9465709

ตำแหน่งนักวิเทศสัมพันธ์ กรมศุลกากร

หมวดหมู่สินค้า: ข้อสอบ

11 มีนาคม 2565

ผู้ชม 36 ผู้ชม

นักวิเทศสัมพันธ์ กรมศุลกากร
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมศุลกากร
2 แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมศุลกากร
3 แนวข้อสอบ พรบ.ศุลกากร พ.ศ.2469 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
4 แนวข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายศุลกากร
5 สรุปข่าวเด่น-ความรู้ทั่วไป-เกี่ยวกับสังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง
6 แนวข้อสอบการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำนักงาน
7 แนวข้อสอบภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
8 แนวข้อสอบ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
9 ความรู้เกี่ยวกับพีธีการฑูต
10 ความรู้เกี่ยวกับงานวิเทศสัมพันธ์
11 ความสำคัญของงานวิเทศสัมพันธ์
12 เทคนิคการสอบสัมภาษณ์
MP3-P050 – เทคนิคการสอบสัมภาษณ์

แนวข้อสอบ

>รวบรวมจากผู้สอบติดอันดับต้นๆของประเทศ เจาะข้อสอบเข้างานราชการ << 

>> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ <<
>> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ <<
>> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน
 <<


 

 
 
 กรมศุลกากรกรมศุลกากร
ประวัติกรมศุลกากร กิจการภาษี หรือการศุลกากร มีมาตั้งแต่ก่อนสมัยสุโขทัยจากหลักฐาน ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง เรียกว่า "จกอบ" ในสมัยสุโขทัยมีการ ค้าขายเป็นปัจจัย ในการสร้างความมั่งคั่งของรัฐ การเก็บภาษีนี้ในช่วง ระยะเวลาหนึ่งกรุงสุโขทัย ได้มี ประกาศยกเว้นแก่ผู้มาค้าขายดัง หลักฐาน ที่ปรากฏในศิลาจารึกว่า "เมืองสุโขทัยนี้ดีในน้ำมีปลาในนามีข้าวพ่อเมือง บ่เอาจกอบในไพร่ลู่ทางเพื่อนจูงวัวไปค้าขี่ม้าไปขายใครจักใคร่ค้าช้างค้าใครจักใคร่ค้าม้าค้า"ต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุธยา หน่วยงานที่ทำหน้าที่ด้านตรวจเก็บภาษีขาเข้าขาออกเฉพาะเรียกว่า พระคลังสินค้า มีสถานที่สำหรับการภาษี เรียกว่า ขนอน เก็บภาษีจากระวางบรรทุกสินค้าและจาก สินค้าในสมัยกรุงธนบุรีบ้านเมืองอยู่ในยุคสงครามการค้าขายระหว่าง ประเทศไม่ปรากฏหลักฐาน ในทางประวัติศาสตร์
เมื่อเข้าสู่ยุครัตนโกสินทร์ ในรัชสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีการประมูลผูกขาดการเรียกเก็บภาษีอากร เรียกว่า "ระบบเจ้าภาษีนายอากร" ส่วนสถานที่เก็บภาษีเรียกว่า "โรงภาษี" ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 การติดต่อ ค้าขายกับต่างประเทศมากขึ้น มีการทำสนธิสัญญาเบาริ่งที่เกี่ยวกับ ศุลกากร คือ ยกเลิกการเก็บค่าธรรมเนียมปากเรือเปลี่ยนมาเป็นเก็บ ภาษี สินค้าขาเข้า ที่เรียกว่า "ภาษีร้อยชักสาม" ส่วนสินค้าขาออกให้เก็บตามที่ระบุในท้ายสัญญา เป็นชนิดไป มีการตั้งโรงภาษี เรียกว่า ศุลกสถาน (Customs House) ขึ้นเป็นที่ทำการศุลกากร
ยุคใหม่ของศุลกากรไทยเริ่มในปี พ.ศ. 2417 เมื่อรัชกาลที่ 5 ทรง จัดตั้ง หอรัษฎากรพิพัฒน์ เป็นสำนักงานกลางใน การรวบรวมรายได้ของแผ่นดิน งานศุลกากร ซึ่งทำหน้าที่จัดเก็บภาษีขาเข้าขาออกเป็นรายได้ของรัฐ อยู่ในความควบคุมดูแลของหอรัษฎากรพิพัฒน์ คือการก่อตั้งกรมศุลกากร งานศุลกากรได้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วความเปลี่ยน แปลงของบ้านเมืองและสถานการณ์ของโลก ได้มีการ สร้างอาคารที่ทำการใหม่ให้เหมาะสม ขึ้นแทนที่ทำการศุลกากร ที่เรียกว่าศุลกสถาน เดิมในปี 2497 นั่นคือ สถานที่ตั้งกรมศุลกากร คลองเตย ในปัจจุบันในช่วงเวลาที่ผ่านมาอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะด้านการค้าระหว่างประเทศซึ่งเดิม กรมศุลกากรมีภารกิจหลักคือจัดเก็บภาษีอากรจากของที่นำเข้ามาในและส่งออกไปนอกราชอาณาจักรเพื่อนำไปพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศและดูแลป้องกัน ปราบปรามการลักลอบหนีศุลกากรเพื่อให้การจัดเก็บภาษีอากรเป็นไปตามเป้าหมายและเกิดความ เป็นธรรมแก่ผู้ประกอบการที่สุจริต
ในปัจจุบันกรมศุลกากร ได้รับบทบาทและหน้าที่จากเดิมที่เน้นการจัดเก็บภาษีอากรจากของที่นำเข้ามาในและส่งออกไป นอกราชอาณาจักรมาเป็นการมุ่งเน้นที่จะพัฒนาส่งเสริมด้านการค้าระหว่างประเทศและการส่งออกของไทยที่มีศักยภาพ ในการแข่งขันกับตลาดการค้าของโลกได้ ควบคู่กันนั้นกรมศุลกากร ได้พัฒนาระบบงานการจัดองค์กรการ นำระบบคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการบริหารงาน ตลอดจนพัฒนา ประสิทธิภาพของข้าราชการให้มีความสอดคล้องกับความเจริญ ก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากการพัฒนาระบบงานต่างๆแล้ว กรมศุลกากรได้ปรับปรุงขยายหน่วยงานต่างๆ รองรับกับ ปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น กรมศุลกากรได้จัดสร้างอาคารที่ทำการอีกหนึ่งหลัง เป็นอาคารสำนักงานสูง 16 ชั้น เรียกว่า อาคาร 120 ปี กรมศุลกากร ทำพิธีเปิดอาคารเมื่อวันที่ 29 เมษายน 2539
วิสัยทัศน์กรมศุลกากร องค์กรศุลกากรชั้นนำ ที่มุ่งส่งเสริมความยั่งยืนของเศรษฐกิจและความปลอดภัยของสังคม ด้วยนวัตกรรมและบริการที่เป็นเลิศ
พันธกิจกรมศุลกากร - อำนวยความสะดวกทางการค้าและส่งเสริมระบบโลจิสติกส์ของประเทศ - ส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศด้วยมาตรการทางศุลกากรและข้อมูลการค้าระหว่างประเทศ - เพิ่มขีดความสามารถในการปกป้องสังคมให้ปลอดภัยด้วยระบบควบคุมทางศุลกากร - จัดเก็บภาษีอากรอย่างเป็นธรรม โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์กรมศุลกากร 1. พัฒนากระบวนงานและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่ออำนวยความสะดวกทางการค้า     เป้าประสงค์ : เพื่อให้บริการศุลกากรมีความสะดวก รวดเร็ว ทันสมัย ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงการค้าโลก 2. พัฒนามาตรการทางศุลกากรและข้อมูลการค้าระหว่างประเทศเพื่อส่งเสริมการค้าชายแดน และเชื่อมโยงการค้าโลก     เป้าประสงค์ : เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3. พัฒนาระบบควบคุมทางศุลกากรให้มีประสิทธิภาพและเชื่อมโยงกัน     เป้าประสงค์ : เพื่อให้การตรวจสอบและควบคุมทางศุลกากรมีประสิทธิภาพและสร้างสังคมปลอดภัย 4. เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการจัดเก็บภาษีโดยยึดหลักธรรมาภิบาล     เป้าประสงค์ : เพื่อให้การจัดเก็บภาษีเป็นไปตามเป้าหมายและสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้เสียภาษี 5. พัฒนาสมรรถนะบุคลากรและการบริหารจัดการองค์กร     เป้าประสงค์ : เพื่อให้องค์กรมีคุณภาพ บุคลากรมีความเชี่ยวชาญ คุณธรรม และความสุข สามารถขับเคลื่อนกรมศุลกากรให้บรรลุเป้าหมาย
ค่านิยมองค์กร I - Integrity : ความสุจริต S - Service Mind/Self-esteem : จิตบริการ M - Modernization : ความทันสมัย I - Innovation : นวัตกรรม L - Learning : การเรียนรู้ E - Expert : ความเชี่ยวชาญ
อำนาจหน้าที่ 1 หน้าที่และอำนาจของกรมศุลกากร 23 กุมภาพันธ์ 2564 13:48:36 4,453 2 กฎกระทรวง เรื่อง แบ่งส่วนราชการกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง พ.ศ. 2562 21 พฤษภาคม 2562 10:39:23 9,378 3 กฎกระทรวง เรื่อง แบ่งส่วนราชการกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง พ.ศ. 2551 21 พฤษภาคม 2562 10:39:14 2,695 4 กฎกระทรวง เรื่อง แบ่งส่วนราชการกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 21 พฤษภาคม 2562 10:39:04 2,309 5 กฎกระทรวง เรื่อง แบ่งส่วนราชการกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง พ.ศ. 2545
ข้อมูลผู้บริหารนายพชร อนันตศิลป์ อธิบดีกรมศุลกากรนายชูชัย อุดมโภชน์ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาระบบสิทธิประโยชน์ทางศุลกากรนายชัยยุทธ คำคุณ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาระบบควบคุมทางศุลกากรนายกิตติ สุทธิสัมพันธ์ ที่ปรึกษาด้านการพัฒนาและบริหารการจัดเก็บภาษีนายสรศักดิ์ มีนะโตรี รองอธิบดีนายพันธ์ทอง ลอยกุลนันท์ รองอธิบดีนายกรีชา เกิดศรีพันธุ์ รองอธิบดีนายชัยฤทธิ์ แพทย์สมาน รองอธิบดีนายสมบัติ พัฒนมาศ ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารนายสุรเดช ตรงศิริวิบูลย์ ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรตรวจสินค้าลาดกระบังนายภาคภูมิ เลิศวัฒนารักษ์ ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรท่าอากาศยานดอนเมืองนายกฤษฎา ทองธรรมชาติ ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรกรุงเทพนายธวัช เพ่งพินิจ ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรภาคที่ 3นางวิไล พันธ์ภูวภัทร ผู้อำนวยการกองตรวจสอบอากรนางสาวอัจฉรา ลอตินันทน์ ผู้อำนวยการ กองมาตรฐานพิธีการและราคาศุลกากรนายวรพัฒน์ เชาว์วิศิษฐ ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรตรวจของผู้โดยสาร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมินายยุทธนา พูลพิพัฒน์ ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรภาคที่ 4นางสาวนิตยา เที่ยงตรงภิญโญ ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงานนายพงศ์เทพ บัวทรัพย์ ผู้อำนวยการกองสืบสวนและปราบปรามนายศิริชัย คุณาบุตร ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรภาคที่ 2นายถวัลย์ รอดจิตต์ ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรท่าเรือแหลมฉบังนายจักกฤช อุเทนสุต ผู้อำนวยการกองบริหารจัดการและพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลการนำเข้า ส่งออก และโลจิสติกส์นางกิจจาลักษณ์ ศรีนุชศาสตร์ ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรตรวจสินค้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมินายวิศณุ วัชราวนิช เลขานุการกรมนางกฤติกา ปั้นประเสริฐ ผู้อำนวยการกองสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรว่าง ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากร ภาคที่ 5นายบุญมา สิริธรังศรี ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรท่าเรือกรุงเทพนายเอก สาตรวาหา ผู้อำนวยการกองพิกัดอัตราศุลกากรนางสาวภัทริยา กุลชล ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรมาบตาพุดนายธาดา ชุมไชโย ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรภาคที่ 1นางมาลี สุมโนทยาน ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหารนางนันท์ฐิตา ศิริคุปต์ ผู้อำนวยการกองบริหาร ทรัพยากรบุคคลนายศศิน ปงรังษี ผู้อำนวยการกองกฎหมายนางขนิษฐา โพธิยอด ผู้อำนวยการศูนย์ประมวลข้อมูลการข่าวทางศุลกากรนางสุมาลี ดลสุขวงศาวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน
กรมศุลกากร เลขที่ 1 ถ.สุนทรโกษา คลองเตย กทม. 10110หมายเลขโทรศัพท์ : 0-2667-7600อีเมล์ : 64070000@customs.go.th
Engine by shopup.com