8640414

ขายฝากที่ดินอำเภอสัตหีบ โทร 095-8806760

หมวดหมู่สินค้า: rtd35 จำนองที่ดิน

28 มีนาคม 2565

ผู้ชม 94 ผู้ชม



รับขายฝากที่ดินอำเภอสัตหีบดอกเบี้ยถูก เชื่อถือได้  
ให้ราคาสูง ดอกเบี้ย 1-2% ต่อปี
ขายฝากบ้านอำเภอสัตหีบที่ดิน บ้าน ทีนา สวน ให้ราคาสูง ดอกเบี้ยถูก อนุมัติจ่ายสด
จํานองที่ดินอำเภอสัตหีบ
ขายฝากอำเภอสัตหีบ
ขายฝากที่ดินอำเภอสัตหีบ
ขายฝากบ้านอำเภอสัตหีบ
สินเชื่อโฉนดที่ดินอำเภอสัตหีบ
จํานําโฉนดที่ดินอำเภอสัตหีบ
 
รับจำนองที่ดินอำเภอสัตหีบรับขายฝากให้ราคายุติธรรม เคยสอบถามมาหลายที่แล้ว ยังไม่ถูกใจ ลองติดต่อปรึกษาเราได้ ต้องการนำเงินไปหมุนธุรกิจ หรือต้องรีบใช้เร่งด่วน ทางเรายินดีให้บริการ รับขายฝากที่ดินอำเภอสัตหีบรับจำนองอำเภอสัตหีบรับซื้อฝาก รีไฟแนนซ์ บ้านและที่ดิน จากนายทุนโดยตรง รับคอนโด ที่ดินเปล่า ทาว์เฮาส์ บ้านจัดสรร อพาร์เม้นท์ อสังหาริมทรัพย์ทุกชนิด
จํานําโฉนดที่ดินอำเภอสัตหีบบไถ่ถอน บ้าน คอนโด ทาวเฮาส์ ตึกแถว และที่ดิน ลดต้น ลดดอก
 
 
ทำไมต้องทำจำนองขายฝากที่ดินอำเภอสัตหีบกับเรา
1. นายทุนอำเภอสัตหีบคุยง่าย พูดเพราะ สบายๆ ดูแลเหมือนเป็นคนในครอบครัว หากท่านเดือดร้อนมา อยากให้นึกถึงเรา
2. ทางเราไม่มีการเช็คประวัติทางการเงิน อนุมัติง่าย รวดเร็วทันใจ
3. ปลอดภัยหายห่วง เพราะเราทำสัญญาที่กรมที่ดินเท่านั้น เอกสารสัญญา ต้องผ่านการตรวจสอบจากเจ้าหน้าที่ และมีเจ้าหน้าที่จากกรมที่ดินเซ็นรับทราบการทำสัญญา
4. ไม่เอารัดเอาเปรียบ รายละเอียดทุกอย่าง ทุกขั้นตอน รวมถึงเงื่อนไขการจำนองขายฝาก จะมีการชี้แจงให้ทราบอย่างละเอียด ก่อนทำสัญญาทุกครั้ง
5. ไม่มีการเรียกรับเงิน หรือผลประโยชน์อย่างอื่นเพิ่มเติม นอกจากรายละเอียดที่ตกลงกัน
 
 
จำนอง คืออะไร
 
จำนอง หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้จำนองเอาทรัพย์สินตราไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับจำนอง เป็นประกันการชำระหนี้ โดยไม่ส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้รับจำนอง จึงกล่าวได้ว่า จำนองเป็นการเอาทรัพย์สินมาประกันการชำระหนี้ในการจำนองจึงต้องมีหนี้ที่จำนองเป็น ประกัน ส่วนสัญญาจำนองเป็นการเอาทรัพย์สินมาเป็นประกันการชำระหนี้ที่จำนองเป็นประกันดังกล่าว การจำนองจึงประกอบด้วย หนี้ที่จำนองเป็นประกันอันถือว่าเป็นส่วนประธาน กับสัญญาจำนองอันถือว่า เป็นส่วนอุปกรณ์ ดังนั้น การจำนองขึ้นอยู่กับหนี้ ถ้าหนี้ระงับสิ้นไป การจำนองก็ย่อมระงับสิ้นไปด้วย
 
ทรัพย์สินอะไรที่สามารถจำนองได้
ทรัพยัสินที่จำนองได้ ได้แก่ อสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์บางอย่างตามที่ระบุไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา ๗๐๓ แต่ทรัพย์ที่จดทะเบียนจำนองต่อเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายที่ดินต้องเป็นอสังหาริมทรัพย์ เท่านั้น (ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา ๗๑) ซึ่งได้แก่ ที่ดินและทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินมีลักษณะเป็นการ ถาวร หรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้น และหมายความรวมถึงทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับที่ดินหรือทรัพย์ ที่ติดอยู่กับที่ดินหรือประกอบเป็นอันเกี่ยวกับที่ดินนั้นด้วย (ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๙) ส่วนสังหาริมทรัพย์ต้อง ไปจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายกำหนดไว้
 
เอกสารสิทธิ์ที่ดินใด จำนองได้
ที่ดินที่จำนองได้ ได้แก่ ที่ดินที่มีหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินแล้ว อันได้แก่ มีโฉนดที่ดินและ หนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.๓, น.ส.๓ ก., น.ส.๓ ข. แบบหมายเลข ๓ ถ้าออกก่อนใช้ประมวล กฎหมายที่ดินต้องแจ้ง ส.ค. ๑)
 
บุคคลใดสามารถจำนองได้
ผู้ที่จะจำนองได้ต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินในขณะที่จำนองเท่านั้น (ป.พ.พ. มาตรา ๗๐๕) และ ต้องเป็นเจ้าของในขณะจำนอง เพียงแต่มีสิทธิเป็นเจ้าของในภายหน้าจะจำนองไม่ได้ เช่น ในระหว่างเช่า ซื้อ ไม่อาจเอาทรัพย์สินที่เช่าซื้อมาจำนองได้
 
ประเภทการจดทะเบียน
ประเภทการจดทะเบียนมีใช้ทั้ง “จำนอง” และ “ จำนองเป็นประกัน” ไม่ว่าจะใช้อย่างไรมี ความหมายอย่างเดียวกัน แต่สำหรับธนาคาร และสหกรณ์ หรือส่วนราชการ เป็นผู้รับจำนอง ได้ปฏิบัติเป็น ประเพณีว่า ใช้ประเภท “จำนองเป็นประกัน” นอกนั้นใช้ประเภท “จำนอง” ประเภทการจดทะเบียนได้แบ่งออกเป็นหลายประเภทด้วยกัน ในที่นี้จะขอพูดถึงประเภทที่ประชาชน ได้เห็นกันเป็นส่วนใหญ่ดังนี้
 
1.จำนอง หมายถึง การจดทะเบียนจำนองที่ดินทั้งแปลงหรือสิ่งปลูกสร้างทั้งหลังหรือที่ดินทั้งแปลง พร้อมสิ่งปลูกสร้าง ไม่ว่าที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างมีเจ้าของคนเดียวหรือหลายคนผู้ที่เป็นเจ้าของทุกคนนั้น จำนองพร้อมกัน
 
2.จำนองเฉพาะส่วน หมายถึง การจำนองอสังหาริมทรัพย์ที่มีเจ้าของรวมกันหลายคนโดยผู้เป็น เจ้าของคนหนึ่งหรือหลายคนไม่ใช่เจ้าของทั้งหมด จำนองเฉพาะส่วนของตน ส่วนของผู้เป็นเจ้าของคนอื่น ไม่ได้จำนองด้วย จำนองเฉพาะส่วน ผู้จำนองสามารถจำนองได้โดยไม่ต้องให้เจ้าของร่วมคนอื่นที่ไม่ได้จำนองด้วย ยินยอมหรือให้ถ้อยคำแต่อย่างใด
 
3.ขึ้นเงินจากจำนอง หมายถึง กรณีที่มีการจดทะเบียนจำนองอสังหาริมทรัพย์เพื่อเป็นประกันหนี้ ไว้แล้วจำนวนหนึ่ง ต่อมาคู่กรณีตกลงเพิ่มจำนวนเงินที่จำนองเป็นประกันให้สูงขึ้นจากเดิม จึงมาจดทะเบียน เพิ่มวงเงินที่จำนอง โดยมีเงื่อนไขและข้อตกลงเช่นเดียวกับสัญญาจำนองเดิม ทั้งเป็นมูลหนี้เดียวกันกับ สัญญาจำนองเดิม (หากหนี้ต่างรายกันขึ้นเงินจากจำนองไม่ได้ จะต้องจำนองอีกลำดับหนึ่ง) ในการขึ้นเงินจากจำนอง หากมีการคิดดอกเบี้ยในวงเงินที่เพิ่มขึ้นต่างไปจากสัญญาจำนองเดิมก็ ทำได้ การขึ้นเงินจากจำนองจะขึ้นกี่ครั้งก็ได้ โดยระบุจำนวนครั้งต่อท้ายประเภท เช่น “ ขึ้นเงินจาก จำนองครั้งที่หนึ่ง” เป็นต้น
 
4.ไถ่ถอนจากจำนอง หมายถึง กรณีที่ได้ชำระหนี้ที่จำนองเป็นประกันโดยสิ้นเชิงแล้ว การจำนอง จึงระงับสิ้นไปโดยผลของกฎหมาย แม้ไม่จดทะเบียนก็สามารถใช้บังคับในระหว่างกันเองได้ แต่ถ้าจะให้ ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้บุคคลภายนอกได้ ต้องจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ สำหรับประเภทการจดทะเบียนอื่นๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ เว็บไซต์กรมที่ดิน
 
Engine by shopup.com