7915974

ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรุงเทพมหานคร (กทม)

หมวดหมู่สินค้า: ข้อสอบ

12 มีนาคม 2565

ผู้ชม 134 ผู้ชม

พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ กรุงเทพมหานคร (กทม)
1 ความรู้เกี่ยวกับกรุงเทพมหานคร
1 ความรู้เกี่ยวกับกรุงเทพมหานคร
2 ความสามารถด้านการคิดคำนวณ
3 แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และแก้ไขเพิ่มเติม
4 แนวข้อสอบ พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
5 แนวข้อสอบ พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
6 แนวข้อสอบพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
7 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน-การเมือง-เศรษฐกิจและสังคม
8 การปฐมพยาบาลและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน
9 ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ (ถาม ตอบ)
10 การควบคุมและป้องกันโรค
11 การฟื้นฟูสุขภาพ
MP3-P004 - พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกทม.และบุคลากรกทม.พ.ศ.2554

แนวข้อสอบ

>รวบรวมจากผู้สอบติดอันดับต้นๆของประเทศ เจาะข้อสอบเข้างานราชการ << 

>> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ <<
>> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ <<
>> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน
 <<


 

 
 

เกี่ยวกับองค์กรเกี่ยวกับองค์กรกรุงเทพฯ หรือ บางกอก เมืองหลวงของประเทศไทยเริ่มก่อตั้งภายหลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงครองราชย์ปราบดาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชจักรีวงศ์ เมื่อวันเสาร์ที่ 6 เมษายนเดือนห้าแรม 9 ค่ำ ปีขาล พ.ศ. 2325 พระองค์ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังทางคุ้งแม่น้ำเจ้าพระยาฟากตะวันออกเนื่องจากเป็นชัยภูมิที่ดีกว่ากรุงธนบุรีเพราะมีแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นแนวคูเมืองทางด้านตะวันตก และด้านใต้อาณาเขตของ กรุงเทพฯ ในขั้นแรกถือเอาแนวคูเมืองเดิมฝั่งตะวันออกของกรุงธนบุรี คือ แนวคลองหลอดตั้งแต่ปากคลองตลาดจนออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณสะพานพระปิ่นเกล้า เป็นบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์มีพื้นที่ประมาณ 1.8 ตารางกิโลเมตร บริเวณที่สร้างพระราชวังนั้นเดิมเป็นที่อยู่อาศัยของพระยาราชเศรษฐีและชาวจีนซึ่งได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายไปอยู่ที่สำเพ็ง ในการก่อสร้างพระราชวังโปรดเกล้าฯ ให้พระยาธรรมาธิบดีกับพระยาวิจิตรนาวีเป็นแม่กองคุมการก่อสร้าง ได้ตั้งพิธียกเสาหลักเมืองเมื่อวันอาทิตย์เดือน 6 ขึ้น 10 ค่ำ ย่ำรุ่งแล้ว 54 นาที (21 เมษายน 2325) พระราชวังแล้วเสร็จ เมื่อ พ.ศ. 2328 จึงได้จัดให้มีพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบแผนรวมทั้งงานฉลองพระนครโดยพระราชทานนามพระนครใหม่“กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุธยามหาดิลกภพ นพรัตน์ราชธานีบุรีรมย์ อุดมราชนิเวศน์มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์” ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเปลี่ยน คำว่า “บวรรัตนโกสินทร์” เป็น “อมรรัตนโกสินทร์” และในสมัยจอมพลถนอม กิตตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรีได้รวมจังหวัด ธนบุรีเข้าไว้ด้วยกันกับกรุงเทพฯ แล้วเปลี่ยนชื่อเป็น “กรุงเทพมหานคร” เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2515  

ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร
ฝ่ายข้าราชการการเมืองพลตำรวจเอกอัศวิน  ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครพลตำรวจโท โสภณ พิสุทธิวงษ์ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครนายศักดิ์ชัย บุญมา รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นายสกลธี ภัททิยกุล รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นายเกรียงยศ สุดลาภา รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ฝ่ายข้าราชการประจำ นางศิลปสวย ระวีแสงสูรย์ ปลัดกรุงเทพมหานครนางวันทนีย์ วัฒนะ รองปลัดกรุงเทพมหานคร นายขจิต ชัชวานิชย์ รองปลัดกรุงเทพมหานคร นางวัลยา วัฒนรัตน์ รองปลัดกรุงเทพมหานครนายชวินทร์ ศิรินาค รองปลัดกรุงเทพมหานคร นายพานุรักษ์ กลั่นนุรักษ์ รองปลัดกรุงเทพมหานคร นายชาตรี วัฒนเขจร รองปลัดกรุงเทพมหานคร  
อำนาจหน้าที่กรุงเทพมหานครจัดรูปแบบการปกครองตาม พ.ร.บ.จัดระเบียบบริหารราชการกรุงเทพฯ พ.ศ.2528 ซึ่งมีอำนาจและหน้าที่ตามที่กำหนดในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานครพ.ศ. 2528  มาตรา 89 ดังนี้
1.  การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน2.  การทะเบียนตามที่กฎหมายกำหนด3.  ป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัย 4.  การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง5.  การผังเมือง6.  การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบกหรือทางน้ำ และทางระบายน้ำ7.  การจัดการจราจรและการวิศวกรรมจราจร8. การส่งเสริมและสนับสนุนสถานีตำรวจ และหน่วยงานอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ตามข้อ 1 - 79.  การขนส่ง10. การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ11. การดูแลรักษาที่สาธารณะ12.  การควบคุมอาคาร13.  การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย14.  การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ15.  การพัฒนาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม16.  บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น17.  การสาธารณูปโภค18.  การสาธารณะสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล19.  การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน20.  การควบคุมสัตว์เลี้ยง21.  การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์22.  การควบคุมความปลอดภัยความเป็นระเบียบเรียบร้อยการอนามัยในโรงมหรสพและสาธารณะสถานอื่น ๆ23.  การจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับแผนการศึกษาของชาติ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา24.  การสาธารณูปการ25.  การสังคมสังเคราะห์26.  การส่งเสริมการกีฬา27.  การส่งเสริมการประกอบอาชีพ28.  การพานิชย์ของกรุงเทพมหานคร29.  หน้าที่อื่น ๆ ตามที่กฎหมายระบุให้เป็นอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัด อำเภอ เทศบาลนคร หรือตามที่คณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบหมายหรือกฎหมายระบุให้เป็นหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
ทำเนียบคณะกรรมการธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐของกรุงเทพมหานคร1 พล.ต.อ.อัศวิน  ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร กรรมการที่ปรึกษา2 นายเกรียงยศ  สุดลาภา รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สั่งราชการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรรมการที่ปรึกษา3 นางวันทนีย์ วัฒนะ ​ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูงของกรุงเทพมหานคร ประธานกรรมการ4 นางสุธาทิพย์ สนเอี่ยม ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล รองประธานกรรมการ5 นายศรชัย  โตวานิชกุล หัวหน้าผู้ตรวจราชการกรุงเทพมหานคร กรรมการ6 นายสมชาย  เดชากรณ์ ผู้อำนวยการสำนักการวางผังและพัฒนาเมือง กรรมการ7 นายชัชชญา  ขำจันทร์ ผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร กรรมการ8 นายธีระเดช  เดชบุญ ผู้อำนวยการสำนักงานกฏหมายและคดี สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร กรรมการ9 นายประสพสุข  พิมพโกวิท รองผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรรมการและเลขานุการ10 นายนิจกาล  งามวงศ์ ผู้อำนวยการกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ11 นางสาวอรพรรณ  ศรีเกตุ ผู้อำนวยการกองพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ  
กฎหมายที่เกี่ยวกับกรุงเทพมหานครข้อมูลกฎหมายที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร1 กฎหมายหลักทั่วไป สำนักงานกฎหมายและคดี 2 กฎหมายการโยธา สำนักการโยธา3 กฎหมายผังเมือง สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง4 กฎหมายการจราจรและขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง5 กฎหมายสิ่งแวดล้อม สำนักสิ่งแวดล้อม 6 กฎหมายสาธารณสุข สำนักอนามัย7 กฎหมายการเงินการคลัง สำนักการคลัง8 กฎหมายงบประมาณ สำนักงบประมาณฯ9 กฎหมายการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว10 กฎหมายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักป้องกันฯ11 กฎหมายความเป็นระเบียบเรียบร้อย สำนักเทศกิจ12 กฎหมายการยุทธศาสตร์ สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล13 กฎหมายการบริหารงานบุคคล สำนักงาน ก.ก. 14 กฎหมายการปกครองและทะเบียน สำนักงานปกครองและทะเบียน 15 กฎหมายสภากรุงเทพมหานคร สำนักงานสภากรุงเทพมหานคร16 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง สำนักพัฒนาสังคม17 กฎหมายการศึกษา สำนักการศึกษา 18 กฎหมายการแพทย์ สำนักการแพทย์ 19 กฎหมายการระบายน้ำ สำนักการระบายน้ำเปิดอ่านที่นี่ >>> http://www.bangkok.go.th/law/page/sub/17205/0/0/info/193096/

ติดต่อหน่วยงานศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) :-
ที่อยู่ : กรุงเทพมหานคร 173 ถนนดินสอ แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 
โทรศัพท์กลาง :   0-2221-2141-69  โทรสาร 0-2221-2170 , 0-2280-7415
E-mail : contact@bangkok.go.th
รถประจำทางสายที่ผ่าน : 10, 12, 35, 42

 
Engine by shopup.com