ตำแหน่งนายทหารวัดผลและประเมิลผลการศึกษา กองทัพอากาศ
หมวดหมู่สินค้า: ข้อสอบ
11 มีนาคม 2565
ผู้ชม 34 ผู้ชม
นายทหารวัดผลและประเมิลผลการศึกษา กองทัพอากาศ
1 ความรู้เกี่ยวกับกองทัพอากาศ
2 แนวข้อสอบคณิตศาสตร์
3 แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย
4 แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ
5 แนวข้อสอบความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
6 แนวข้อสอบความรู้พื้นฐานกฎหมายทั่วไป
7 การวัดและประเมินผลการศึกษา
8 แนวข้อสอบการวัดและประเมินผล
9 หลักการจัดการศึกษาทั่วไป
10 แนวข้อสอบความรู้เกี่ยวกับโสตทัศนศึกษา
11 แนวข้อสอบการวิจัยทางการศึกษา
12 แนวข้อสอบเทคโนโลยีทางการศึกษา
MP3- ภาษาอังกฤษ
แนวข้อสอบ
>รวบรวมจากผู้สอบติดอันดับต้นๆของประเทศ เจาะข้อสอบเข้างานราชการ <<
>> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ <<
>> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ <<
>> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน <<
กองทัพอากาศกองทัพอากาศ
ประวัติความเป็นมาของกองทัพอากาศ กิจการบินของไทย เริ่มต้นในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อมีชาวต่างประเทศ ได้นำเครื่องบิน มาแสดงให้ชาวไทย ได้ชมเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2454 อันทำให้ ผู้บังคับบัญชา ระดับสูง ของกองทัพ ในสมัยนั้น พิจารณาเห็นว่า ประเทศไทยจำเป็นต้องมีเครื่องบิน ไว้เพื่อป้องกันภัย ที่จะเกิดแก่ประเทศชาติ ในอนาคต ด้วยเหตุนี้ กระทรวงกลาโหม จึงได้ตั้ง "แผนกการบิน" ขึ้นในกองทัพบก พร้อมทั้งได้คัดเลือกนายทหารบก 3 คน ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสม ไปศึกษาวิชาการ ณ ประเทศฝรั่งเศส อันได้แก่ พันตรีหลวงศักดิ์ศัลยาวุธ ร้อยเอกหลวงอาวุธสิขิกร และ ร้อยโท ทิพย์ เกตุทัต ทั้ง 3 ท่านนี้ ในเวลาต่อมา ได้รับพระราชทานยศ และบรรดาศักดิ์ ตามลำดับ คือ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ, นาวาอากาศเอก พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์ และ นาวาอากาศเอก พระยาทะยานพิฆาต และ กองทัพอากาศได้ยกย่องให้เป็น "บุพการีของกองทัพอากาศ"
ในขณะที่นายทหารทั้งสามกำลังศึกษาวิชาการบินอยู่นั้นทางราชการ ได้สั่งซื้อเครื่องบิน รวมทั้ง มีผู้บริจาคเงินร่วมสมทบซื้อด้วยเป็นครั้งแรก จำนวน 8 เครื่อง คือเครื่องบินเบรเกต์ปีก 2 ชั้น จำนวน 4 เครื่อง และ เครื่องบินนิเออปอรต์ปีกชั้นเดียว จำนวน 4 เครื่อง อันอาจกล่าวได้ว่า กำลังทางอากาศของไทย เริ่มต้นจากนักบินเพียง 3 คน และเครื่องบินอีก 8 เครื่องเท่านั้น การบินของไทยในระยะแรก ได้ใช้สนามม้าสระปทุม หรือราชกรีฑาสโมสรในปัจจุบัน เป็นสนามบิน แต่ด้วยความไม่สะดวกหลายประการ บุพการีทั้ง 3 ท่าน จึงได้พิจารณาหาพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมต่อการบิน และได้เลือกเอาตำบลดอนเมือง เป็นที่ตั้งสนามบิน พร้อมทั้งได้ก่อสร้างอาคาร สถานที่โรงเก็บเครื่องบินอย่างถาวรขึ้น เมื่อการโยกย้ายกำลังพล อุปกรณ์ และเครื่องบิน ไปไว้ยังที่ตั้งใหม่เรียบร้อยแล้ว ในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2457 กระทรวงกลาโหม จึงได้สั่งยกแผนกการบินขึ้นเป็น "กองบินทหารบก" ซึ่งถือได้ว่า กิจการการบินของไทย ได้วางรากฐานอย่างมั่นคงขึ้นแล้ว ตั้งแต่บัดนั้นมา กองทัพอากาศจึงถือเอา วันที่ 27 มีนาคม ของทุกปีเป็น "วันที่ระลึกกองทัพอากาศ"
นับแต่นั้นมา บทบาทของกำลังทางอากาศ ก็ได้แสดงให้เห็นถึงความสำคัญ และมีการพัฒนาอย่างเป็นลำดับ นับตั้งแต่การเข้าร่วมรบ ในสงครามโลกครั้งที่ 1 กับพันธมิตรในยุโรป เมื่อปี พ.ศ. 2460 ซึ่งทำให้ชื่อเสียงและเกียรติภูมิ ของชาติ เป็นที่ยอมรับ และยกย่อง เป็นอันมาก และทางราชการได้ยกฐานะ กองบินทหารบกขึ้นเป็น "กรมอากาศยานทหารบก" ในเวลาต่อมา กำลังทางอากาศ ได้พัฒนาต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง และเป็นกำลังสำคัญ ในการพัฒนาประเทศชาติทางด้านต่างๆ อันเป็นรากฐาน ของกิจการหลายอย่างในปัจจุบัน อาทิ การบินส่งไปรษณีย์ทางอากาศ การส่งแพทย์ และเวชภัณฑ์ทางอากาศ เป็นต้น
ในปี พ.ศ. 2464 กระทรวงกลาโหม ได้พิจารณาเห็นว่า กำลังทางอากาศ มิได้เป็นกำลังเฉพาะในhis2.jpgด้านยุทธศาสตร์ทางทหารเท่านั้น แต่มีประโยชน์ อย่างกว้างขวางต่อกิจการด้านอื่นๆ อีกด้วย จึงได้แก้ไขการเรียกชื่อจาก กรมอากาศยานทหารเป็น "กรมอากาศยาน" และเป็น "กรมทหารอากาศ" ในเวลาต่อมา โดยให้อยู่ในบังคับบัญชาของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม โดยตรง พร้อมทั้งได้มีการกำหนดยศทหาร และการเปลี่ยนแปลงเครื่องแบบ จากสีเขียว มาเป็นสีเทา ดังเช่นปัจจุบัน วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2480 กรมทหารอากาศได้ยกฐานะเป็น"กองทัพอากาศ" มีนาวาอากาศเอก พระเวชยันต์รังสฤษฎ์ เป็นผู้บัญชาการทหารอากาศคนแรกกองทัพอากาศ จึงได้ถือเอาวันที่ 9 เมษายน ของทุกปีเป็น "วันกองทัพอากาศ"
กำลังทางอากาศ ได้พัฒนาไปอย่างมากมาย และได้เป็นกำลังสำคัญในการปกป้อง รักษาอธิปไตยของชาติ อาทิ สงครามกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส และสงครามมหาเอเชียบูรพา รวมทั้งเข้าร่วมกับกองกำลังสหประชาชาติ ในสงครามเกาหลี และร่วมกับพันธมิตร ในสงครามเวียดนาม จากเครื่องบินใบพัดเพียง 8 เครื่องในอดีต จนมาถึงเครื่องบินไอพ่นที่ทันสมัย ในปัจจุบัน กองทัพอากาศ ขอยืนยัน ที่จะดำรงความมุ่งมั่นในภารกิจ ที่จะพิทักษ์ รักษาเอกราช และอธิปไตยของชาติ ไว้ให้มั่นคงสถาพรตลอดไป
ประวัติโดยสังเขป • 27 มีนาคม 2457 ยกฐานะจากแผนกการบิน เป็น "กองบินทหารบก" ถือเอาวันนี้เป็น วันที่ระลึกกองทัพอากาศ • 29 มีนาคม 2461 ยกฐานะเป็นกรมอากาศยานทหารบก • 1 ธันวาคม 2464 เปลี่ยนชื่อเป็นกรมอากาศยาน ขึ้นตรงต่อกระทรวงกลาโหม • 12 เมษายน 2478 ยกฐานะเป็นกรมทหารอากาศ • 9 เมษายน 2480 สถาปนาเป็นกองทัพอากาศ ถือเอาวันนี้เป็น วันกองทัพอากาศ (ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อ 26 มีนาคม 2541)
ภารกิจ " กองทัพอากาศมีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพอากาศ การป้องกันราชอาณาจักรและดำเนินการเกี่ยวกับการใช้กำลังกองทัพอากาศ ตามอำนาจหน้าที่ของกระทรวงกลาโหมมีผู้บัญชาการทหารอากาศเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ "วิสัยทัศน์ กองทัพอากาศตระหนักถึงการกำหนดวิสัยทัศน์ที่มีความชัดเจน ความท้าทาย และความเป็นไปได้ในเชิงปฏิบัติ ทั้งนี้กองทัพอากาศได้กำหนดวิสัยทัศน์บนพื้นฐานของภารกิจตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๗๗ และ พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๒๑ อีกทั้งจากการประเมินสถานการณ์และจากการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก (SWOT Analysis) แล้วจึงกำหนดเป็นวิสัยทัศน์กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๖๒ ดังนี้"กองทัพอากาศชั้นนำในภูมิภาค (One of the Best Air Forces in ASEAN)" กองทัพอากาศมุ่งหวังพัฒนาสู่ "กองทัพอากาศชั้นนำในภูมิภาค" หรือ "One of the Best Air Forces in ASEAN" ซึ่งอีกนัยหนึ่ง คือ เป็นกองทัพอากาศที่มีขีดความสามารถในทุกมิติอยู่ในระดับ ๑ ใน ๓ ของภูมิภาค อาเซียน บนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเอง ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่าการก้าวไปสู่วิสัยทัศน์กองทัพอากาศอย่างเป็นระบบ เป็นรูปธรรม และมีความยั่งยืนกองทัพอากาศจึงได้กำหนดจุดเน้นของทิศทางการพัฒนาในแต่ละระยะ ดังนี้ ระยะที่ ๑ พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๔ กองทัพอากาศดิจิตอล (Digital Air Force : DAF) มีขีดความสามารถในการปฏิบัติการรบและการปฏิบัติการที่มิใช่การรบเพื่อตอบสนองต่อภัยคุกคามในทุกรูปแบบ โดยกองทัพอากาศต้องสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเป็นหลัก และบูรณาการเทคโนโลยีกำลังทางอากาศ เทคโนโลยีเครือข่าย และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศเป็นไปอย่างรวดเร็ว เหมาะสม ทันตามความต้องการในทุกสถานการณ์ อันจะเป็นพื้นฐานการพัฒนาสู่การปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations : NCO) ระยะที่ ๒ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘ กองทัพอากาศที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Air Force : NCAF) มีขีดความสามารถในการปฏิบัติการรบและการปฏิบัติการที่มิใช่การรบ เพื่อตอบสนองต่อภัยคุกคามในทุกรูปแบบรวมถึงภัยคุกคามรูปแบบใหม่ในยุคสงครามที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Warfare : NCW) โดยกองทัพอากาศต้องสามารถประยุกต์แนวคิดการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (NCO) ได้อย่างสมบูรณ์ และต้องสามารถใช้เทคโนโลยีเครือข่ายและระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธี (Tactical Data Link) ได้บนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเอง ระยะที่ ๓ พ.ศ.๒๕๕๙ - ๒๕๖๒ กองทัพอากาศขับเคลื่อนไปสู่ "กองทัพอากาศชั้นนำในภูมิภาค" โดยสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและแนวคิดการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (NCO) ในการปฏิบัติการรบ และการปฏิบัติการที่มิใช่การรบ เพื่อตอบสนองต่อภัยคุกคามในทุกรูปแบบ ได้อย่างมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด
ภารกิจตามกฎหมาย กองทัพอากาศมีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพอากาศ และป้องกันราชอาณาจักร พร้อมการพัฒนาประเทศและแก้ไขปัญหาเมื่อเกิดความขัดแย้งในระดับต่าง ๆ โดยดำรงระดับความพร้อมของขีดความสามารถอยู่ตลอดเวลา ด้วยการเสริมสร้างศักยภาพกำลังทางอากาศให้มีคุณภาพ และครอบครองเทคโนโลยีที่ทันสมัย รวมถึงการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับมิตรประเทศและดำรงความเข้มข้นในความรับผิดชอบต่อภารกิจตามกฎหมายโดยเฉพาะในการรักษาผลประโยชน์แห่งชาติ และการพัฒนาประเทศตามแนวคิดทางยุทธศาสตร์
ภารกิจตามที่ได้รับมอบหมาย ให้มีความพร้อมปฏิบัติการทั้งในส่วนของยุทโธปกรณ์ที่ทันสมัย สามารถไปปฏิบัติงานร่วมกับต่างประเทศได้ พร้อมกำลังพลในรูปของหน่วยบิน/หน่วย-ชุดปฏิบัติการ/เจ้าหน้าที่ที่มีความเชี่ยวชาญประเภทต่าง ๆ เพื่อปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมายร่วมกับกำลังของต่างประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างเป็นลำดับ ได้แก่ การรักษาสันติภาพ การช่วยเหลือมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ
พันธกิจ เตรียมความพร้อม กองทัพอากาศต้องเตรียมความพร้อมเพื่อปฏิบัติภารกิจภายใต้ การจัดโครงสร้างกำลังรบและส่วนสนับสนุนที่เหมาะสมภายใต้การบริหารจัดการ การฝึกอบรม การพัฒนากำลังพล และการจัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์ ให้สามารถที่จะวางกำลังหน่วยปฏิบัติการในระดับต่าง ๆ ได้อย่างเต็มความสามารถ โดยในยามปกติจัดฐานที่ตั้งเป็นฐานบินปฏิบัติการหลัก ฐานบินปฏิบัติการหน้า ฐานบินปฏิบัติการพิเศษ ฐานบินปฏิบัติการสำรอง และสนามบินเฉพาะกิจ รวมถึงการประกอบกำลังที่มีหน่วยตัดสินตกลงใจ โดยมีศูนย์ปฏิบัติการในแต่ละระดับ สามารถบัญชาการและควบคุมตามที่ได้รับมอบอำนาจ เพื่ออำนวยการปฏิบัติการใช้กำลังทางอากาศทั้งในประเทศและนอกประเทศ ใช้กำลัง กองทัพอากาศมีพันธกิจใช้กำลังทางอากาศในยามปกติคือ การเฝ้าตรวจระวังภัยทางอากาศ ซึ่งรวมถึงการควบคุมเส้นทางสัญจรเข้าออกรอบประเทศ ในยามสงครามก็พร้อมที่จะใช้กำลังทางอากาศในการดำเนินกลยุทธ์ร่วมกับหน่วยกำลังอื่น ๆ ทั้งการปฏิบัติสงครามอันเป็นการใช้กำลังในการป้องกันประเทศ การพิทักษ์ผลประโยชน์แห่งชาติ และการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในทุกระดับ ขณะเดียวกันกองทัพอากาศก็พร้อมที่จะใช้กำลังกองทัพอากาศเพื่อการพัฒนาประเทศและการช่วยเหลือประชาชน รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสำคัญของชาติในยามวิกฤติต่าง ๆ เช่น การบรรเทาสาธารณภัยอันเกิดจากอุบัติภัยหรือภัยพิบัติจากธรรมชาติ การต่อต้านอาชญากรรม การปราบปรามยาเสพติด การสำรวจและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และการฟื้นฟูภัยพิบัติสาธารณะต่าง ๆ
ผู้บังคับบัญชาระดับสูงของกองทัพอากาศพลอากาศเอก แอร์บูล สุทธิวรรณ ผู้บัญชาการทหารอากาศพลอากาศเอก สุรพล พุทธมนต์ รองผู้บัญชาการทหารอากาศ พลอากาศเอก นภาเดช ธูปะเตมีย์ ประธานคณะที่ปรึกษากองทัพอากาศ พลอากาศเอก ปราโมทย์ ศิริธรรมกุล ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ พลอากาศเอก เดชอุดม คงศรี ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศพลอากาศเอก ชานนท์ มุ่งธัญญา เสนาธิการทหารอากาศพลอากาศโท ชากร ตะวันแจ้ง รองเสนาธิการทหารอากาศพลอากาศโท พันธ์ภักดี พัฒนกุล รองเสนาธิการทหารอากาศพลอากาศโท พงษ์สวัสดิ์ จันทสาร รองเสนาธิการทหารอากาศ พลอากาศโท ชนะยุทธ รัตนกาล รองเสนาธิการทหารอากาศ พลอากาศโท ตรีพล อ่องไพฑูรย์ รองเสนาธิการทหารอากาศ
หน่วยขึ้นตรง ทอ.กองทัพอากาศ (กองบัญชาการ)แผนกสนับสนุนกองบัญชาการกองทัพอากาศศูนย์อำนวยการเครื่องบินพระราชพาหนะศูนย์อำนวยการเฮลิคอปเตอร์พระราชพาหนะศูนย์การสงครามทางอากาศสำนักงานพัฒนาระบบราชการกองทัพอากาศสำนักงานยุทธศาสตร์และหลักนิยมกองทัพอากาศ(เพื่อพลาง)สำนักงานประสานภารกิจด้านความมั่นคงกับกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรกองทัพอากาศส่วนบัญชาการสำนักงานเลขานุการกองทัพอากาศกรมสารบรรณทหารอากาศกรมกำลังพลทหารอากาศกรมข่าวทหารอากาศกรมยุทธการทหารอากาศกรมส่งกำลังบำรุงทหารอากาศกรมกิจการพลเรือนทหารอากาศกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทหารอากาศสำนักงานปลัดบัญชีทหารอากาศกรมการเงินทหารอากาศกรมจเรทหารอากาศสำนักงานตรวจสอบภายในทหารอากาศสำนักงานนิรภัยทหารอากาศสำนักงานการบินกองทัพอากาศสำนักงานพระธรรมนูญทหารอากาศศูนย์ไซเบอร์กองทัพอากาศ
ส่วนกำลังรบกรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศหน่วยบัญชาการอากาศโยธินศูนย์ปฏิบัติการทางอวกาศกองทัพอากาศโรงเรียนการบินกองบิน 1กองบิน 2กองบิน 3กองบิน 4กองบิน 5กองบิน 6กองบิน 7กองบิน 21กองบิน 23กองบิน 41กองบิน 46กองบิน 56
ส่วนส่งกำลังบำรุงกรมช่างอากาศกรมสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ทหารอากาศกรมสรรพาวุธทหารอากาศกรมแพทย์ทหารอากาศ- โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช- โรงพยาบาลจันทรุเบกษา- โรงพยาบาลทหารอากาศ(สีกัน)กรมพลาธิการทหารอากาศกรมช่างโยธาทหารอากาศกรมขนส่งทหารอากาศศูนย์ซอฟต์แวร์กองทัพอากาศส่วนการศึกษากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ- วิทยาลัยการทัพอากาศ- โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ- โรงเรียนนายทหารอากาศอาวุโส- โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง- โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับหมวด- โรงเรียนครูทหาร- โรงเรียนนายทหารชั้นประทวน- โรงเรียนจ่าอากาศ- ศูนย์ภาษา- ศูนย์ทดสอบบุคคล- กองวิทยบริการ- กองอนุศาสนาจารย์โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราชส่วนกิจการพิเศษศูนย์วิจัยพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการบินและอวกาศกองทัพอากาศกรมสวัสดิการทหารอากาศสำนักงานผู้บังคับทหารอากาศดอนเมืองสถาบันเวชศาสตร์การบินกองทัพอากาศ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหน่วยงานภาครัฐเว็บไซต์กลางบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (e-Government Portal)เว็บไซต์รัฐบาลไทยส่วนราชการสังกัดกระทรวงกลาโหมกระทรวงกลาโหมกองบัญชาการกองทัพไทยกองทัพบกกองทัพเรือ
ส่วนโรงเรียนหลักของกระทรวงกลาโหมโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าฯโรงเรียนนายเรือโรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราชโรงเรียนเตรียมทหาร
หน่วยงานบริการของกองทัพอากาศหอสมุดกองทัพอากาศกองการฌาปนกิจ ทอ.ศูนย์พัฒนากีฬากองทัพอากาศหอประชุมกองทัพอากาศโครงสร้างพื้นฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศกองทัพอากาศพิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศและการบินแห่งชาติสหกรณ์ออมทรัพย์สหกรณ์ออมทรัพย์ บก.ทอ. สมาคมสมาคมแม่บ้านทหารอากาศมูลนิธิศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมทหาร
เว็บไซต์ด้านการทหารของมิตรประเทศU.S. Air ForceRoyal Air ForceRoyal Australian Air ForceRepublic of Singapore Air Force
ประวัติความเป็นมาของกองทัพอากาศ กิจการบินของไทย เริ่มต้นในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อมีชาวต่างประเทศ ได้นำเครื่องบิน มาแสดงให้ชาวไทย ได้ชมเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2454 อันทำให้ ผู้บังคับบัญชา ระดับสูง ของกองทัพ ในสมัยนั้น พิจารณาเห็นว่า ประเทศไทยจำเป็นต้องมีเครื่องบิน ไว้เพื่อป้องกันภัย ที่จะเกิดแก่ประเทศชาติ ในอนาคต ด้วยเหตุนี้ กระทรวงกลาโหม จึงได้ตั้ง "แผนกการบิน" ขึ้นในกองทัพบก พร้อมทั้งได้คัดเลือกนายทหารบก 3 คน ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสม ไปศึกษาวิชาการ ณ ประเทศฝรั่งเศส อันได้แก่ พันตรีหลวงศักดิ์ศัลยาวุธ ร้อยเอกหลวงอาวุธสิขิกร และ ร้อยโท ทิพย์ เกตุทัต ทั้ง 3 ท่านนี้ ในเวลาต่อมา ได้รับพระราชทานยศ และบรรดาศักดิ์ ตามลำดับ คือ พลอากาศโท พระยาเฉลิมอากาศ, นาวาอากาศเอก พระยาเวหาสยานศิลปสิทธิ์ และ นาวาอากาศเอก พระยาทะยานพิฆาต และ กองทัพอากาศได้ยกย่องให้เป็น "บุพการีของกองทัพอากาศ"
ในขณะที่นายทหารทั้งสามกำลังศึกษาวิชาการบินอยู่นั้นทางราชการ ได้สั่งซื้อเครื่องบิน รวมทั้ง มีผู้บริจาคเงินร่วมสมทบซื้อด้วยเป็นครั้งแรก จำนวน 8 เครื่อง คือเครื่องบินเบรเกต์ปีก 2 ชั้น จำนวน 4 เครื่อง และ เครื่องบินนิเออปอรต์ปีกชั้นเดียว จำนวน 4 เครื่อง อันอาจกล่าวได้ว่า กำลังทางอากาศของไทย เริ่มต้นจากนักบินเพียง 3 คน และเครื่องบินอีก 8 เครื่องเท่านั้น การบินของไทยในระยะแรก ได้ใช้สนามม้าสระปทุม หรือราชกรีฑาสโมสรในปัจจุบัน เป็นสนามบิน แต่ด้วยความไม่สะดวกหลายประการ บุพการีทั้ง 3 ท่าน จึงได้พิจารณาหาพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมต่อการบิน และได้เลือกเอาตำบลดอนเมือง เป็นที่ตั้งสนามบิน พร้อมทั้งได้ก่อสร้างอาคาร สถานที่โรงเก็บเครื่องบินอย่างถาวรขึ้น เมื่อการโยกย้ายกำลังพล อุปกรณ์ และเครื่องบิน ไปไว้ยังที่ตั้งใหม่เรียบร้อยแล้ว ในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2457 กระทรวงกลาโหม จึงได้สั่งยกแผนกการบินขึ้นเป็น "กองบินทหารบก" ซึ่งถือได้ว่า กิจการการบินของไทย ได้วางรากฐานอย่างมั่นคงขึ้นแล้ว ตั้งแต่บัดนั้นมา กองทัพอากาศจึงถือเอา วันที่ 27 มีนาคม ของทุกปีเป็น "วันที่ระลึกกองทัพอากาศ"
นับแต่นั้นมา บทบาทของกำลังทางอากาศ ก็ได้แสดงให้เห็นถึงความสำคัญ และมีการพัฒนาอย่างเป็นลำดับ นับตั้งแต่การเข้าร่วมรบ ในสงครามโลกครั้งที่ 1 กับพันธมิตรในยุโรป เมื่อปี พ.ศ. 2460 ซึ่งทำให้ชื่อเสียงและเกียรติภูมิ ของชาติ เป็นที่ยอมรับ และยกย่อง เป็นอันมาก และทางราชการได้ยกฐานะ กองบินทหารบกขึ้นเป็น "กรมอากาศยานทหารบก" ในเวลาต่อมา กำลังทางอากาศ ได้พัฒนาต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง และเป็นกำลังสำคัญ ในการพัฒนาประเทศชาติทางด้านต่างๆ อันเป็นรากฐาน ของกิจการหลายอย่างในปัจจุบัน อาทิ การบินส่งไปรษณีย์ทางอากาศ การส่งแพทย์ และเวชภัณฑ์ทางอากาศ เป็นต้น
ในปี พ.ศ. 2464 กระทรวงกลาโหม ได้พิจารณาเห็นว่า กำลังทางอากาศ มิได้เป็นกำลังเฉพาะในhis2.jpgด้านยุทธศาสตร์ทางทหารเท่านั้น แต่มีประโยชน์ อย่างกว้างขวางต่อกิจการด้านอื่นๆ อีกด้วย จึงได้แก้ไขการเรียกชื่อจาก กรมอากาศยานทหารเป็น "กรมอากาศยาน" และเป็น "กรมทหารอากาศ" ในเวลาต่อมา โดยให้อยู่ในบังคับบัญชาของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม โดยตรง พร้อมทั้งได้มีการกำหนดยศทหาร และการเปลี่ยนแปลงเครื่องแบบ จากสีเขียว มาเป็นสีเทา ดังเช่นปัจจุบัน วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2480 กรมทหารอากาศได้ยกฐานะเป็น"กองทัพอากาศ" มีนาวาอากาศเอก พระเวชยันต์รังสฤษฎ์ เป็นผู้บัญชาการทหารอากาศคนแรกกองทัพอากาศ จึงได้ถือเอาวันที่ 9 เมษายน ของทุกปีเป็น "วันกองทัพอากาศ"
กำลังทางอากาศ ได้พัฒนาไปอย่างมากมาย และได้เป็นกำลังสำคัญในการปกป้อง รักษาอธิปไตยของชาติ อาทิ สงครามกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส และสงครามมหาเอเชียบูรพา รวมทั้งเข้าร่วมกับกองกำลังสหประชาชาติ ในสงครามเกาหลี และร่วมกับพันธมิตร ในสงครามเวียดนาม จากเครื่องบินใบพัดเพียง 8 เครื่องในอดีต จนมาถึงเครื่องบินไอพ่นที่ทันสมัย ในปัจจุบัน กองทัพอากาศ ขอยืนยัน ที่จะดำรงความมุ่งมั่นในภารกิจ ที่จะพิทักษ์ รักษาเอกราช และอธิปไตยของชาติ ไว้ให้มั่นคงสถาพรตลอดไป
ประวัติโดยสังเขป • 27 มีนาคม 2457 ยกฐานะจากแผนกการบิน เป็น "กองบินทหารบก" ถือเอาวันนี้เป็น วันที่ระลึกกองทัพอากาศ • 29 มีนาคม 2461 ยกฐานะเป็นกรมอากาศยานทหารบก • 1 ธันวาคม 2464 เปลี่ยนชื่อเป็นกรมอากาศยาน ขึ้นตรงต่อกระทรวงกลาโหม • 12 เมษายน 2478 ยกฐานะเป็นกรมทหารอากาศ • 9 เมษายน 2480 สถาปนาเป็นกองทัพอากาศ ถือเอาวันนี้เป็น วันกองทัพอากาศ (ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อ 26 มีนาคม 2541)
ภารกิจ " กองทัพอากาศมีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพอากาศ การป้องกันราชอาณาจักรและดำเนินการเกี่ยวกับการใช้กำลังกองทัพอากาศ ตามอำนาจหน้าที่ของกระทรวงกลาโหมมีผู้บัญชาการทหารอากาศเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ "วิสัยทัศน์ กองทัพอากาศตระหนักถึงการกำหนดวิสัยทัศน์ที่มีความชัดเจน ความท้าทาย และความเป็นไปได้ในเชิงปฏิบัติ ทั้งนี้กองทัพอากาศได้กำหนดวิสัยทัศน์บนพื้นฐานของภารกิจตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๗๗ และ พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๒๑ อีกทั้งจากการประเมินสถานการณ์และจากการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก (SWOT Analysis) แล้วจึงกำหนดเป็นวิสัยทัศน์กองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๖๒ ดังนี้"กองทัพอากาศชั้นนำในภูมิภาค (One of the Best Air Forces in ASEAN)" กองทัพอากาศมุ่งหวังพัฒนาสู่ "กองทัพอากาศชั้นนำในภูมิภาค" หรือ "One of the Best Air Forces in ASEAN" ซึ่งอีกนัยหนึ่ง คือ เป็นกองทัพอากาศที่มีขีดความสามารถในทุกมิติอยู่ในระดับ ๑ ใน ๓ ของภูมิภาค อาเซียน บนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเอง ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่าการก้าวไปสู่วิสัยทัศน์กองทัพอากาศอย่างเป็นระบบ เป็นรูปธรรม และมีความยั่งยืนกองทัพอากาศจึงได้กำหนดจุดเน้นของทิศทางการพัฒนาในแต่ละระยะ ดังนี้ ระยะที่ ๑ พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๔ กองทัพอากาศดิจิตอล (Digital Air Force : DAF) มีขีดความสามารถในการปฏิบัติการรบและการปฏิบัติการที่มิใช่การรบเพื่อตอบสนองต่อภัยคุกคามในทุกรูปแบบ โดยกองทัพอากาศต้องสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลเป็นหลัก และบูรณาการเทคโนโลยีกำลังทางอากาศ เทคโนโลยีเครือข่าย และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศเป็นไปอย่างรวดเร็ว เหมาะสม ทันตามความต้องการในทุกสถานการณ์ อันจะเป็นพื้นฐานการพัฒนาสู่การปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operations : NCO) ระยะที่ ๒ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘ กองทัพอากาศที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Air Force : NCAF) มีขีดความสามารถในการปฏิบัติการรบและการปฏิบัติการที่มิใช่การรบ เพื่อตอบสนองต่อภัยคุกคามในทุกรูปแบบรวมถึงภัยคุกคามรูปแบบใหม่ในยุคสงครามที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (Network Centric Warfare : NCW) โดยกองทัพอากาศต้องสามารถประยุกต์แนวคิดการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (NCO) ได้อย่างสมบูรณ์ และต้องสามารถใช้เทคโนโลยีเครือข่ายและระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางยุทธวิธี (Tactical Data Link) ได้บนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเอง ระยะที่ ๓ พ.ศ.๒๕๕๙ - ๒๕๖๒ กองทัพอากาศขับเคลื่อนไปสู่ "กองทัพอากาศชั้นนำในภูมิภาค" โดยสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและแนวคิดการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง (NCO) ในการปฏิบัติการรบ และการปฏิบัติการที่มิใช่การรบ เพื่อตอบสนองต่อภัยคุกคามในทุกรูปแบบ ได้อย่างมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด
ภารกิจตามกฎหมาย กองทัพอากาศมีหน้าที่เตรียมกำลังกองทัพอากาศ และป้องกันราชอาณาจักร พร้อมการพัฒนาประเทศและแก้ไขปัญหาเมื่อเกิดความขัดแย้งในระดับต่าง ๆ โดยดำรงระดับความพร้อมของขีดความสามารถอยู่ตลอดเวลา ด้วยการเสริมสร้างศักยภาพกำลังทางอากาศให้มีคุณภาพ และครอบครองเทคโนโลยีที่ทันสมัย รวมถึงการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับมิตรประเทศและดำรงความเข้มข้นในความรับผิดชอบต่อภารกิจตามกฎหมายโดยเฉพาะในการรักษาผลประโยชน์แห่งชาติ และการพัฒนาประเทศตามแนวคิดทางยุทธศาสตร์
ภารกิจตามที่ได้รับมอบหมาย ให้มีความพร้อมปฏิบัติการทั้งในส่วนของยุทโธปกรณ์ที่ทันสมัย สามารถไปปฏิบัติงานร่วมกับต่างประเทศได้ พร้อมกำลังพลในรูปของหน่วยบิน/หน่วย-ชุดปฏิบัติการ/เจ้าหน้าที่ที่มีความเชี่ยวชาญประเภทต่าง ๆ เพื่อปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมายร่วมกับกำลังของต่างประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างเป็นลำดับ ได้แก่ การรักษาสันติภาพ การช่วยเหลือมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ
พันธกิจ เตรียมความพร้อม กองทัพอากาศต้องเตรียมความพร้อมเพื่อปฏิบัติภารกิจภายใต้ การจัดโครงสร้างกำลังรบและส่วนสนับสนุนที่เหมาะสมภายใต้การบริหารจัดการ การฝึกอบรม การพัฒนากำลังพล และการจัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์ ให้สามารถที่จะวางกำลังหน่วยปฏิบัติการในระดับต่าง ๆ ได้อย่างเต็มความสามารถ โดยในยามปกติจัดฐานที่ตั้งเป็นฐานบินปฏิบัติการหลัก ฐานบินปฏิบัติการหน้า ฐานบินปฏิบัติการพิเศษ ฐานบินปฏิบัติการสำรอง และสนามบินเฉพาะกิจ รวมถึงการประกอบกำลังที่มีหน่วยตัดสินตกลงใจ โดยมีศูนย์ปฏิบัติการในแต่ละระดับ สามารถบัญชาการและควบคุมตามที่ได้รับมอบอำนาจ เพื่ออำนวยการปฏิบัติการใช้กำลังทางอากาศทั้งในประเทศและนอกประเทศ ใช้กำลัง กองทัพอากาศมีพันธกิจใช้กำลังทางอากาศในยามปกติคือ การเฝ้าตรวจระวังภัยทางอากาศ ซึ่งรวมถึงการควบคุมเส้นทางสัญจรเข้าออกรอบประเทศ ในยามสงครามก็พร้อมที่จะใช้กำลังทางอากาศในการดำเนินกลยุทธ์ร่วมกับหน่วยกำลังอื่น ๆ ทั้งการปฏิบัติสงครามอันเป็นการใช้กำลังในการป้องกันประเทศ การพิทักษ์ผลประโยชน์แห่งชาติ และการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในทุกระดับ ขณะเดียวกันกองทัพอากาศก็พร้อมที่จะใช้กำลังกองทัพอากาศเพื่อการพัฒนาประเทศและการช่วยเหลือประชาชน รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสำคัญของชาติในยามวิกฤติต่าง ๆ เช่น การบรรเทาสาธารณภัยอันเกิดจากอุบัติภัยหรือภัยพิบัติจากธรรมชาติ การต่อต้านอาชญากรรม การปราบปรามยาเสพติด การสำรวจและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และการฟื้นฟูภัยพิบัติสาธารณะต่าง ๆ
ผู้บังคับบัญชาระดับสูงของกองทัพอากาศพลอากาศเอก แอร์บูล สุทธิวรรณ ผู้บัญชาการทหารอากาศพลอากาศเอก สุรพล พุทธมนต์ รองผู้บัญชาการทหารอากาศ พลอากาศเอก นภาเดช ธูปะเตมีย์ ประธานคณะที่ปรึกษากองทัพอากาศ พลอากาศเอก ปราโมทย์ ศิริธรรมกุล ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ พลอากาศเอก เดชอุดม คงศรี ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศพลอากาศเอก ชานนท์ มุ่งธัญญา เสนาธิการทหารอากาศพลอากาศโท ชากร ตะวันแจ้ง รองเสนาธิการทหารอากาศพลอากาศโท พันธ์ภักดี พัฒนกุล รองเสนาธิการทหารอากาศพลอากาศโท พงษ์สวัสดิ์ จันทสาร รองเสนาธิการทหารอากาศ พลอากาศโท ชนะยุทธ รัตนกาล รองเสนาธิการทหารอากาศ พลอากาศโท ตรีพล อ่องไพฑูรย์ รองเสนาธิการทหารอากาศ
หน่วยขึ้นตรง ทอ.กองทัพอากาศ (กองบัญชาการ)แผนกสนับสนุนกองบัญชาการกองทัพอากาศศูนย์อำนวยการเครื่องบินพระราชพาหนะศูนย์อำนวยการเฮลิคอปเตอร์พระราชพาหนะศูนย์การสงครามทางอากาศสำนักงานพัฒนาระบบราชการกองทัพอากาศสำนักงานยุทธศาสตร์และหลักนิยมกองทัพอากาศ(เพื่อพลาง)สำนักงานประสานภารกิจด้านความมั่นคงกับกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรกองทัพอากาศส่วนบัญชาการสำนักงานเลขานุการกองทัพอากาศกรมสารบรรณทหารอากาศกรมกำลังพลทหารอากาศกรมข่าวทหารอากาศกรมยุทธการทหารอากาศกรมส่งกำลังบำรุงทหารอากาศกรมกิจการพลเรือนทหารอากาศกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทหารอากาศสำนักงานปลัดบัญชีทหารอากาศกรมการเงินทหารอากาศกรมจเรทหารอากาศสำนักงานตรวจสอบภายในทหารอากาศสำนักงานนิรภัยทหารอากาศสำนักงานการบินกองทัพอากาศสำนักงานพระธรรมนูญทหารอากาศศูนย์ไซเบอร์กองทัพอากาศ
ส่วนกำลังรบกรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศหน่วยบัญชาการอากาศโยธินศูนย์ปฏิบัติการทางอวกาศกองทัพอากาศโรงเรียนการบินกองบิน 1กองบิน 2กองบิน 3กองบิน 4กองบิน 5กองบิน 6กองบิน 7กองบิน 21กองบิน 23กองบิน 41กองบิน 46กองบิน 56
ส่วนส่งกำลังบำรุงกรมช่างอากาศกรมสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ทหารอากาศกรมสรรพาวุธทหารอากาศกรมแพทย์ทหารอากาศ- โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช- โรงพยาบาลจันทรุเบกษา- โรงพยาบาลทหารอากาศ(สีกัน)กรมพลาธิการทหารอากาศกรมช่างโยธาทหารอากาศกรมขนส่งทหารอากาศศูนย์ซอฟต์แวร์กองทัพอากาศส่วนการศึกษากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ- วิทยาลัยการทัพอากาศ- โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ- โรงเรียนนายทหารอากาศอาวุโส- โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง- โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับหมวด- โรงเรียนครูทหาร- โรงเรียนนายทหารชั้นประทวน- โรงเรียนจ่าอากาศ- ศูนย์ภาษา- ศูนย์ทดสอบบุคคล- กองวิทยบริการ- กองอนุศาสนาจารย์โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราชส่วนกิจการพิเศษศูนย์วิจัยพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการบินและอวกาศกองทัพอากาศกรมสวัสดิการทหารอากาศสำนักงานผู้บังคับทหารอากาศดอนเมืองสถาบันเวชศาสตร์การบินกองทัพอากาศ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหน่วยงานภาครัฐเว็บไซต์กลางบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (e-Government Portal)เว็บไซต์รัฐบาลไทยส่วนราชการสังกัดกระทรวงกลาโหมกระทรวงกลาโหมกองบัญชาการกองทัพไทยกองทัพบกกองทัพเรือ
ส่วนโรงเรียนหลักของกระทรวงกลาโหมโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าฯโรงเรียนนายเรือโรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราชโรงเรียนเตรียมทหาร
หน่วยงานบริการของกองทัพอากาศหอสมุดกองทัพอากาศกองการฌาปนกิจ ทอ.ศูนย์พัฒนากีฬากองทัพอากาศหอประชุมกองทัพอากาศโครงสร้างพื้นฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศกองทัพอากาศพิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศและการบินแห่งชาติสหกรณ์ออมทรัพย์สหกรณ์ออมทรัพย์ บก.ทอ. สมาคมสมาคมแม่บ้านทหารอากาศมูลนิธิศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมทหาร
เว็บไซต์ด้านการทหารของมิตรประเทศU.S. Air ForceRoyal Air ForceRoyal Australian Air ForceRepublic of Singapore Air Force