เช่าเต็นท์อำเภอสวนผึ้ง โทร 061-5488194
หมวดหมู่สินค้า: rtd50 เช่าเต้นท์
05 เมษายน 2565
ผู้ชม 96 ผู้ชม
ให้เช่าอุปกรณ์สำหรับจัดงาน Event และ Exhibition งานเปิดตัวผลิตภัณฑ์
งานพรีเซนต์บริษัทฯ งานพิธีสำคัญ ขึ้นบ้านใหม่ แต่งงาน งานเลี้ยง
เช่าเต้นติดเเอร์อำเภอสวนผึ้ง เต้นโดม เต็นท์จั่วโค้ง ปิรามิด ฟูจิ เต็นท์สแคม บริการให้เช่าโต๊ะ เก้าอี้ เต้นท์ รถสุขาเคลื่อนที่ให้เช่า แอร์เคลื่อนที่ ผลงานของเรา
เช่าเต้นติดเเอร์อำเภอสวนผึ้ง
บริการให้เช่าเต้นโดมอำเภอสวนผึ้ง
เช่าโต๊ะเก้าอี้อำเภอสวนผึ้ง
ให้เช่าพัดลมไอน้ำอำเภอสวนผึ้ง
ให้เช่าพัดลมไอน้ำอำเภอสวนผึ้ง
รถสุขาเคลื่อนที่ให้เช่าอำเภอสวนผึ้ง
ส้วมเคลื่นที่อำเภอสวนผึ้ง
ส้วมเคลื่นที่อำเภอสวนผึ้ง
เช่าแอร์เคลื่อนที่อำเภอสวนผึ้ง
อำเภอสวนผึ้งศูนย์รวมอุปกรณ์ให้เช่าจัดงานเลี้ยงต่างๆ เช่าเต็นท์ เช่าโต๊ะ-เก้าอี้ พัดลม ไอน้ำ โซฟา เก้าอี้งานแต่ง ชุดโต๊ะหมู่+อาสนะ พิธีสงฆ์ ครบจบในร้านเดียว
เช่าอุปกรณ์จัดงานอีเว้นท์อำเภอสวนผึ้ง ราคาถูก เช่าแสงสีเสียง เช่าไฟประดับ เช่าไฟงานวัด เช่าทรัส เช่าโครงสร้าง เช่ารูฟ เช่าเวที
เช่าพัดลมไอน้ำอำเภอสวนผึ้ง
เช่าพัดลมไอเย็นอำเภอสวนผึ้ง
ไม้พื้นให้เช่าอำเภอสวนผึ้ง
แอร์ให้เช่าอำเภอสวนผึ้ง
บูธให้เช่าอำเภอสวนผึ้ง
เวทีให้เช่าอำเภอสวนผึ้ง
เต็นท์ติดแอร์อำเภอสวนผึ้ง ผลงานของเรา
เต็นท์ให้เช่าอำเภอสวนผึ้งเต็นท์เช่า เช่าโต๊ะเก้าอี้ เช่าพัดลม
เช่าเต็นท์อำเภอสวนผึ้ง โต๊ะ เก้าอี้ พัดลม พัดลมไอน้ำ
บริการให้เช่าอำเภอสวนผึ้ง โต๊ะ เก้าอี้ เต้นท์
เช่าเต็นท์ผ้าใบ เต็นท์เช่า เต็นท์จั่ว โค้ง ปิรามิด ฟูจิ เต็นท์สแคม K2 เต็นท์ติดแอร์ มีเต็นท์ให้ เช่าทุกขแคด เช่าอุปกรณ์จัดงานโต๊ะ เก้าอี้ ในราคาถูก เหมาะสำหรับ Organizer ผลงานของเรา
เต็นท์ติดแอร์อำเภอสวนผึ้ง ผลงานของเรา
ให้บริการเช่าเต็นท์ติดแอร์ รูปแบบต่างๆ เช่นเต็นท์ติดแอร์ทรงโค้ง เต็นท์ฟูจิ เต็นท์ปิรามิด
หากต้องการพื้นที่ใหญ่หรือกว้าง สามารถใช้เต็นท์หลายหลังเชื่อมต่อด้วยรางน้ำ
มีผ้าใบด้านข้างให้เลือกทั้งแบบใส แบบขาวทึบ แบบลายหน้าต่าง
6 ขั้นตอนในการเริ่ม การจัดงานอีเว้นท์
1. ตั้งเป้าหมายในการจัดงานเว้นท์ (Identify the objectives)
เมื่อเราได้รับหน้าที่ในการจัดงานอีเว้นท์สิ่งแรกที่ควรเริ่มต้นคือการระบุเป้าหมายในการจัดงานอีเว้นท์นั้นๆ เพื่อให้ทีมงานและผู้มีส่วนร่วมเข้าใจดำเนินการทำงานไปในทิศทางเดียวกัน เช่น การจัดงานเลี้ยงบริษัทประจำปี เป้าหมายคือการสร้างการรู้จักและความเข้าใจในการทำงานระหว่างแต่ละทีมในองค์กรเพื่อพัฒนาผลงานแต่ละทีมอย่างน้อย 20% ในปีต่อไป
2. วางแผนการ จัดงานอีเว้นท์ (Plan the event)
การวางแผนนั้นถือว่าเป็นสิ่งสำคัญมากในเริ่มต้น การจัดงานอีเว้นท์ ดังนั้นการให้เวลาในการวางแผนจึงเป็นส่วนสำคัญในการสร้างงานอีเว้นท์ที่ประสบความสำเร็จ โดยเริ่มจากนำเป้าหมายใน การจัดงานอีเว้นท์ ที่วางไว้มาดำเนินการต่อเพื่อแตกรายละเอียดงานเป็นส่วนเล็กๆและแบ่งงานให้คนในทีมรับผิดชอบ
หากเราต้องเราพัฒนาผลงานแต่ละทีมอย่างน้อย 20% ในปีต่อไป ผ่านการจัดงานเลี้ยงบริษัทประจำปี
การจัดกิจกรรม Townhall ในช่วงบ่ายเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน ความสำเร็จและอุปสรรคในการทำงานของแต่ละทีม
การสร้างความเข้าใจในเป้าหมายและกลยุทธ์ในการดำเนินงานในปีต่อไปจากทีมผู้บริหาร
การจัดงานเลี้ยงรวมถึงกิจกรรมในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างทีมภายในองค์กรในช่วงเย็น
3. กำหนดงบประมาณในการจัดงานอีเว้นท์ (Allocate the budget)
เมื่อเรามีวางแผนใน การจัดงานอีเว้นท์ แล้วส่วนต่อไปคือการจัดสรรงบประมาณในการดำเนินการเพื่อแบ่งสัดส่วนให้เหมาะสมตามรายละเอียดต่างๆ และปรับงบประมาณให้กับรายการที่เราให้ความสำคัญที่สุด
ตัวอย่างเช่น ในการจัดเลี้ยงบริษัทครั้งนี้ผู้บริหารให้ความสำคัญกับเทคโนโลยี เพื่อให้ทุกคนในองค์กรเรียนรู้และนำไปปรับใช้งานดังนั้นการเริ่มต้นวางแผนงานอีเว้นท์สามารถเริ่มได้จากการใช้ VenueE ที่ซึ่งเป็น platform ที่ให้บริการค้นหาและติดต่อสถานที่และผู้ให้บริการในการจัดงานอีเว้นท์ เพื่อช่วยในการจัดสรรงบประมาณในการจัดงานอีเว้นท์
การจองวงดนตรีหรือดีเจผ่าน Lensod หรือ Myband ซึ่งเป็นผู้ให้บริการจองวงดนตรีงานอีเว้นท์ ซึ่งมีวงดนตรีและดีเจให้เลือกสรรอย่างมากมาย
นอกจากนั้นเราสามารถใช้ระบบ Eventpop, Zipeventapp, หรือ Ticketmelon ในการลงทะเบียนผู้เข้าร่วมงาน (event registration), การแสดงรายละเอียดงาน (event detail), การถามตอบ (live Q&A), และการสร้างแบบสอบถาม (event feedback) นอกจากนั้นยังให้บริการเทคโนโลยีภายในงาน (in-event technology) เช่น การชำระเงิน (cashless paytment), การเก็บข้อมูลผู้ร่วมงาน (data analytic), และ การแบ่งโซนงาน (access control)
หมายเหตุ: กว่า 40% ของงบประมาณในการจัดงานอีเว้นท์จะถูกใช้ไปกับค่าสถานที่และค่าอาหารเครื่องดื่ม
4. การแบ่งงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ การจัดงานอีเว้นท์ (Distribute the reponsibility)
เมื่อเรามีทั้งแผนงานในการจัดงานอีเว้นท์และงบประมาณแล้วขั้นตอนต่อไปคือการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในเรื่องต่างๆ อย่างชัดเจน กำหนดระยะเวลาในการทำงาน และกำหนดวันที่ต้องส่งงาน ในส่วนนี้เราแนะนำให้ใช้ Grant Chart ผ่าน Google Sheet, Asana, หรือ Trello เพื่อช่วยในการจัดการงานอย่างเป็นระบบรวมถึงการติดตามสถานะการทำงานจากผู้ที่รับผิดชอบ โดยกำหนดวันที่ในการส่งงานผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน
5. การดำเนินการภายในวันงานอีเว้นท์ (Deliver the work)
ก่อนเริ่มงานอีเว้นท์จะมีการจัดวาง (setup) อุปกรณ์ในส่วนต่างๆ ก่อนวันจัดงาน 1 วันหรือภายในวันงานในส่วนนี้ผู้ที่รับผิดชอบดูแลควรตรวจสอบรายละเอียดกับผู้ให้บริการให้ตรงตามที่ตกลงไว้รวมถึงความปลอยภัยของผู้ร่วมงาน
เมื่อเริ่มงานอีเว้นท์ผู้รับผิดชอบแต่ละฝ่ายให้รับผิดชอบหน้าที่ในการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ แต่จำเป็นต้องมีอย่างน้อย 1 ทีมในการประสานงานและแก้ไขสถานะการณ์ในกรณีเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิดขึ้นโดยอาจจะเป็นเรื่องเล็กน้อยหรือเรื่องใหญ่ก็ตาม เพื่อดำเนินงานไปได้อย่างลุล่วง
หลังจากเสร็จสิ้นจบงานอีเว้นท์ก็ถึงเวลาในการรื้อถอน (dismantle/tear down) ผู้ที่รับผิดชอบงานในส่วนต่างๆประสานงานให้ผู้ให้บริการรื้นถอดเสร็จสิ้นและดำเนินการคืนพื้นที่ให้กับสถานที่ในสภาพเดิม
6. การประเมินผลงานหลังจากการจัดงานอีเว้นท์ (Feedback the stakeholder)
ผู้จัดงานส่วนใหญ่มักจะละเลยการให้ความสำคัญในส่วนสุดท้ายของการจัดงานอีเว้นท์ซึ่งนั่นก็คือการประเมินผลงานของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกส่วนไม่ว่าจะเป็นผู้รับผิดชอบประสานงานภายในทีม สถานที่และผู้ให้บริการอีเว้นท์ ซึ่งส่วนสำคัญควรให้ข้อเสนอแนะหรือความคิดเห็นที่ตรงไปตรงมาเพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงาน การให้บริการและการทำงานในครั้งต่อไป
การจัดเตรียมอุปกรณ์ให้เข้ากับงานอีเว้นท์
ถ้าหากคุณเป็นมือใหม่ในการเตรียมสถานที่ คุณอาจจะมีความรู้สึกว่ามันยาก และดูวุ่นวาย แต่จริง ๆ แล้วไม่เลย การจัดงานเป็นเรื่องที่เหนื่อย ไมใช่เรื่องยาก ที่คุณต้องการหลัก ๆ ก็คือเครื่องมือช่วยจำ อย่างสมุดโน้ตสำหรับใช้จดรายการสิ่งจำเป็นต่าง ๆ และตารางในการทำงาน เพื่อช่วยให้การจัดเตรียมเป็นไปอย่างราบรื่น