9455707

ต่อเติมหลังคาหน้าบ้านเขตวัฒนา โทร062-2561465

หมวดหมู่สินค้า: rtd39 หลังคาโครงเหล็ก

07 มกราคม 2567

ผู้ชม 105 ผู้ชม

 
  
รับเหมาต่อเติมโรงจอดรถ กันสาด ต่อบ้านเติมครัว ถูกชัวร์100%
ศูนย์ร่วมช่างต่อเติมบ้านเขตวัฒนาให้บริการ ผลงานต่อเติมบ้านของเรา
ต่อเติมหลังคาหน้าบ้านเขตวัฒนาต่อเติมหลังคาหน้าบ้าน ต่อเติมหลังคาหน้าบ้านแบบไหนดี แบบต่อเติมหน้าบ้านเขตวัฒนา ต่อหลังคาหน้าบ้าน ต่อเติมหน้าบ้านสวย ๆ ต่อเติมหน้าบ้านทาวน์โฮม ผลงานของเรา
ต่อเติมหน้าบ้านเขตวัฒนา
ต่อเติมบ้านด้านข้างเขตวัฒนา
ต่อเติมโรงจอดรถเขตวัฒนา
รับงานหลังคาโรงรถเขตวัฒนา
ต่อเติมครัวหลังบ้านด้วยไม้ระแนงเขตวัฒนา
ต่อเติมหลังบ้านเขตวัฒนา
รับทำที่จอดรถเขตวัฒนา
                    
           
                   ติดต่อนายช่างบุญ

 
ต่อเติมบ้านเขตวัฒนา ผลงานของเรา
ต่อเติมหน้าบ้านเขตวัฒนา
ต่อเติมหลังคาหน้าบ้านเขตวัฒนา
ต่อเติมห้องข้างบ้านเขตวัฒนา
ต่อเติมครัวหลังบ้านด้วยไม้ระแนงเขตวัฒนา
ต่อเติมบ้านด้านข้างเขตวัฒนา
ต่อเติมห้องนอนเขตวัฒนา
ต่อเติมข้างบ้านสวยเขตวัฒนา
ต่อเติมหลังคาหน้าบ้านราคาถูกเขตวัฒนา
ต่อเติมครัวหลังบ้านทาวน์เฮ้าส์เขตวัฒนา
รับเหมาต่อเติมบ้านเขตวัฒนา ผลงานของเรา
 
 
เขตวัฒนารับเหมาก่อสร้าง ตกแต่งภายใน ออกแบบ รีโนเวทบ้าน Built-In บ้าน    
Built-Inเขตวัฒนาเฟอร์นิเจอร์ รับออกแบบตกแต่งภายในบ้าน อพาร์ทเม้นท์ คอนโด Office
ตกแต่งภายในเขตวัฒนาบริการต่อเติมบ้าน หอพัก ร้านอาหาร ออกแบบ รีโนเวทบ้าน ออกแบบตกแต่งภายในบ้านเขตวัฒนา เฟอร์นิเจอร์บิวท์อิน ตู้เสื้อผ้า ตู้หนังสือ ตู้โชว์ ห้องนอน ครัว คอนโด อพาร์ทเม้นท์ สำนักงาน ตกแต่งภายในเขตวัฒนา

1. Polycarbonate (โพลีคาร์บอเนต) 
แผ่น Polycarbonate หรือ PC นั้นมีน้ำหนักเบา และมีสีสันให้เลือกหลากหลาย ทนต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศได้เป็นอย่างดี ยืดหยุ่นสูงสามารถดัดโค้งได้โดยไม่ต้องพึ่งความร้อน เมื่อเคลือบผิวด้วยสารดูดซับแสง UV จะทำให้มีประสิทธิภาพในการป้องกันความร้อนได้เกือบ 100%
 
ข้อเสียของแผ่น PC นั้นคือ ตัวแผ่นที่มีลักษณะแบบลูกฟูกซึ่งทำให้สามารถเก็บกักความชื้นได้ ส่งผลให้เกิดไอน้ำ ตะไคร่ และความขุ่นมัว จึงไม่เหมาะอย่างยิ่งกับการนำไปมุงเป็นหลังคาบ้าน ที่สำคัญราคาค่อนข้างสูง โดยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 1,200-2,400 บาทต่อตารางเมตร
สรุปข้อดี ข้อเสีย ของ โพลีคาร์บอเนต
ข้อดี สวยงาม, หลายสี , เคลือบสารกัน UV, มีหลายเกรดเลือกได้ตามงบ
ข้อเสีย ใต้ชายคายังร้อนเพราะแสงส่องผ่านได้, แสงส่องผ่านมีสีเข้มตามสีแผ่น(แผ่นเขียว แสงเขียว), ฝนตกเสียงดังป๊อกๆ แป๊กๆ
 
2. FRP: Fiberglass Reinforced Plastics (ไฟเบอร์กลาส) 
คือ การนำใยแก้วและโพลีเอสเตอร์เรซินชนิดพิเศษ มาเป็นวัตถุดิบของการผลิตหลังคาโปร่งแสง ทำให้แผ่นวัสดุมีความแข็งแรงและยืดหยุ่นขึ้น สามารถดัดโค้งได้
แผ่นโปร่งแสงที่มีส่วนผสมของเส้นใยไฟเบอร์กลาส ทำให้แสงที่ส่องผ่านลงมาด้านใต้ นุ่ม ซอฟ สบายตา
ข้อเสียของ Fiberglass คือสีมีการซีดจางและตัวแผ่นที่สามารถมองเห็นเส้นไฟเบอร์ได้ค่อนข้างชัดเจน แต่มีการขยายตัวที่ต่ำจึงติดตั้งได้ง่าย มีสีที่ค่อนข้างหลากหลายให้เลือก ซึ่งปริมาณของแสงที่ผ่านแต่ละสีก็จะไม่เท่ากัน โดยมีราคา เฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 900 บาทต่อตารางเมตรสรุปข้อดี ข้อเสีย ของ Fiberglass
ข้อดี แสงสบายตา, เสียงแน่นกว่าโพลีฯ นิดนึง, ราคาไม่แพง, เขาว่าไม่เกิดตะไคร้น้ำด้วยค่ะ
ข้อเสีย เสียงยังถือว่าดัง แต่ไม่กระหึ่มเท่าเมทัลชีท, แผ่นบาง 1.2 มม., แผ่นพลิ้วได้หรือให้สรุปสั้นๆ ตามนี้นะคะ
 
3. UPVC: Unplasticized Polyvinyl Chloride (ยูพีวีซี)
UPVC เป็น PVC ที่ถูกนำเอาความเป็นพลาสติกออกไป ทำให้มีเนื้อวัสดุที่ได้ไม่ค่อยยืดหยุ่นแต่แข็งแรง มีทั้งแบบสีขาวขุ่นและแบบผสมสี คุณสมบัติของ UPVC นอกจากจะไม่ดูดซับความชื้นแล้ว ยังป้องกันความร้อนได้ค่อนข้างต่ำ
 
UPVC มีน้ำหนักเบา ติดตั้งได้ง่ายเหมือนการมุงหลังคาทั่วไป ราคาของ UPVC ไม่รวมติดตั้งนั้นอยู่ที่ตารางเมตรละประมาณ 300 บาท ข้อเสียที่ต้องคำนึงถึงก็คือเมื่อผ่านการใช้งานเนื้อสีขาวขุ่นของ UPVC อาจจะเปลี่ยนสีได้ และสำหรับวัสดุสีขาวขุ่นนั้นแสงแดดจะสามารถส่องผ่านได้เพียง 40% เท่านั้น ซึ่งอาจจะทำให้พื้นที่ไม่ได้รับความสว่างเท่าที่ควร
สรุปข้อดี ข้อเสีย ของ UPVC
ข้อดี วัสดุแข็งแรง มีน้ำหนักเบา ติดตั้งได้ง่าย
ข้อเสีย ป้องกันความร้อนได้น้อย 
 
4. ACRYLIC (อะคริลิก)
เหมาะกับงานสไตล์โมเดิร์นเพราะมีผิวที่เรียบโปร่งใสคล้ายกระจก และด้วยความที่เป็นเนื้อพลาสติกจึงสามารถขึ้นรูปแบบต่างๆ ได้ด้วย โดยทั่วไปอะคริลิกจะทนต่อรังสีอัลตราไวโอเลตได้ดี จึงเหมาะกับการใช้งานภายนอก มีความแข็งแรงทนทานพอสมควรแต่จะทนแรงกระแทกได้น้อยกว่าโพลีคาร์บอเนต อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน มีการพัฒนาแผ่นอะคริลิกที่มีที่มีคุณสมบัติด้านต่างๆ ดียิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความทนทานต่อแสงแดด แรงกระแทก และอายุการใช้งาน ทั้งยังมี รุ่นที่สามารถลดความร้อนจากแสงแดดได้ในตัวโดยไม่ต้องติดฟิล์มเพิ่ม ซึ่งเหมาะมากกับบ้านที่ต้องการความสวยงาม ทนทาน และประหยัดพลังงานไปพร้อมๆ กัน
 
Engine by shopup.com