9430990

ทนายว่าความเพชรบูรณ์ โทร.061-1069577

หมวดหมู่สินค้า: rtd26 ทนายความ

23 มีนาคม 2565

ผู้ชม 79 ผู้ชม

 

รับปรึกษาปัญหากฏหมาย - บริการให้คำปรึกษา คดีทุกรูปแบบ
ทนายความรับว่าความทั่วราชอาณาจักร คดีแพ่ง คดีอาญา จัดการมรดก ฟ้องหย่า ฟ้องชู้
จ้างทนายเพชรบูรณ์
เพชรบูรณ์ จ้างทนายไกล่เกลี่ยราคา
เพชรบูรณ์ จ้างทนายหมิ่นประมาทราคา
จ้างทนายทวงหนี้เพชรบูรณ์
ค่าจ้างทนายคดีแพ่งเพชรบูรณ์
จ้างทนายผู้จัดการมรดกเพชรบูรณ์
ค่าจ้างทนายคดีรถชนเพชรบูรณ์

      บริการปรึกษากฎหมายทนายความ

 

คดีความต่างๆที่รับว่าความศาล
รับปรึกษาและว่าความเพชรบูรณ์
ดำเนินคดีแพ่ง คดีอาญา อาทิ คดีลักทรัพย์, คดีวิ่งราวทรัพย์, คดีชิงทรัพย์, คดีปล้นทรัพย์, คดีเช็ค, คดีฉ้อโกง, คดียักยอก, รับของโจร, คดีบุกรุก, คดีหมิ่นประมาท,
ดำเนินคดีทรัพย์สินทางปัญญาเพชรบูรณ์
ต่อสู้คดียาเสพติดเพชรบูรณ์
รับสืบทรัพย์ และบังคับคดีเพชรบูรณ์
รับจดทะเบียนหุ้นส่วน บริษัทเพชรบูรณ์
คดีที่ดิน มรดก ปรึกษาเรื่องที่ดินเพชรบูรณ์
คดีความ ฟ้องอย่า คดีครอบครัวเพชรบูรณ์
คดีการรับบุตรบุญธรรม รับรองบุตรเพชรบูรณ์
คดีความต่างๆ ปรึกษาเราได้
คดีเด็กและเยาวชนกระทำผิดอาญา เช่น คดีลักทรัพย์, คดีทำร้ายร่างกาย
ร้องขอจัดการมรดกเพชรบูรณ์
ร้องขอตั้งผู้ปกครองเพชรบูรณ์ , ร้องขอตั้งผู้อนุบาล, ร้องขอให้เป็นผู้สาบสูญ




คำแนะนำในการเลือกทนายความ

มอบคดีให้ทนายความ

เมื่อได้สอบถามปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าวจนเป็นที่พอใจว่า จะว่าจ้างทนายความ ดังกล่าวแล้ว ก็ควรส่งมอบคดีให้ทนายความดำเนินการ โดยควรบันทึกข้อเท็จจริงแห่งคดีโดยละเอียด ระบุรายละเอียดของพยานเอกสารพยานบุคคล ที่อยู่ของพยานบุคคลดังกล่าว และวิธีการได้มาซึ่งพยานหลักฐานดังกล่าวเพื่อให้ทนายความสามารถทำงานต่อไป ได้อย่างรวดเร็วโดยควรให้ทนายความลงชื่อรับบันทึกและพยานเอกสารดังกล่าว เป็นหนังสือด้วย เพื่อไม่ต้องมาโต้แย้งกันในภายหลังว่า ทนายความได้รับเอกสารดังกล่าวไปแล้วหรือยัง

ทำสัญญาจ้างว่าความ

ควรขอให้ทนายความ ทำหนังสือสัญญาจ้างว่าความให้ละเอียดถูกต้องตามที่ได้เจรจากันมา หากมีข้อความในหนังสือสัญญาข้อใดไม่ชัดเจนหรือไม่เข้าใจ ก็ขอให้ทนายความชี้แจง หรือขยายความในหนังสือสัญญาให้ชัดเจน เพื่อมิให้เป็นปัญหาในภายหลัง และผู้แต่งตั้งทนายความควรจะต้องปฏิบัติตามสัญญาจ้างว่าความให้เคร่งครัด

การเก็บเอกสาร

ควรเก็บสำเนาเอกสารที่ส่งมอบให้แก่ทนายความตลอดจนเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคดี หนังสือโต้ตอบระหว่างท่านกับทนายความให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อประโยชน์ในการค้นหาและติดตามคดี หรือใช้อ้างอิงในภายหน้า
การติดตามผลคดีอย่างใกล้ชิด
ควรติดตามผลคดีอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะได้มอบหมายให้ทนายความดำเนินการแล้วก็ตาม เพราะผลดีหรือผลเสียแห่งคดี ย่อมต้องตกแก่ตัวความเพียงฝ่ายเดียว หากละเลยไม่สนใจผลคดีแล้ว หากมีข้อผิดพลาดแล้วจะทำให้ไม่สามารถแก้ไขได้

แจ้งข้อมูลเพิ่มเติมทันที

หากคู่ความฝ่ายตรงข้ามติดต่อมาหรือมีข้อมูลอื่นเพิ่มเติม ต้องรีบแจ้งให้ทนายความทราบทันที เพราะข้อมูลบางอย่างที่ท่านเห็นว่าไม่สำคัญ อาจจะมีความหมายสำคัญต่อทนายความในการดำเนินคดีก็ได้ การให้ข้อมูลที่ถูกต้องตรงกับความเป็นจริง และรวดเร็วจะเป็นประโยชน์ในการดำเนินคดีอย่างยิ่ง

วันนัดของศาล

ต้องจดจำวันนัดของศาลให้แม่นยำ มิฉะนั้นหากท่านไม่ไปศาลในวันนัด ไม่ว่าจะเป็นเพราะหลงลืมหรือไม่ก็ตาม คดีท่านอาจจะได้รับความเสียหาย โดยไม่มีทางแก้ไขได้
มีปัญหาข้อข้องใจเกี่ยวกับคดีให้สอบถามทนายความทันที
เมื่อมีปัญหาสงสัยเกี่ยวกับคดีที่มอบหมายให้ทนายความ ให้รีบสอบถามหรือขอคำอธิบายจากทนายความทันที อย่ามัวแต่เกรงใจ ต้องสอบถามหรือขอคำอธิบายจนเข้าใจดี มิฉะนั้น ปัญหาข้อข้องใจดังกล่าวอาจทำให้ผลของคดีต้องได้รับความเสียหาย หรือกลายเป็นปัญหาใหญ่ติดตามมา หรืออาจทำให้เกิดความเข้าใจผิดกับทนายความก็ได้


อาชีพ นักสืบ เสี่ยงแค่ไหนมาดูกัน

อาชีพ นักสืบ ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในปัจจุบัน โดยบทบาทของนักสืบมีหน้าที่ในการสอดส่อง สอดแนม ไขคดีปริศนาต่าง ๆ คนที่ทำอาชีพนักสืบต้องมีไหวพริบที่สูงมาก และปฏิบัติตนอย่างไม่เป็นที่ผิดสังเกตเพื่อให้คนร้าย หรือ บุคคลที่ก่อเหตุในคดีนั้น ๆ คาดการณ์ได้
 
เป็น นักสืบ ต้องมีความรู้เกี่ยวกับอะไรบ้าง?
การที่จะประกอบอาชีพนักสืบนั้น ในมุมมองความคิดเห็นของผู้เขียนเองคิดว่า นักสืบต้องมีความรู้ความสามารถมากพอ ๆ กับตำรวจเลยทีเดียว แต่อาจไม่ได้ลงลึกขนาดนั้น โดยสามารถสรุปได้คร่าว ๆ ดังนี้
 
ความรู้เกี่ยวกับการสืบหาข้อเท็จจริง
- โดยเมื่อได้ข้อมูลมาแล้วยังไม่ควรด่วนสรุปว่าเป็นข้อมูลจริง ให้หาข้อสนับสนุนอื่น ๆ มาเพิ่มเติมด้วย
- การคิดเชิงวิพากย์
- หูตาไว รู้จักสังเกต
- ต้องรู้จักวิธีแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพราะเรื่องบางเรื่องอาจเกิดขึ้นโดยไม่ทันตั้งตัว
- ต้องมีทักษะการสื่อสาร และการเจรจาค่อนข้างสูง
 
ส่วนมากผู้ที่จ้างวานนักสืบ มักให้สืบคดีความ หรือ เรื่องที่ไม่สามารถหาข้อสรุปได้, คดีที่หาผู้ต้องสงสัยเพื่อหมายจับกุม หรือแม้กระทั่งการขอให้ตรวจสอบข้อมูลเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง เป็นต้น ตัวอย่างการจ้างวานนักสืบ มีดังนี้
 
1.สืบประวัติบุคคล
2.สืบหาที่อยู่บุคคล
3.สืบทรัพย์สินลูกหนี้ตามคำพิพากษา
4.สืบติดตามพฤติกรรมบุคคล ชู้สาว
5.สืบหาพยานหลักฐานในการฟ้องคดี
6.สืบบุคคลตามหมายจับ
7.สืบประวัติ ฐานะและทรัพย์สิน ก่อนสมรส
8.สืบเกี่ยวกับทะเบียนรถ ก่อนซื้อขาย หรือ ชนแล้วหนี
9.สืบฐานะ และทรัพย์สินของหุ้นส่วนทางธุรกิจ
10.สืบหาบุคคลผู้พลัดพราก
 
นอกจากนี้ อาชีพนักสืบยังสามารถรับงานเกี่ยวกับการตรวจสอบสถานะทางทะเบียนราษฎร์ของบุคคล บิดา มารดา บุตรและคู่สมรส เป็นผู้ช่วยทวงหนี้ก็สามารถทำได้ เพราะนักสืบต้องสืบข้อมูลการติดต่อของคนในครอบครัวที่เป็นหนี้เพื่อช่วยผู้จ้างวานทวงหนี้ได้ หรือสามารถรับงานด้านเอกสารทางกฎหมาย สัญญาทางแพ่ง นิติกรรมต่าง ๆ ก็ได้
 
ความเสี่ยงและข้อที่ควรปฏิบัติของอาชีพนี้
จริง ๆ แล้ว อาชีพนักสืบนี้มีความเสี่ยงที่สูงมาก เพราะต้องใช้กลยุทธ์ วิธีพูด วิธีคิด และวิธีการหาคำตอบ หาข้อเท็จจริงที่แยบยล บางกรณีอาจมีการลงพื้นจริง ไปแฝงตัวอยู่ร่วมกับคนร้าย ซึ่งถ้าประมาทก็เสี่ยงถึงชีวิตได้ ดังนั้นการเป็นนักสืบต้องตระหนักถึงสิ่งดังต่อไปนี้ก็มาก เพื่อการดำรงอาชีพที่ยาวนานต่อไป
 
1.บันทึกเรื่องราว และพยายามเก็บหลักฐาน
2.ไม่บิดเบือนความจริง
3.เอาตัวรอดได้ แม้ในสถานการณ์คับขัน
4.ซื่อสัตย์ต่อการทำงาน เมื่อจบงานก็ควรจบการเก็บข้อมูลทุกอย่าง หรือ ไม่นำข้อมูลของผู้จ้างวานไปเผยแพร่
Engine by shopup.com