9627158

ซ่อมหม้อเปลงไฟฟ้าเขตตลิ่งชัน โทร 092-4857685

หมวดหมู่สินค้า: rtd3 ช่างไฟฟ้าประปา

14 มีนาคม 2565

ผู้ชม 180 ผู้ชม

 
ติดตั้งเสาไฟฟ้า ติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า ซ่อมหม้อเปลงไฟฟ้า เดินสายไฟฟ้า รับเดินสาย Fiber Optic รื้อถอนงานระบบไฟฟ้า ครบวงจร น่าเชื่อถือ
หม้อแปลงไฟฟ้าเขตตลิ่งชัน
มิเตอร์ไฟฟ้าเขตตลิ่งชัน
ซ่อมหม้อเปลงไฟฟ้าเขตตลิ่งชัน
หม้อแปลงไฟฟ้าแรงสูงเขตตลิ่งชัน
เดินนสายไฟฟ้าแรงสูงเขตตลิ่งชัน
รื้อถอนงานระบบไฟฟ้าเขตตลิ่งชัน
เดินสายไฟฟ้าเขตตลิ่งชัน
ช่างไฟเขตตลิ่งชัน
ติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า3เฟสเขตตลิ่งชัน

            ติดต่อช่างไฟฟ้า

 
รับเหมาออกแบบ ติดตั้ง รื้อถอน ระบบไฟฟ้าโรงงานอุตสาหกรรม อาคาร บ้านเรือน สำนักงาน รวมทั้งจำหน่ายอุปกรณ์ระบบไฟฟ้าครบวงจร ปรึกษาปัญหาระบบไฟฟ้าฟรี
รับเหมาไฟฟ้าบ้านราคาเขตตลิ่งชัน
รายชื่อบริษัทรับเหมางานระบบไฟฟ้าเขตตลิ่งชัน
รับเหมาเดินสายไฟราคาเขตตลิ่งชัน
งานเดินสายไฟในบ้านเขตตลิ่งชัน
ช่างเดินสายไฟเขตตลิ่งชัน
ช่างเดินสายไฟใกล้ฉันเขตตลิ่งชัน
 
บริการติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าแรงสูง รับปักเสา พาดสาย ออกแบบ 
รับเหมา บริการติดตั้ง ขาย ให้เช่า หม้อแปลงไฟฟ้าแรงสูง ออกแบบ วางระบบ ปักเสาไฟฟ้า
เขตตลิ่งชันราคาปักเสาไฟฟ้า 8 เมตร
รับปักเสาไฟฟ้าเขตตลิ่งชัน
อยากทราบราคาติดตั้งเสาไฟฟ้าเขตตลิ่งชัน
ผู้รับเหมาระบบไฟฟ้าแรงสูงเขตตลิ่งชัน
รับติดตั้งหัวเคเบิ้ลแรงสูงเขตตลิ่งชัน
ติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า3เฟสหอพักเขตตลิ่งชัน
รับเหมาระบบไฟฟ้าโรงแรมเขตตลิ่งชัน
รับเหมาระบบไฟฟ้ารีสอร์ทเขตตลิ่งชัน
ติดหม้อแปลงไฟฟ้าโรงงานเขตตลิ่งชัน

น้ำประปา
น้ำประปา หรือ น้ำก๊อก คือ น้ำที่ไหลออกมาจากก๊อกน้ำ เริ่มใช้กันมาตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และเป็นสาธารณูปโภคพื้นฐานที่จำเป็นในปัจจุบัน น้ำประปาผลิตมาจากน้ำดิบ สูบเข้าไปยังถังพักตกตะกอน และผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อโรค จากนั้นจึงเพิ่มแรงดันและส่งไปยังท่อน้ำต่างๆในบ้านของผู้ใช้น้ำ
 
การก่อกำเนิดประปาในประเทศไทย
เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรป 2 ครั้ง มีพระราชดำริว่า กรุงเทพฯ น่าจะมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและใช้ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2440 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกำหนดสุขาภิบาลขึ้น และจัดตั้งกรมสุขาภิบาลด้วย และได้ว่าจ้างช่างผู้ชำนาญการประปาจากฝรั่งเศส ชื่อ นายเดอลาม โฮเตียร์ และ นายแวนเดอไฮเด มาวางแผนการผลิตน้ำประปาซึ่งเขาได้เสนอความคิดหลายแนวทาง เช่น ควรนำน้ำดิบจากแม่น้ำเจ้าพระยามาทำน้ำประปา เพราะสะดวกและไม่ต้องลงทุนมาก ความคิดของทั้งสองคนนี้มีข้อขัดแย้งกันหลายอย่าง ต้องพิจารณากันกลายครั้ง ในที่สุด กระทรวงเกษตราธิการ ที่มีหน้าที่จัดการทดน้ำเพื่อการเพาะปลูก ก็เห็นชอบให้แมื่อน้ำจากแม่น้ำมาผลิต มีการผลิตน้ำสะอาดขึ้นแล้ว ได้โปรดเกล้าฯ ให้เรียก Water Supply ว่า “ ปรฺปา “ จากคำภาษาสันสกฤต (หรือ ปฺปา ในภาษาบาลี)
 
ประวัติของการบัญญัติศัพท์คำว่า การประปา นั้น จริง ๆ เคยจำ พระนามผู้บัญญัติได้ แต่นึกไม่ออก สับสนอยู่ว่าเป็นพระองค์ในสองพระองค์(นี่คือข้อเสียของคนแก่ อะไรที่คิดว่าจำได้ แล้วดันไม่จดเอาไว้ พอถึงเวลาจะใช้ดันนึกไม่ออก) ได้พยายามค้นคว้าต่อตามที่สัญญาไว้ก้หาไม่เจอ พบแค่ว่าในยุคแรกก่อนที่จะบัญญัติคำว่าประปาขึ้นใช้ มีการใช้คำอยู ๒ คำ คือ
 
การหาน้ำบริโภค (วอเตอร์เวิร์ค) กับ การหาน้ำใช้ (วอร์เตอร์สับไปล(weter supply)) และค้นพบข้อความที่เกี่ยวข้องจาก "รายงานการประปาสำหรับกรุงเทพมหานคร ของเจ้าพระยายมราช กราบบังคมทูล พระกรุณา" กับอีกแห่งหนึ่ง ใน "ประกาศการสร้างประปา" ข้อความตรงกันว่า
 
" กิจการอย่างนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้เรียกตามภาษาสันสกฤต เพื่อให้เป็นคำสั้นว่า "การประปา"
 
น้ำประปามี การเติม สารเคมี ที่เรียกว่า คลอรีน เพื่อฆ่า เชื้อโรค น้ำประปาสามารถนำมาอุปโภค บริโภคได้
 
ค่าน้ำประปา
อัตราค่าน้ำประปาในประเทศไทย ของการประปานครหลวง จะคำนวณตามหน่วยของน้ำที่ใช้ โดย 1 หน่วย = 1,000 ลิตร โดยแต่ละเดือน ตัวเลขในมาตรวัดน้ำจะถูกจด โดยเศษของหน่วยจะถูกตัดทิ้ง แต่จะสมทบไปในการคิดค่าน้ำเดือนถัดไป เช่น เดือนแรก ใช้ 2.7 หน่วย (2,700 ลิตร) ค่าน้ำเดือนแรกจะคิด 2 หน่วย อีก 0.7 หน่วย จะทดในเดือนถัดไป เช่นเดือนที่สอง ใช้ 2.5 หน่วย (2,500 ลิตร) ค่าน้ำจะคิด 2.5 + 0.7 = 3.2 หน่วย คิดค่าน้ำ 3 หน่วย อีก 0.2 ทดไปเดือนถัดไป เป็นต้น
 
- ค่าน้ำตามจำนวนหน่วยที่ใช้ ในส่วนนี้ จะแบ่งการคิดคำนวณออกเป็น 2 ส่วน คือ R1 สำหรับเคหสถานประเภทที่อยู่อาศัย และ R2 สำหรับเคหสถานประเภทธุรกิจ ราชการ รัฐวิสาหกิจ อุตสาหกรรม และอื่นๆ
- ค่าน้ำดิบ คิดในอัตราคงตัว หน่วยละ 0.15 บาท
- ค่าบริการรายเดือน คิดตามขนาดมาตรวัดน้ำ โดยจะมีขนาดมาตรวัดน้ำ 11 ขนาด ซึ่งขนาดที่เล็กลง จะทำให้น้ำไหลเข้าถังน้ำช้าลง แต่ค่าบริการรายเดือนจะถูกลงด้วย การเลือกขนาดมาตรวัดน้ำจึงควรเลือกให้เหมาะสม หากเลือกขนาดมาตรใหญ่เกินไป จะเป็นการเสียค่าบริการมากเกินไปโดยใช่เหตุ แต่ถ้าเล็กเกินไป น้ำอาจไหลเข้าถังน้ำน้อยกว่าความต้องการของอาคารได้ ค่าบริการรายเดือนของมาตรแต่ละขนาด
- ภาษีมูลค่าเพิ่ม คำนวณจาก ค่าใช้จ่ายใน 3 ส่วนแรก รวมกัน แล้วคูณด้วย 0.07
 
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียกค่าเสียหาย
 
เรื่อง วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียกค่าเสียหายกรณีบุคคลภายนอกทำให้ท่อประปาชำรุด
 
เพื่อให้การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเรียกค่าเสียหายกรณีบุคคลภายนอกทำให้ท่อประปาชำรุด มีความคล่องตัวยิ่งขึ้นอาศัยอำนาจตามความในข้อ 8 แห่งข้อบังคับการประปาส่วนภูมิภาคว่าด้วยการชำระหนี้และค่าเสียหายของบุคคลภายนอก พ.ศ. 2536 ผู้ว่าการฯ จึงออกคำสั่งไว้ดังต่อไปนี้
 
1. ให้ยกเลิกบันทึก การประปาส่วนภูมิภาคที่ มท 57000/400 ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2534
  เรื่อง การคิดค่าเสียหายกรณีบุคคลภายนอกทำให้ท่อเมนส่งน้ำประปาชำรุด
 
2. เมื่อบุคคลภายนอกทำให้ท่อประปาชำรุด ให้สำนักงานประปาเป็นผู้ประเมิน และเรียกค่าเสียหายที่เกิดขึ้นดังนี้
2.1 ค่าใช้จ่ายในการซ่อมท่อ ให้คิดค่าใช้จ่ายตามตารางแนบท้ายคำสั่งนี้
2.2 ค่าน้ำรั่วไหลหรือสูญเสีย ให้คิดตามปริมาณที่สูญเสียจริง
2.3 การประเมินค่าเสียหายตามข้อ 2.2 หากสำนักงานประปาพิจารณาแล้วมีเหตุอันสมควรที่จะลดหย่อนค่าเสียหายให้ผู้จัดการประปาลดหย่อนได้ตามที่เห็นสมควร แต่ทั้งนี้ไม่เกินจำนวนเงิน 20,000 บาท สำหรับความเสียหายแต่ละครั้ง
 
3. การเรียกค่าเสียหายกับหน่วยงานของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ หากสำนักงานประปาพิจารณา แล้วเห็นสมควร ยกเว้นค่าน้ำรั่วไหลหรือสูญเสีย ก็ให้ยกเว้นได้ แต่ทั้งนี้ไม่เกินจำนวนเงิน 20,000 บาท สำหรับความเสียหายแต่ละครั้ง
 
4. เมื่อสำนักงานประปาเรียกค่าเสียหายแล้ว ให้สรุปรายงานให้สำนักงานประปาเขตทราบ ตามแบบรายงานข้อเท็จจริงแนบท้ายคำสั่งนี้ และให้สำนักงานประปาเขตรายงานปริมาณน้ำสูญเสียที่เกิดขึ้นจากการกระทำของบุคคลภายนอกต่อสายงานบังคับบัญชาทุกเดือนตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
 
Engine by shopup.com