บริษัทรับเหมาตอกเสาเข็ม ไมโครไพล์ เสาเข็มเจาะ เสาเข็มสปัน เน้นคุณภาพ รวดเร็วทันเวลา ราคาโรงงานกดเข็มไฮโดรลิคไมโครไพล์ แก้ปัญหาบ้านทรุดตัว เข้าพื้นที่แคบได้ ดูหน้างานฟรี ผลงานของเรา
เสาเข็มเจาะสุขุมวิท
บริษัทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์สุขุมวิท
บริษัทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์สุขุมวิท
เสาเข็มตอกสุขุมวิท
รับตอกเสาไมโครไพล์สุขุมวิท
รับตอกเสาเข็มสุขุมวิท
สุขุมวิทตอกเสาเข็ม Micropile
ปั้นจั่นตอกเสาเข็มสุขุมวิท
รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์สุขุมวิท
ราคาเข็มเจาะสุขุมวิท
ลงเสาเข็มราคาสุขุมวิท
รับเจาะเสาเข็ม รับทำเสาเข็มเจาะสุขุมวิทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มสปัน
รับเจาะเสาเข็ม รับทำเสาเข็มเจาะสุขุมวิทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มสปัน
บริษัทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์สุขุมวิทบริษัทรับทำเสาเข็มเจาะ คุณภาพเสาเข็มถูกต้องตามมาตรฐานสากล มีผลงานรับทำเสาเข็มเจาะ รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์
ไมโครไพล์สุขุมวิท
เสาเข็มไมโครไพล์สุขุมวิท
เสาเข็มสปันไมโครไพล์สุขุมวิท
เข็มเจาะสุขุมวิท
ราคาเข็มเจาะสุขุมวิท
ราคาเสาเข็มเจาะสุขุมวิท
ประเภทของเสาเข็ม
1. เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กปัจจุบันไม่นิยมมากนักเนื่องจากไม่ประหยัด จึงใช้เข็มคอนกรีตอัดแรงแทน เสาเข็มเสริมเหล็กนิยมหล่อในหน่วยงาน โดยออกแบบเหล็กเสริม
ตามยาวให้เพียงเพื่อรับโมเมนต์ดัดจากการเคลื่อนย้าย และการตอก ผลงานของเรา
ลักษณะการตอกเสาเข็ม มีกี่แบบ
ลักษณะการตอกเสาเข็ม มี
การตอกเสาเข็ม หมายถึงกรรมวิธีใดๆ ก็ตาม ที่ทําให้เข็มอยู่ใต้ดิน ณ ตําแหน่งที่เรา
ต้องการ พร้อมที่จะรับน้ำหนักบรรทุกจากอาคารได้ วิธีการตอกเสาเข็มมีอยู่หลายแบบด้วยกัน เช่น
1. Drop hammer เปนวิธิที่เก่าแก่ ที่สุดและยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ประกอบด้วยปั่นจั่นตัวใหญ่พร้อมทั้งลูกตุ้มที่สามารถเลื่อนขึ้นลงได้ ตามความต้องการโดยใช้สายลวดสลิงเป็นตัวยกลูกตุ่มให้สูงขึ้นแล้วปล่อยตกลงมาบนหัวเสาเข็มลูกตุ่มที่ต้องไม่น้อยกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ของนํ้าหนักของเสาเข็มสําหรับเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก
2. Steam hammer ประกอบด้วยกรอบเหล็กสั้นๆ ซึ่งเป็นรางวางให้ลูกตุ่มวิ่งขึ้นวิ่งลงการบังคับลูกตุ้มบังคับด้วยการระเบิดของไอนํ้าหรือแรงกดของอากาศ Steam hammer มีระยะยกคงที่ตอกรัวและเร็วทำการตอกเสาเข็มสม่ำเสมอ และมีการสั่นสะเทือนคงที่ การเสียหายเนื่องจากการตอกวิธีนี้น้อยกว่าวิธี (Drop hammer)
3. Water jet การตอกวิธีนี้
เราต้องฝังท่อไว้ในเสาเข็ม แล้วอัดน้ำลงไปตามท่อด้วยความดันสงไปอยู่ปลายของเสาเข็ม แรงกดดันนํ้าจะทําให้ดินรอบๆ ปลายเสาเข็มหลวม ทําให้เข็มจมลงด้วยนํ้าหนักตัว
มันเอง การตอกเข็มวิธีนี้ เหมาะที่จะใช้กับดินกรวดหรือทราย หรือกับเสาเข็มที่ออกแบบให้รับนํ้าหนักที่ปลาย เพราะถ้าตอกบริเวณดินหนียวจะทําให้ดินเหนียวรอบๆ เสาเข็มเป็นนํ้าโคลน ถ้าตอกบริเวณดินตะกอนทำให้ ดินตะกอนมีลักษณะกึ่งของไหล
4. Jacking ถ้าต้องการตอกบริเวณที่มีระยะยกไม่สูงนัก หรือบริเวณที่จะทําให้เกิดการสั่นสะเทือนไม่ได้ เราต้องใช้ Hydraulic Jack กดเสาเข็มให้เสาเข็มจมลง
เสาเข็ม รากฐานสำคัญของบ้าน เรื่องน่ารู้ที่หลายคนมองข้าม
เพราะ เสาเข็ม เป็นหลักสำคัญของการสร้างบ้าน แต่น้อยคนนักที่จะรู้จักมันจริง ๆ วันนี้เลยขอนำข้อมูลเกี่ยวกับ เสาเข็ม มาเล่าใหม่ตั้งแต่หน้าที่ความสำคัญกันเลย
เมื่อเร็ว ๆ นี้มีข่าวเกี่ยวกับโครงการบ้านที่ไม่ได้มาตรฐาน ซึ่งลามไปถึงเรื่องเสาเข็มแตกหัก จนเป็นเหตุให้ผนังร้าวและบ้านทรุดทั้งหลังจนยากเกินเยียวยา ฉะนั้นกระปุกดอทคอมเลยขอนำเรื่องราวเกี่ยวกับ เสาเข็ม จากเว็บไซต์ Terrabkk มาเล่าสู่กันฟัง ว่าเจ้าเสาเข็มที่เขาว่าสำคัญนักหนา มันสำคัญขนาดไหน แต่ละประเภทแตกต่างกันอย่างไร และมีข้อดีข้อเสียตรงไหนบ้าง
“เสาเข็ม” รากฐานที่สำคัญของบ้าน (Terrabkk)
จากกระแสข่าวในปัจจุบันเกี่ยวกับปัญหาการก่อสร้างที่ไม่ได้มาตรฐานของเหล่าโครงการหมู่บ้านจัดสรรหรือโครงการคอนโดมิเนียมหลาย ๆ แห่ง ไม่ว่าจะเป็น ดินทรุด ผนังร้าว และอื่น ๆ อีกมายมาย TerraBKK จึงจะพาท่านผู้อ่านไปทำความเข้าใจเกี่ยวกับวัสดุก่อสร้างประเภทต่าง ๆ ในครั้งนี้จะนำเสนอเรื่อง “เสาเข็ม” เสาเข็มมีประเภทอะไรบ้าง สำคัญอย่างไร ทำหน้าที่อะไร เสาเข็มแต่ละประเภทต่างกันอย่างไร
เสาเข็ม เป็นส่วนที่ถือว่าสำคัญที่สุดของอาคาร ทำหน้าที่ในการค้ำยันอาคาร ถ่ายน้ำหนักของตัวบ้านลงสู่พื้นดิน ลักษณะของการรับน้ำหนักเสาเข็มมีด้วยกัน 2 ประเภท คือ การรับน้ำหนักจากตัวเสาเข็ม และการรับน้ำหนักจากชั้นดิน ซึ่งการรับน้ำหนักจากชั้นดินเป็นการใช้แรงเสียดทานของดินในการรับน้ำหนัก (Skin Friction) ร่วมกับการใช้ปลายของเสาเข็มในการรับแรงกดดันของดิน (End Bearing) โดยลักษณะของการตอกเสาเข็มเราจะตอกลงไปถึงชั้นทราย เนื่องจากเป็นชั้นที่สามารถรับน้ำหนักได้ดีที่สุด ถ้าหากตอกไม่ถึงชั้นทรายในระยะยาวจะทำให้อาคารทรุดได้ แต่ละจังหวัดก็จะมีความลึกของชั้นทรายไม่เท่ากัน อีกทั้งระยะห่างของเสาเข็มสำคัญเช่นกัน ปกติแล้วต้องมีระยะห่างอย่างน้อย 3 เท่าของขนาดความกว้างเสาเข็ม เพื่อไม่ให้แรงระหว่างดินกับเสาเข็มถูกรบกวน เสาเข็มมีด้วยกันหลายประเภทขึ้นอยู่กับลักษณะของงานที่นำไปใช้ประเภทของเสาเข็ม ได้แก่
1. เสาเข็มตอก
มีทั้งเสาไม้ เสาเหล็ก และเสาคอนกรีต ส่วนมากจะนิยมใช้เสาเข็มคอนกรีต เนื่องจากราคาถูกกว่าเสาเหล็กและแข็งแรงกว่าเสาไม้ สำหรับเสาคอนกรีตแบ่งย่อยได้ 2 ชนิด ได้แก่ เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก และเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรง เสาคอนกรีตอัดแรงจะเป็นที่นิยมมากที่สุด เพราะหน้าตัดเล็กกว่าทำให้เวลานำไปตอกจะส่งผลกระทบต่ออาคารข้างเคียงน้อยกว่า เสาเข็มตอกมีด้วยกันหลายรูปแบบ ทั้งแบบสี่เหลี่ยม แบบกลม แบบตัว I และแบบตัว T เป็นต้น เสาเข็มตอกสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ราว ๆ 10-120 ตันต่อต้น
วิธีการตอกเสาเข็ม
ต้องใช้ปั้นจั่นในการตอกลงไปในดิน โดยช่วงสุดท้ายซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการตอกเสาเข็ม จะต้องมีการตรวจสอบการตอก 10 ครั้งสุดท้าย (Last Ten Blow) เข็มที่ตอกมีการทรุดตัวกว่าค่าที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าหากทรุดตัวมากเกินกว่าค่าที่กำหนดไว้แสดงว่ายังไม่สามารถรับน้ำหนักได้ดีพอ
ข้อเสียของเสาเข็มตอก
คืออาจจะไม่สะดวกสำหรับไซต์งานที่มีพื้นที่แคบ ๆ เนื่องจากต้องขนส่งด้วยรถขนาดใหญ่ ทำให้ไม่สามารถเข้าสู่ไซต์งานที่อยู่ในพื้นที่แคบ ๆ ได้
2. เสาเข็มเจาะระบบแห้ง
เป็นเสาเข็มที่เข้ามาแก้ปัญหาเสาเข็มแบบตอกซึ่งไม่สะดวกสำหรับการขนย้าย ให้สามารถทำงานในสถานที่แคบ ๆ เสาเข็มเจาะระบบแห้งเป็นการทำเสาเข็มแบบหล่อในที่ มีรูปร่างหน้าตาเป็นวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 40-60 เซนติเมตร สามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ราว ๆ 25-60 ตันต่อต้น ความยาวประมาณ 20–30 เมตร
วิธีการทำเสาเข็มเจาะแบบแห้ง
สามารถเจาะโดยใช้ขาตั้ง 3 ขา แล้วใช้ลูกตุ้มเหล็กหรือกระบะตักดินกระแทกลงไปในดินลึกประมาณ 1 เมตร หลังจากนั้นนำปลอกเหล็กตอกลงไปในหลุมเจาะ โดยปกติจะลงไปลึกประมาณ 12-14 เมตร ซึ่งระดับความลึกระดับนี้จะเป็นชั้นดินเหนียวอ่อน หลังจากนั้นทำการเจาะดินโดยทิ้งกระบะตักดินลงไปในปลอกเหล็ก แล้วตักขึ้นมาทิ้งบริเวณปากหลุม การเจาะดินจะทำการเจาะไปถึงชั้นทรายแล้วจึงหยุดเจาะ เนื่องจากชั้นทรายจะมีน้ำไหลซึมออกมาตลอดซึ่งจะทำให้ก้นหลุมพัง หลังจากนั้นใส่เหล็กเสริมลงไปในปลอกเหล็ก แล้วเทคอนกรีตลงไปในปลอกเหล็ก หลังจากเทเสร็จให้รีบดึงปลอกเหล็กขึ้นทันที
เสาเข็มเจาะระบบแห้ง
มีข้อดีคือเข้าทำงานในที่แคบ ๆ ได้ แต่ข้อเสียคือรับน้ำหนักได้ค่อนข้างน้อย
3. เสาเข็มเจาะระบบเปียก
เป็นเสาเข็มแบบคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่ รูปหน้าตัดทรงกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.75-1.50 เมตร สามารถรับน้ำหนักได้ถึง 150-900 ตัน/ต้น เสาเข็มระบบนี้จะเหมาะกับงานก่อสร้างที่มีขนาดใหญ่ เช่น อาคารสำนักงาน คอนโดมิเนียม ศูนย์การค้าขนาดใหญ่ เป็นต้น เสาเข็มระบบนี้เมื่อเจาะลงลึกกว่า 20 เมตร จะต้องใช้ละลาย Bentonite ใส่ลงไปในหลุมเจาะ เพื่อผลักน้ำออกไปจากชั้นทรายเพื่อให้สามารถเทคอนกรีตลงไปได้