับชีวิต เครียด เศร้าใจ เพราะเราโฟกัสในสิ่งที่ขาด สิ่งที่เรายังไม่มี ปัญหาของเรา โดยลืมคิดไปว่า ในชีวิตนี้ยังมีเรื่องอื่นๆ และสิ่งอื่นๆ อีกมากมาย ที่มันดีงาม และ เราสามารถ
สร้างประโยชน์ได้การรู้จักขอบคุณสิ่งต่างๆ รอบตัวในแต่ละวัน แม้จะเป็นเรื่องเล็กๆ จะทำให้เราฝึกมองโลกในแง่ดีมองเห็นสิ่งที่มี และพร้อมที่จะลงมือทำ และสร้างชีวิตของตัวเองให้ดีขึ้น ยกตัวอย่างเช่น เราสามารถรู้สึกขอบคุณ ในวันที่ตื่นเช้าขึ้นมาแล้วมีร่างกายที่แข็งแรง อย่าลืมว่า ในโลกใบนี้ มีคนอีกจำนวนมากที่ไม่สามารถตื่นขึ้นมาทำในสิ่งที่เรากำลังจะทำได้ เพราะเขากำลังป่วย การมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงก็เป็นเรื่องที่น่าขอบคุณอย่างยิ่งแล้ว ในชีวิต
 
5. ตรวจสอบตัวเอง
การตรวจสอบตัวเองว่าเรายังรู้สึกโอเคอยู่ไหมด้วยคำถามดังต่อไปนี้ จะช่วยให้เรารู้เท่าทันว่าเรากำลังสุขภาพจิตที่ดีอยู่หรือไม่
 ฉันยังสนใจในเรื่องที่ฉันเคยสนใจอยู่หรือไม่?  
 ฉันรู้สึกไม่สบายใจ โกรธ หรือเศร้ามากกว่าปกติหรือไม่?  
 ฉันดื่มแอลกอฮอร์มากกว่าที่เคยดื่มหรือเปล่า?  
 ฉันมีปัญหาในการนอนหรือไม่ ฉันนอนหลับสนิทหรือไม่ในแต่ละคืน?  
 ฉันมีปัญหาเรื่องการกินหรือไม่ ไม่ค่อยอยากทานอาหาร หรือทานอาหารมากเกินไปหรือไม่?  
 ฉันรู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีแรงกว่าปกติหรือไม่  
 คนรอบตัวบอกว่าฉันมีภาวะอารมณ์ที่แปรปรวนหรือไม่ 
หากคุณมีปัญหาข้อหนึ่งข้อใดในคำถามข้างต้น แสดงว่าคุณกำลังมีภาวะปัญหาด้านสุขภาพจิต ที่ควรหันมาสนใจที่จะแก้ไข
 
6. ฝึกสมาธิ
การฝึกสมาธิ จะช่วยทำให้เราจดจ่อกับปัจจุบันขณะ เพราะภาวะความเครียดและวิตกกังวล เกิดจาก
ความคิดของเรา ที่เราส่งใจไปคิดถึงอดีต หรืออนาคต และปรุงแต่งเหตุการณ์ต่างๆ ด้วยจินตนาการ
ของเราการฝึกสมาธิ จะช่วยให้เราอยู่กับปัจจุบัน และทำปัจจุบันให้ดี ช่วยให้เรารู้เท่าทันอารมณ์ที่เกิดขึ้นจากการมากระทบของปัจจัยภายนอก เมื่อเรารู้เท่าทันอารมณ์ เราก็เลือกที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้นอย่างถูกต้องและเหมาะสม ไม่เกิดปัญหาตามมาในอนาคต 
 
7. นอนหลับให้เพียงพอ
การนอนหลับให้เพียงพอ 6-8 ชั่วโมงต่อวัน เป็นเรื่องที่สำคัญ? ที่จะช่วยให้เราได้พักผ่อน และมีแรงเพื่อทำงาน และจัดการกับชีวิตในวันรุ่งขึ้น
การนอนหลับไม่เพียงพอต่อเนื่องเป็นเวลานาน จะมีผลต่อสุขภาพกายของเรา และอาจทำให้เกิดภาวะซึมเศร้าได้ด้วยเช่นกัน
 
8. ดูแลตัวเอง
การรักตัวเองและหมั่นดูแลตัวเอง เป็นเรื่องสำคัญที่เราไม่จำเป็นต้องรอให้ใครมาบังคับหรือทำให้
เราควรแบ่งเวลาในการดูแลตัวเอง ไม่ว่าจะเป็น การกินอาหารที่มีประโยชน์ ดูแลรูปร่างของเราโดย
การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ นอนหลับให้เพียงพอ หาเวลาพักผ่อนหย่อนใจ เช่น หางานอดิเรก
ที่เราชอบทำ ดูหนัง ฟังเพลง เป็นต้น
 
9. อย่ากลัวที่จะขอความช่วยเหลือ
เมื่อใดก็ตามที่เรารู้สึกว่า เรากำลังมีปัญหาด้านสุขภาพจิต นอกจากจะขอความช่วยเหลือจากคนที่เรารักและไว้ใจ การขอความช่วยเหลือหรือพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญ ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งในการดูแลรักษาจิตใจ
ตัวเอง ซึ่งก็เหมือนกับเวลาที่เราเจ็บป่วยและไปหาหมอเช่นกัน
 
การมีสุขภาพที่ดีเป็นหนึ่งในข้อสำคัญของชีวิตคนเรา ซึ่งไม่ได้ถึงร่างกายภายนอกเท่านั้น สุขภาพทางด้านจิตใจก็เป็นเรื่องที่สำคัญเช่นกัน เพราะหากเรามีสุขภาพจิตใจที่ดีแล้ว ย่อมส่งผลต่อภาวะอารมณ์ในการจัดการกับชีวิตประจำวันของเราได้อย่างดี สำหรับวิธีการสร้างสุขภาพจิตที่ดีก็ทำได้ไม่ยาก เรามาดูกันค่ะว่ามีวิธีไหนบ้าง
 
ฝึกทำจิตใจให้สดชื่นแจ่มใส มองโลกในแง่ดี ฝึกเป็นคนสุขุมรอบคอบ ไม่ใจร้อน โกรธง่าย ไม่เอาจริงเอาจังกับทุกอย่างจนเกินไป ไม่หวั่นไหวง่าย ไม่ควรหมกมุ่นกับเรื่องไร้สาระ
เสริมสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็นครอบครัว หรือเพื่อนฝูง สังคมล้อมรอบเรา เปิดใจความรู้สึกของตนเอง และเข้าใจถึงจิตใจของผู้อื่น รู้จักให้เวลาตนเอง และคนสำคัญในชีวิต ให้มีเวลา กิจกรรม ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
ดูแลรักษาสุขภาพทั้งกายและจิตใจให้แข็งแรงอยู่เสมอ ออกกำลังกายเป็นประจำ รับประทานอาหาร ที่มีประโยชน์ พักผ่อนให้เพียงพอ
เมื่อมีความเครียดทางจิตใจหรือมีปัญหา ควรหาโอกาสผ่อนคลาย ด้วยการทำงานอดิเรก ออกกำลังกายจะทำให้มีจิตใจที่สบายขึ้น
เรียนรู้วิธีเข้าใจอารมณ์ของตัวเอง มุ่งเน้นจัดการความคิดในเชิงบวก ควรมีเวลาแต่ละวันในการทำสมาธิ เพื่อที่จะได้เข้าใจสภาวะจิตใจในแต่ละช่วงขณะ ในช่วงที่ผ่านมา หลายคนเริ่มหันมาสนใจและใส่ใจเกี่ยวกับเรื่องของสุขภาพจิตกันมากขึ้น รวมถึงปัญหาความเครียดที่เกิดขึ้นกับทุกช่วงวัยด้วย แล้วปัจจุบัน “สุขภาพจิต” ของคนในสังคมเป็นอย่างไรนั้น อาจารย์ ดร.จารุวรรณ สกุลคู สาขาวิชาจิตวิทยา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มองถึงสถานการณ์สุขภาพจิตของคนไทยในปัจจุบันว่า ปัจจุบันคนเริ่มตื่นตัวและใส่ใจเรื่องของสุขภาพจิตกันมากขึ้น รวมถึงมีคนออกมาพูดถึงปัญหากันมากขึ้นด้วยเช่นกัน เนื่องจากคนมีความเข้าใจและความรู้เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตและมีการเปิดรับที่มากขึ้น คนกล้าที่จะเข้ามารับการรักษาหรือเข้ามาพูดคุยมากขึ้นด้วย โดยเรามีจำนวนคนที่ไม่ได้ป่วยในปริมาณที่เยอะกว่าคนที่มีปัญหาสุขภาพจิตจริง ๆ ซึ่งถ้าเปรียบกับ “พีระมิด” ส่วนบนสุดเป็นจุดที่มีคนป่วยจริง แต่คนส่วนใหญ่อยู่ในส่วนฐานล่างยังคงมีสุขภาพจิตดีที่อยู่
 
          ส่วนปัญหาของความเครียดมีปริมาณที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากสถานการณ์ต่าง ๆ รอบตัว หรือบางครั้งอาจมีเหตุการณ์ความผันผวนในชีวิต ความเครียด ความกดดันกับสถานการณ์ต่าง ๆ ในสังคม ที่ทำให้คนในกลุ่มที่ไม่ได้ป่วยเกิดปัญหาความเครียด อารมณ์เศร้า ความวิตกกังวล กลายเป็นปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพจิตได้ และถ้าความเครียดเหล่านั้นไม่ได้รับการดูแลรักษาก็อาจนำไปสู่การเป็นโรคทางจิตเวชได้
 
           นอกจากนี้ สุขภาพจิตในวัยทำงาน เป็นวัยที่มักเจอกับความกดดันในหน้าที่ความรับผิดชอบต่าง ๆ การหาความสมดุลระหว่างการใช้ชีวิตส่วนตัวและการทำงาน ปัจจัยเหล่านี้ก็อาจไปเพิ่มความเครียด และความกดดันด้วยเช่นกัน และยังมีอีกหลายปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้คนมีปัญหาทางสุขภาพจิต เช่น เศรษฐกิจตกต่ำ ปัญหาทางการเงิน คนตกงานเยอะ รวมถึงการใช้ชีวิตของแต่ละคนที่มีปัจจัยเสี่ยงแตกต่างกัน เช่น การเติบโตมาในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม หรือเติมโตท่ามกลางความรุนแรง โอกาสในการเข้าถึงสาธารณสุข และการศึกษา สิ่งเหล่านี้นับเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดความอ่อนไหว และก่อให้เกิดปัญหาทางสุขภาพจิตได้ แต่ถ้าเราสร้างสังคมที่ปลอดภัย ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่สังคมเราสร้างได้ก็จะทำให้สุขภาพจิตของคนในสังคมเริ่มดีขึ้น
 
           “หลาย ๆ คนเข้าใจว่า เมื่อเราเห็นข่าวฆ่าตัวตาย สื่อมักเสนอว่าโรคซึมเศร้าทำให้คนฆ่าตัวตาย คนถูกรังแก โดนบูลลี่ ทำให้ฆ่าตัวตาย บางครั้งมันถูกเสนอออกมาในทิศทางเดียว ซึ่งกว่าคน ๆ นึงจะไปถึงจุด ๆ นั้นได้ มันมีหลายปัจจัยเข้ามากระตุ้นให้ไปถึงจุดนั้น ถ้ามองในมุมกว้าง สังคมเรามีปัจจัยป้องกันที่ค่อนข้างเยอะ เช่น การที่คนในสังคมดูแลกัน คนในสังคมใส่ใจกัน และการที่คนในสังคมเริ่มตื่นตัวว่าปัญหาสุขภาพจิตมีจริง ซึมเศร้าเกิดขึ้นจริง ปัญหาของเด็กวัยรุ่นเป็นเรื่องสำคัญ ก็อาจช่วยให้ปัญหาเหล่านี้ได้รับการแก้ไขอย่างจริงจัง                                                                                  

 สอบถามจองคิว




Engine by shopup.com