ต่อเติมโรงจอดรถเขตบางรัก โทร 062-2561465
หมวดหมู่สินค้า: rtd39 หลังคาโครงเหล็ก
07 มกราคม 2567
ผู้ชม 130 ผู้ชม
รับเหมาต่อเติมโรงจอดรถ กันสาด ต่อบ้านเติมครัว ถูกชัวร์100%
ศูนย์ร่วมช่างต่อเติมบ้านเขตบางรักให้บริการ ผลงานต่อเติมบ้านของเรา
ต่อเติมหลังคาหน้าบ้านเขตบางรักต่อเติมหลังคาหน้าบ้าน ต่อเติมหลังคาหน้าบ้านแบบไหนดี แบบต่อเติมหน้าบ้านเขตบางรัก ต่อหลังคาหน้าบ้าน ต่อเติมหน้าบ้านสวย ๆ ต่อเติมหน้าบ้านทาวน์โฮม ผลงานของเรา
ต่อเติมหน้าบ้านเขตบางรัก
ต่อเติมบ้านด้านข้างเขตบางรัก
ต่อเติมโรงจอดรถเขตบางรัก
รับงานหลังคาโรงรถเขตบางรัก
ต่อเติมครัวหลังบ้านด้วยไม้ระแนงเขตบางรัก
ต่อเติมหลังบ้านเขตบางรัก
รับทำที่จอดรถเขตบางรัก
ต่อเติมบ้านเขตบางรัก ผลงานของเรา
ต่อเติมหน้าบ้านเขตบางรัก
ต่อเติมหลังคาหน้าบ้านเขตบางรัก
ต่อเติมห้องข้างบ้านเขตบางรัก
ต่อเติมครัวหลังบ้านด้วยไม้ระแนงเขตบางรัก
ต่อเติมบ้านด้านข้างเขตบางรัก
ต่อเติมห้องนอนเขตบางรัก
ต่อเติมข้างบ้านสวยเขตบางรัก
ต่อเติมหลังคาหน้าบ้านราคาถูกเขตบางรัก
ต่อเติมครัวหลังบ้านทาวน์เฮ้าส์เขตบางรัก
รับเหมาต่อเติมบ้านเขตบางรัก ผลงานของเรา
เขตบางรักรับเหมาก่อสร้าง ตกแต่งภายใน ออกแบบ รีโนเวทบ้าน Built-In บ้าน
Built-Inเขตบางรักเฟอร์นิเจอร์ รับออกแบบตกแต่งภายในบ้าน อพาร์ทเม้นท์ คอนโด Office
ตกแต่งภายในเขตบางรักบริการต่อเติมบ้าน หอพัก ร้านอาหาร ออกแบบ รีโนเวทบ้าน ออกแบบตกแต่งภายในบ้านเขตบางรัก เฟอร์นิเจอร์บิวท์อิน ตู้เสื้อผ้า ตู้หนังสือ ตู้โชว์ ห้องนอน ครัว คอนโด อพาร์ทเม้นท์ สำนักงาน ตกแต่งภายในเขตบางรัก
Built-Inเขตบางรักเฟอร์นิเจอร์ รับออกแบบตกแต่งภายในบ้าน อพาร์ทเม้นท์ คอนโด Office
ตกแต่งภายในเขตบางรักบริการต่อเติมบ้าน หอพัก ร้านอาหาร ออกแบบ รีโนเวทบ้าน ออกแบบตกแต่งภายในบ้านเขตบางรัก เฟอร์นิเจอร์บิวท์อิน ตู้เสื้อผ้า ตู้หนังสือ ตู้โชว์ ห้องนอน ครัว คอนโด อพาร์ทเม้นท์ สำนักงาน ตกแต่งภายในเขตบางรัก
5 วัสดุ หลังคากันสาด เลือกยังไงให้เหมาะกับสไตล์ของบ้าน
อย่างที่ทราบกันว่าเมืองไทยเขตร้อนต้องผจญกับพายุฝนฟ้าคะนองกันค่อนปี สิ่งที่ตามมากับน้ำฝนคือการรั่วซึมของน้ำจากนอกบ้านเข้าสู่ภายในตัวบ้าน โดยเฉพาะกับรอยต่อของกรอบบานประตูหน้าต่าง ที่เกิดจากสาเหตุทั้งรอยต่อที่ประสานกันไม่สนิท ร่วมกับฝนที่ถูกลมแรงพัดพา นั่นทำให้กันสาดเป็นส่วนประกอบที่อยู่คู่กับบ้านเมืองไทยมายาวนาน ปัจจุบันวัสดุ หลังคากันสาด พัฒนาไปมากกว่าแต่ก่อนที่เป็นเพียงหลังคาแบบทึบ เราจึงชวนคุณมาเลือกหลังคากันสาดให้เหมาะกับสไตล์ของบ้าน ไลฟ์สไตล์เจ้าของบ้าน และฟังก์ชั่นการใช้งานที่ยาวนานไปพร้อมกับอายุบ้านของคุณ
1. โพลิคาร์บอเนต
วัสดุที่เป็นที่นิยมมากที่สุดสำหรับวัสดุหลังคากันสาด นั่นก็เพราะเป็นวัสดุโปร่งแสง ทำให้พื้นที่ดูโปร่งโล่ง แสงธรรมชาติส่องผ่านได้ดี ซึ่งก็มีให้เลือกตามงบประมาณ ทั้งแบบแผ่นกลวง สังเกตจากเป็นแผ่นที่มีรอยเส้นเป็นแผงคล้ายฟีเจอร์บอร์ด ซึ่งมีข้อดีในเรื่องความประหยัด เพราะน้ำหนักเบา จึงไม่ต้องลงทุนเรื่องโครงสร้างเพื่อรองรับน้ำหนักมาก แต่หากต้องการความทนทานให้เลือกแบบแผ่นทึบ ซึ่งสามารถใช้ทดแทนแผ่นกระจกหรือแผ่นอะคริลิกได้ เพราะราบเรียบเป็นพื้นผิวแผ่นเดียวกัน
2. อะคริลิก
ปัจจุบัน อะคริลิกมีชนิดถูกพัฒนาขึ้นเป็นพิเศษสำหรับงานหลังคากันสาดโดยเฉพาะ ซึ่งข้อดีที่เติมเข้ามานั่นคือ คุณสมบัติป้องกันรังสีอัลตร้าไวโอเล็ตจึงป้องกันความร้อนจากแสงอาทิตย์ได้ดีกว่าวัสดุโปร่งแสงแบบอื่น โดยยังคงรับแสงธรรมชาติในเวลากลางวันได้อย่างเต็มที่
3. ไฟเบอร์กลาส
หลังคาแบบโปร่งแสงอีกแบบที่ได้รับความนิยมในเมืองไทย เพราะราคาไม่สูงมาก และมีรูปแบบของหน้าลอนให้เลือกหลากหลายตามความต้องการของดีไซน์ อีกทั้งยังสามารถติดสลับกับหลังคาแบบทึบเพื่อให้โปร่งเฉพาะส่วนที่ต้องการให้แสงสว่างส่องถึงได้ และมีการพัฒนาคุณสมบัติด้วยการเคลือบฟิล์มที่ช่วยสะท้อนความร้อนและรังสีอัลตร้าไวโอเล็ตได้เช่นเดียวกันกับวัสดุมุงหลังคาประเภทอื่นๆ
4. uPVC
สำหรับคนอยากได้หลังคาแบบทึบ uPVC เป็นทางเลือกที่ดี นั่นก็เพราะประสิทธิภาพที่สามารถทดแทนหลังคาทึบแบบเก่าอย่างเมทัลชีทหรือไวนิลได้มาก เพราะภายในตัวหลังคาทำการบุฉนวนป้องกันความร้อนแบบเรียบร้อยสำเร็จรูปแล้ว แถมพื้นผิวยังป้องกันรังสีอัลตร้าไวโอเล็ตได้อีก ทำให้ไม่แผ่อากาศร้อนเข้าสู่ภายในบ้าน รวมทั้งน้ำหนักที่เบาทำให้ไม่ต้องกังวลเรื่องงานต่อเติมโครงสร้างที่จะต้องติดกับตัวบ้านอีก
5. ผ้าใบ
วัสดุผ้าใบยังคงเป็นตัวเลือกอมตะสำหรับงานกันสาด นั่นก็เพราะผ้าใบมีหลายเนื้อผ้าให้เลือกตามสไตล์ของบ้านที่ต้องการ จะวินเทจ เป็นลวดลายแพตเทิร์น หรือจะเป็นแบบแคนวาสก็ได้ ตัวผ้าใบเองก็ถูกพัฒนาคุณสมบัติให้เหมาะกับงานเอ๊าต์ดอร์มากขึ้น ทั้งการเคลือบสารป้องกันรังสีอัลตร้าไวโอเล็ต สารกันน้ำ กันการลามไฟ และยังเลือกวิธีการใช้งานได้ตามต้องการ ว่าจะเป็นหลังคาผ้าใบแบบติดตรึง หรือเปิดออกได้หมดด้วยการชักรอก
ตีแผ่ ข้อดี/ข้อเสีย หลังคาแต่ละแบบ สรุปคร่าวๆ เข้าใจง่ายๆ
หลังคาทึบแสง
1.1 ไวนิล
ไวนิล เป็นแผ่น PVC เห็นว่าผลิตคล้ายการฉีดโฟม ทำให้มีน้ำหนักเบา แล้วก็ช่วยกันความร้อนได้ ก็ตามที่โฆษณากันคือ ไม่ต้องบุฉนวนเพิ่ม
ข้อดี กัน UV กันความร้อนได้ดีมาก แผ่นไวนิลเป็นแบบตันหนา 7 มม. ทำให้ช่วยซับเสียงทำให้ไม่เกิดเสียง กระหึมเวลาฝนตกหนัก แล้วอายุการใช้งานก็นาน สวยทันสมัยเข้าได้กับบ้านหลายสไตน์
ข้อเสีย ระยะโครงต้องได้ตามมาตราฐาน, สีอาจจะหมองลงตามอายุการใช้งาน, ราคาแพง
**ป.ล. แผ่นไวนิลมีหลายแบบค่ะ ลองเลือกแบบที่ชอบก่อน คุณสมบัติสวนใหญ่เหมือนกันต่างกันที่รูปร่างลักษณะ “ลอนแผ่น”
1.2 APVC,PVC
มีรูปลักษณ์คล้ายกับ เมทัลชีทมาก แต่มีราคาที่สูงกว่าด้วย วัสดุแผ่นจะเป็น 3 ชั้น ไส้ตรงกลางเป็นฉนวนกันร้อนทำให้ช่วยดูดซับความร้อนได้ดี และเสียงก็ไม่ดังเท่าแผ่นเมทัลชีท
ข้อดี ราคาไม่แพง น้ำหนักเบา มีสีให้เลือกเยอะ ติดตั้งง่าย เสียงเบากว่ามทัลชีท
ข้อเสีย เสียงดัง แผ่นขยายตัว สีอาจจะซีดจาง ไม่ทนความร้อน ต้องติดบริเวณที่มีอากาศถ่ายเท
1.3 เมทัลชีท
“เมทัลชีท” หลังคาเหล็กรีดลอน มาพร้อมอุปกรณ์ติดตั้งครบชุด สามารถติดตั้งได้ง่ายน้ำหนักเบา และสามารถดัดองศาได้มากตามต้องการ
ข้อดี ติดตั้งง่าย ราคาถูก มีหลายสี และน้ำหนักเบา
ข้อเสีย ใต้กันสาดสะสมความร้อน ต้องบุฉนวน เวลาฝนตกเสียงจะดังมากกกกก แล้วแผ่นเมทัลชีทค่อนข้างบาง ทำให้เสียรูปง่าย
หลังคาโปร่งแสง
2.1 Shinkolite(อะคิลิค**)
แผ่นชินโคไลท์ เป็นแผ่นอะคิลิคชนิดนึง ที่มีคุณสมบัติกัน UV และรังสี อินฟาเรต ทำให้มีคุณสมบัติกันความร้อนดีกว่าแผ่นโปร่งแสงอื่นๆ ความหนา 6 มม. เห็นว่าอุปกรณ์ติดตั้งต้องผ่านมาตรฐานที่ทางผู้ผลิตกำหนด
และหาซื้อได้จากร้านตัวแทนจำหน่ายเท่านั้น ….
ข้อดี สวย ทันสมัย, ความใสเท่ากระจก, มีรุ่นกันรังสีอินฟาเรต/UV ทำให้ไม่ร้อน
ข้อเสีย ราคาสูงงง, อุปกรณ์เฉพาะต้องหาซื้อ, แผ่นทนแรงกระแทกได้ไม่มากความยืดหยุ่นน้อย และขยายตัวมาก (ต้องเว้นระยะแผ่นดีๆ)
2.2 โพลีคาร์บอเนต
แผ่นหลังคาโปร่งแสงที่ได้รับความนิยมมานานมี 2 แบบคือแบบลอนลูกฟูก 2 ชั้นมีช่องอากาศตรงกลาง (ภาพบน) และแบบแผ่นตัน มีแบบใส-ผิวเปลือกส้ม
ราคาต่างกัน และมีหลายสี สวยดูทันสมัย
ข้อดี สวยงาม, หลายสี , เคลือบสารกัน UV, มีหลายเกรดเลือกได้ตามงบ
ข้อเสีย ใต้ชายคายังร้อนเพราะแสงส่องผ่านได้, แสงส่องผ่านมีสีเข้มตามสีแผ่น(แผ่นเขียว แสงเขียว), ฝนตกเสียงดังป๊อกๆ แป๊กๆ
2.3 Apvc,PVC (แผ่นใส)
เป็นแผ่นหลังคาชนิดที่ไม่มีพลาสติดเป็นส่วนผสมทำให้แผ่นไม่ค่อยยืดหยุ่น ไม่เหนียวเท่าพวก UPVC มีทั้งแบบสีๆ และสีขุ่น น้ำหนักเบาแต่ถ้าใช้งานไปเรื่อยๆสีอาจจะเริ่มขุ่นหมองลงบ้างนิดหน่อย ปริมาณแสงที่ส่องผ่านประมาณ 40% ค่ะ
ข้อดี ตัวแผ่นมีทั้งแผ่นใส และแผ่นสี สามารถซ้อนลอนกันได้พอดีทำให้ง่ายต่อการติดตั้ง และออกแบบเว้นช่องแสงได้เลย
ข้อเสีย ความร้อนใต้โครงสะสมอยู่บ้าง, มีเสียงเวลาฝนตก
2.4 ไฟเบอร์กลาส (ดีไลท์)
แผ่นโปร่งแสงที่มีส่วนผสมของเส้นใยไฟเบอร์กลาส ทำให้แสงที่ส่องผ่านลงมาด้านใต้ นุ่ม ซอฟ สบายตา
ข้อดี แสงสบายตา, เสียงแน่นกว่าโพลีฯ นิดนึง, ราคาไม่แพง, เขาว่าไม่เกิดตะไคร้น้ำด้วยค่ะ
ข้อเสีย เสียงยังถือว่าดัง แต่ไม่กระหึ่มเท่าเมทัลชีท, แผ่นบาง 1.2 มม., แผ่นพลิ้วได้หรือให้สรุปสั้นๆ ตามนี้นะคะ