7914457

ไข 4 ข้อสงสัย เกี่ยวกับ ‘อาหารแช่แข็ง’

03 มีนาคม 2565

ผู้ชม 187 ผู้ชม

จ๊วด ฟิต แข็ง  โรงงานผลิตอาหารแช่แข็งทุกชนิด แฟรนไชส์อาหารแช่แข็ง เดลิเวอรี วิ่งส่งตามบ้านในชุมชน มองหาแฟรนไชส์ไม่ซ้ำใคร เริ่มง่าย น่าลงทุน กำไรสูง มีเว็บไซต์ให้ และสอนการทำตลาดผ่าน facebook และ Line
วัตถุดิบร้านเนื้อย่างบุฟเฟ่ต์
เมนูอาหาร
เมนูอาหารว่าง
วัตถุดิบร้านอาหาร
วัตถุดิบหมูกระทะ 
วัตถุดิบร้านชาบู
วัตถุดิบเมนูอาหารคลีน
วัตถุดิบเมนูตามสั่ง 
วัตถุดิบเมนูข้าวกล่อง
วัตถุดิบเมนูข้าวแกง

          ติดต่อสอบถาม



ไข 4 ข้อสงสัย เกี่ยวกับ ‘อาหารแช่แข็ง

1.การบริโภคอาหารแช่แข็งบ่อยๆ ไม่ดีต่อสุขภาพ
 
ดร.ภมรินทร์ กล่าวว่า อาหารแช่แข็งเป็นอาหารที่ผ่านกระบวนการลดอุณหภูมิลงต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง ซึ่งเป็นการใช้ความเย็นในการถนอมอาหาร ดังนั้น สารอาหารต่างๆ จะยังคงอยู่ครบถ้วน และด้วยอุณหภูมิการเก็บรักษาที่ต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง ทำให้อาหารประเภทนี้ไม่จำเป็นต้องเติมสารกันบูด หรือสารกันเสียใดๆ
 
“โดยทั่วไปผู้บริโภคอาจพบอาหารแช่แข็งได้ 2 ประเภท คือ 1.ประเภทวัตถุดิบทั่วไป เช่น เนื้อสัตว์หรืออาหารทะเลแช่แข็ง หรือผักตัดแต่งแช่แข็ง โดยมากอาหารแช่แข็งในกลุ่มนี้จะถูกนำไปปรุงอีกครั้งหนึ่งก่อนรับประทาน 2.ประเภทอาหารแช่แข็งแบบพร้อมรับประทาน อาหารประเภทนี้ถูกปรุงสุกมาแล้ว และมักจะถูกนำไปอุ่นในเตาไมโครเวฟทั้งภาชนะก่อนรับประทาน ซึ่งอาหารแช่แข็งในกลุ่มนี้จะถูกมองว่าอันตราย อันเนื่องมาจากภาชนะ ซึ่งในความเป็นจริง ภาชนะพลาสติกที่ถูกเลือกนำมาใช้กับอาหารประเภทนี้จะมีคุณสมบัติที่ทนต่อสภาวะอุณหภูมิต่างๆ ตั้งแต่ที่อุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง จนถึงอุณหภูมิสูงที่ทำให้อาหารร้อนในไมโครเวฟ แต่ภาชนะพลาสติกประเภทนี้เหมาะกับการใช้ในการอุ่นอาหารเพียงครั้งเดียวเท่านั้น” ดร.ภมรินทร์กล่าว
 
2.ทำไมอาหารแช่แข็งมีอายุการเก็บรักษานานกว่าอาหารสด
 
ดร.ภมรินทร์ บอกว่า ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจก่อนว่า การเน่าเสียของอาหารเกิดจากการที่อาหารถูกแปรสภาพไปจากสภาวะปกติ ทำให้ไม่สามารถบริโภคได้ ตัวแปรหลักที่ทำให้อาหารถูกแปรสภาพไป ได้แก่ จุลินทรีย์, ความชื้น, อุณหภูมิ และปฏิกิริยาทางเคมี
 
“โดยปกติแล้ว อาหารแช่แข็งจะถูกเก็บที่อุณหภูมิ -18 องศาเซลเซียส ซึ่งน้ำในเนื้อเยื่อของอาหารจะอยู่ในสภาพที่เป็นน้ำแข็ง ซึ่งจุลินทรีย์ในอาหารไม่สามารถนำไปใช้ได้ ดังนั้น สภาพแวดล้อมจึงไม่เอื้ออำนวยในการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ และการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีต่างๆ ในอาหาร จึงทำให้อาหารแช่แข็งจึงอาจเก็บได้นานกว่าอาหารสด” ดร.ภมรินทร์กล่าว และว่า การแช่แข็งไม่ได้ช่วยฆ่าจุลินทรีย์ แต่ถ้าผลิตภัณฑ์นั้นผ่านกระบวนการให้ความร้อน เช่น ลวก นึ่ง ต้ม ก่อนนำมาแช่แข็ง เช่น แครอตลวกแช่แข็ง จุลินทรีย์จะถูกฆ่าในกระบวนการให้ความร้อนนั่นเอง และอาจมีสารอาหารที่ไม่ทนต่อความร้อนสูญเสียไปได้ในขั้นตอนนี้
 
3.อาหารทุกประเภทนำไปแช่แข็งได้
 
ในประเด็นนี้ ดร.ภมรินทร์กล่าวว่า การแช่แข็งอาจไม่เหมาะกับอาหารบางประเภท เช่น ผักต่างๆ หรือผลไม้ที่มีน้ำเป็นองค์ประกอบสูง เช่น ผักสลัด แตงกวา แตงโม ส้ม เป็นต้น เพราะการแช่แข็งเป็นการทำให้น้ำในอาหารเปลี่ยนเป็นน้ำแข็ง ผลึกน้ำแข็งจะมีขนาดใหญ่ขึ้น ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหายในเซลล์ของอาหาร เมื่อผักหรือผลไม้นั้้นละลายแล้ว จึงทำให้รู้สึกว่าเนื้อสัมผัสเปลี่ยนไป เช่น อาจมีเนื้อเละ หรือสูญเสียความกรอบอาหารที่มีน้ำและไขมันเป็นองค์ประกอบสูงก็ไม่เหมาะแก่การแช่แข็ง เพราะจะเกิดการแยกชั้นของน้ำเมื่อนำมาละลายที่อุณหภูมิห้อง เช่น นม ครีม โยเกิร์ต น้ำสลัด เป็นต้น
 
“ทั้งนี้ ขนาดของผลึกน้ำแข็งในอาหารก็ขึ้นกับความเร็วในการลดอุณหภูมิของอาหาร ถ้ากระบวนการแช่แข็งเกิดขึ้นอย่างช้าๆ เช่น ในช่องแช่แข็งของตู้เย็นตามบ้าน เกล็ดน้ำแข็งที่เกิดขึ้นจะมีผลึกขนาดใหญ่ ซึ่งจะสามารถทำให้เกิดความเสียหายต่อเซลล์ หรือโครงสร้างของอาหารได้ ตัวอย่างเช่น ลูกชิ้นปลา ก่อนนำไปแช่แข็งมีเนื้อสัมผัสเนียน แต่เมื่อนำไปแช่แข็งแล้ว เอามาละลาย จะเห็นเป็นรูพรุนของโพรงอากาศ เนื้อสัมผัสไม่แน่น ซึ่งนั่นก็เกิดจากการที่น้ำในลูกชิ้นปลาเปลี่ยนเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดใหญ่เมื่อนำไปแช่แข็ง และเกิดการละลายเมื่อนำมาไว้ที่อุณหภูมิห้อง แล้วทำให้ลูกชิ้นปลาเกิดรูทั่วชิ้นนั่นเอง” ดร.ภมรินทร์กล่าว และว่า ดังนั้น ในการแช่แข็งอาหาร จึงต้องคำนึงถึงลักษณะของอาหาร ปริมาณน้ำในอาหาร ขนาดของชิ้นอาหาร และความเร็วในการลดอุณหภูมิของอาหาร
 
4.ละลายอาหารแช่แข็งโดยการนำไปแช่น้ำ
 
ดร.ภมรินทร์กล่าวว่า วิธีที่แนะนำในการละลายอาหารแช่แข็งประเภทวัตถุดิบ เช่น เนื้อสัตว์ หรืออาหารทะเลแช่แข็ง คือ แบ่งอาหารในปริมาณที่ต้องการใช้มาไว้ในช่องแช่เย็นธรรมดาล่วงหน้าประมาณ 1 คืน เพื่อหลีกเลี่ยงการนำไปแช่แข็งใหม่ของอาหารส่วนที่เราไม่ได้ใช้ จะได้ไม่เกิดผลึกน้ำแข็งขนาดใหญ่ ซึ่งจะทำให้ลักษณะเนื้ออาหารเสีย และไม่มีปริมาณน้ำส่วนเกินที่เกิดจากการละลาย ส่วนอาหารแช่แข็งสำเร็จรูปพร้อมรับประทาน อาจไม่จำเป็นต้องนำไปละลายเพื่อคืนสภาพก่อนนำไปอุ่นร้อน ทั้งนี้ สามารถทำตามคำแนะนำบนบรรจุภัณฑ์ของอาหารนั้นได้เลย
 
ดร.ภมรินทร์ยังบอกอีกว่า การแช่แข็งเป็นการช่วยชะลอการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์เท่านั้น ความเย็นไม่ได้ช่วยฆ่าจุลินทรีย์ในอาหาร ดังนั้นเมื่อ ละลายอาหารแล้ว จุลินทรีย์ที่อยู่ในอาหารสามารถกลับมาเจริญเติบโตได้อีกครั้ง หากมีสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมแก่จุลินทรีย์ชนิดนั้น ดังนั้น นำอาหารมาละลายเท่าที่ต้องการจะบริโภคจะดีกว่า
 
เคล็ดลับการแช่แข็งอาหารอย่างปลอดภัยและมีคุณภาพ
สำหรับผู้ที่ต้องการทำอาหารล่วงหน้าสำหรับมื้อต่อไปหรือเก็บไว้นาน ๆ การแช่แข็งอาหารในตู้เย็นเป็นวิธีการเก็บรักษาอาหารที่ค่อนข้างมีความปลอดภัยสูง แต่หากใช้วิธีการแช่แข็งที่ไม่เหมาะสมก็อาจนำมาซึ่งรสชาติและรสสัมผัสอันไม่พึงประสงค์เมื่อรับประทาน การแช่แข็งอาหารจะต้องคำนึงถึงหลักต่าง ๆ ดังนี้
 
- ป้องกันความเสียหายของอาหารด้วยสุญญากาศ
- ป้องกันการสูญเสียความชื้น
- ป้องกันการเกิดอาหารเป็นพิษในระหว่างที่เพิ่งทำเสร็จและอาหารเริ่มเย็นลง
- ป้องกันการติดกลิ่นจากอาหารชนิดอื่น ๆ
- จัดการพื้นที่ในตู้แช่แข็งได้อย่างเหมาะสมและชาญฉลาด
 
การจะเก็บรักษาอาหารได้ตามหลักข้างต้นต้องบรรจุอาหารในหีบห่อภาชนะและเก็บรักษาอย่างเหมาะสม ซึ่งมีข้อแนะนำดังต่อไปนี้
 
- ไล่อากาศในภาชนะที่ใช้สำหรับใส่อาหารแช่แข็งออกไปให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ และควรใช้ภาชนะที่พอดีกับปริมาณอาหาร หรือในกรณีที่ใช้ถุงแช่แข็ง พยายามบีบลมออกให้หมดก่อนจะปิดปากถุงให้สนิท
- อาหารประเภทเนื้อสัตว์หรืออาหารที่ผ่านการอบควรห่อให้แน่นหนาด้วยแผ่นฟอยล์ห่ออาหาร ก่อนจะใส่ไว้ในถุงแช่แข็งอีกที ส่วนการแช่เนื้อสัตว์ตามซูเปอร์มาร์เก็ตทั่วไปที่ใช้โฟมห่อด้วยพลาสติกนั้นไม่อาจช่วยกักเก็บความเย็นจากตู้แช่ได้ดีพอ โดยเนื้อที่แช่ตามวิธีการนี้ควรนำมาทำอาหารภายในประมาณ 1 เดือน เพราะอาจเก็บไว้ได้ไม่นานกว่านั้น ทั้งนี้ เนื้อสัตว์ไม่จำเป็นต้องล้างก่อนแช่ หากสังเกตเห็นว่าภาชนะหรือบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แช่มีรอยฉีกขาดหรือรั่วขณะที่แช่ไว้ในตู้แช่แข็ง อาหารชนิดนั้นก็ยังปลอดภัยและสามารถนำมาใช้ได้อยู่ เพียงแค่นำออกมาห่อปิดรอยรั่วอีกชั้นหรือเปลี่ยนภาชนะเสียก่อน
- อาหารต่าง ๆ ที่ต้องการเก็บไว้ล่วงหน้าควรแช่แข็งอย่างเร็วที่สุดเพื่อป้องกันการเติบโตของเชื้อแบคทีเรียซึ่งจะส่งผลให้อาหารเน่าเสีย นอกจากนี้ การแช่แข็งอย่างรวดเร็วยังช่วยป้องกันการจับตัวเป็นก้อนน้ำแข็งขนาดใหญ่ เพราะจะทำให้โมเลกุลไม่มีเวลามากพอในการสร้างเกล็ดน้ำแข็ง ในขณะที่การแช่แข็งอย่างช้า ๆ นั้นทำให้เกิดก้อนน้ำแข็งจับตัวขนาดใหญ่ ซึ่งจะสร้างความเสียหายต่อเซลล์และไม่เป็นเนื้อเดียวกันเมื่อละลายออกมา ส่งผลให้เนื้อมีหยดของเหลวออกมาและสูญเสียความชุ่มฉ่ำของเนื้อ หรือหากเป็นอาหารจำพวกมายองเนสหรือครีมก็อาจเกิดการแยกตัวกลายเป็นไข
- อาหารที่มีความหนาประมาณ 2 นิ้วควรถูกแช่แข็งอย่างสมบูรณ์ภายใน 2 ชั่วโมง หากตู้แช่แข็งมีช่องแช่แข็งอย่างเร็วก็ควรแช่อาหารในช่องนี้ก่อน และอย่าแช่ซ้อนในช่องเดียวกันทีละมาก ๆ ควรแบ่งแช่ช่องอื่นเพียงชั้นเดียวจนแข็งดีก่อน จึงจะเหมาะสมที่จะนำภาชนะมาซ้อนกันได้ และไม่ควรใช้ภาชนะสำหรับแช่แข็งที่มีขนาดใหญ่เกินไป การบรรจุที่พอดีควรดูให้อาหารมีความหนาไม่เกินกว่า 3 นิ้วในภาชนะบรรจุอาหาร
- เมื่ออาหารปรุงสุกเรียบร้อยควรทำให้เย็นลงทันที โดยวางกระทะที่มีอาหารลงบนภาชนะขนาดใหญ่ที่มีน้ำแข็งหรือน้ำใส่น้ำแข็ง คอยขยับกระทะหรือคนบ่อย ๆ เพื่อให้ความเย็นกระจายไปสู่อาหารอย่างทั่วถึง ก่อนจะรีบนำไปแช่เย็น
- เขียนป้ายติดฉลากบอกวันที่ไว้บนถุงหรือภาชนะแช่แข็งเสมอ
- เก็บอาหารที่ต้องการแช่แข็งไว้ในบริเวณส่วนที่เย็นที่สุดของตู้แช่จนกว่าอาหารจะถูกแช่แข็งอย่างเต็มที่
- กรณีใช้ตู้เย็นแล้วมีช่องแช่ที่อุณหภูมิไม่ถึง 0 องศาเซลเซียสหรือมีการเปิดตู้บ่อยครั้ง ควรใช้แช่เฉพาะอาหารที่จะนำมาใช้หรือรับประทานในไม่ช้า โดยควรรับประทานให้เร็วที่สุดเพื่อให้คุณภาพของอาหารยังอยู่ในระดับดี ส่วนอาหารที่ต้องการเก็บไว้นานนั้นต้องแช่ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียสลงไป และควรมีเทอร์โมมิเตอร์สำหรับวัดอุณหภูมิในช่องแช่แข็ง โดยเฉพาะกรณีที่ประสบปัญหาไฟฟ้าดับหรือไฟฟ้าถูกตัดบ่อยครั้ง
- การละลายอาหารแช่แข็งด้วยการวางไว้ที่อุณหภูมิห้องใช้ได้เฉพาะกับอาหารประเภทขนมปังและขนมที่ผ่านการอบ เช่น คุกกี้ เค้ก แต่วิธีละลายอาหารแช่แข็งชนิดอื่น ๆ อย่างปลอดภัยควรทำในตู้เย็น ละลายในน้ำเย็น หรือละลายโดยใช้โหมดทำละลายของไมโครเวฟ อย่างไรก็ตาม ถ้าจะให้ปลอดภัยที่สุดก็คือการละลายในตู้เย็น ควรวางแผนล่วงหน้า อาหารชิ้นเล็กอาจใช้เวลาละลายในตู้เย็นเพียง 1 คืน แต่อาหารส่วนใหญ่มักต้องรอ 1-2 วัน ส่วนอาหารชิ้นใหญ่ เช่น ไก่หรือเป็ดทั้งตัว อาจใช้เวลานานกว่านั้น อาหารทุก ๆ 2 กิโลกรัมกว่าจะใช้เวลาละลายประมาณ 1 วัน และอย่าละลายอาหารแช่แข็งในที่ที่เสี่ยงต่ออันตรายจากการได้รับเชื้อโรคต่าง ๆ เช่น ในอ่างล้างจาน บริเวณนอกตัวบ้าน หรือบนแผงขายเนื้อสัตว์
- พยายามรับประทานอาหารที่แช่แข็งไว้ให้หมดภายใน 2-3 เดือน
- หากแช่แข็งอาหารที่มีส่วนประกอบของนม เมื่อละลาย นมอาจเกิดการแยกตัวได้ ส่วนชีสนั้นจะยังคงรสชาติและลักษณะเดิมเมื่อละลาย แต่ชีสที่เป็นส่วนผสมในอาหารอื่น ๆ ที่แช่แข็งบางชนิดอาจมีเนื้อร่วนหลังจากละลายแล้ว โดยเฉพาะบลูชีส รวมถึงครีมชีสและคอตเทจชีสที่อาจมีรสชาติและรสสัมผัสแย่ที่สุดหลังจากผ่านการแช่แข็งเมื่อเทียบกับชีสชนิดอื่น ๆ
- หากต้องการให้อาหารละลายเร็วขึ้นควรใช้พลาสติกที่ไม่มีรอยรั่วหุ้มอาหารไว้แล้วนำไปละลายในน้ำเย็น แต่ต้องระวังไม่ให้ถุงรั่วเพราะจะทำให้เชื้อแบคทีเรียจากอากาศและสภาพแวดล้อมภายนอกเข้าสู่อาหารได้ และคอยเปลี่ยนน้ำให้เย็นอยู่ตลอดเวลาหรือทุก 30 นาที จากนั้นให้นำอาหารที่ละลายแล้วไปปรุงให้สุกทันที
 
อาหารแช่แข็งเก็บรักษาได้นานแค่ไหน
อาหารแช่แข็งสำเร็จรูปแต่ละชนิดมีระยะเวลาในการเก็บรักษาที่แตกต่างกัน ก่อนซื้อหรือรับประทานควรตรวจดูวันหมดอายุเสมอ ส่วนอาหารแช่แข็งทั่วไปจะมีช่วงระยะเวลาที่คงคุณภาพสูงสุด ดังนี้
 
- เบคอน แฮม และไส้กรอก เก็บได้ 1-2 เดือน
- ซุปและอาหารที่ผ่านการเคี่ยว เก็บได้ 2-3 เดือน
- อาหารสำเร็จรูปแช่แข็ง เก็บได้ 3-4 เดือน
- เนื้อสดชิ้นใหญ่ เก็บได้ 4-12 เดือน
- เนื้อสดบด เก็บได้ 3-4 เดือน
- เนื้อหมูหรือเนื้อวัวที่สุกแล้ว เก็บได้ 2-3 เดือน
- เนื้อเป็ดไก่สดทั้งตัว เก็บได้ 12 เดือน
- เนื้อเป็ดไก่สดหั่นเป็นชิ้น เก็บได้ 9 เดือน
- เครื่องในเป็ดไก่สด เก็บได้ 3-4 เดือน
- เนื้อเป็ดไก่ที่สุกแล้ว เก็บได้ 4 เดือน
- ไข่ขาว เก็บได้ 12 เดือน
- เนื้อสัตว์ป่าสด เก็บได้ 8-12 เดือน
 
สำหรับอาหารชนิดอื่นที่ไม่ได้กล่าวถึง มีวิธีการตรวจสอบคุณภาพด้วยการทำให้ละลาย หากดมแล้วพบว่าเริ่มส่งกลิ่นไม่พึงประสงค์ควรทิ้งทันที ทั้งนี้วัตถุดิบบางชนิดที่ดูมีลักษณะไม่ดีเหมือนเคย แต่น่าจะยังมีคุณภาพในระดับที่รับประทานได้ สามารถลองนำมาใช้ประกอบในซุปหรืออาหารที่มีการเคี่ยว และหากมีบางส่วนของอาหารถูกอากาศจนเกิดรอยช้ำหรือคุณภาพเสียหายจนมีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาลอมเทาบนผิวหนังให้ตัดบริเวณดังกล่าวออก ส่วนอาหารสดแช่แข็งที่นำมาทำให้สุกแล้วรู้สึกว่ารสชาติยังใช้ได้อยู่ก็สามารถรับประทานได้เช่นกัน


เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเชียงราย 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเชียงใหม่ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งน่าน 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพะเยา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งแพร่ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งแม่ฮ่องสอน 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งลำปาง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งลำพูน 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งอุตรดิตถ์
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งกาฬสินธุ์ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งขอนแก่น 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งชัยภูมิ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งนครพนม 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งนครราชสีมา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบึงกาฬ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบุรีรัมย์ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งมหาสารคาม 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งมุกดาหาร 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งยโสธร 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งร้อยเอ็ด 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเลย 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสกลนคร 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสุรินทร์ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งศรีสะเกษ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งหนองคาย 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งหนองบัวลำภู 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งอุดรธานี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งอุบลราชธานี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งอำนาจเจริญ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งกำแพงเพชร 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งชัยนาท 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งนครนายก 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งนครปฐม 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งนครสวรรค์ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งนนทบุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งปทุมธานี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพระนครศรีอยุธยา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพิจิตร 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพิษณุโลก 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเพชรบูรณ์ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งลพบุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสมุทรปราการ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสมุทรสงคราม 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสมุทรสาคร 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสิงห์บุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสุโขทัย 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสุพรรณบุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสระบุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งอ่างทอง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งอุทัยธานี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งจันทบุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งฉะเชิงเทรา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งชลบุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งตราด 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งปราจีนบุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งระยอง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสระแก้ว 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งกาญจนบุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งตาก 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งประจวบคีรีขันธ์ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเพชรบุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งราชบุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งกระบี่ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งชุมพร 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งตรัง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งนครศรีธรรมราช 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งนราธิวาส 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งปัตตานี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพังงา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพัทลุง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งภูเก็ต 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งระนอง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสตูล 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสงขลา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสุราษฎร์ธานี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งยะลา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งกรุงเทพมหานคร
 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งคลองสาน 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งคลองสามวา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งคลองเตย
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งคันนายาว 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งจอมทอง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งดอนเมือง
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งดินแดง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งดุสิต 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งตลิ่งชัน 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งทวีวัฒนา
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งทุ่งครุ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งธนบุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางกอกน้อย
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางกอกใหญ่ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางกะปิ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางคอแหลม
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางซื่อ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางนา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางพลัด 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางรัก
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางเขน 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางแค 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบึงกุ่ม 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งปทุมวัน
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งประเวศ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งป้อมปราบศัตรูพ่าย 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพญาไท
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพระนคร 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพระโขนง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งภาษีเจริญ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งมีนบุรี
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งยานนาวา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งราชเทวี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งราษฎร์บูรณะ
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งลาดกระบัง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งลาดพร้าว 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งวังทองหลาง
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งวัฒนา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสวนหลวง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสะพานสูง
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสัมพันธวงศ์ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสาทร 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสายไหม
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งหนองจอก 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งหนองแขม 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งหลักสี่ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งห้วยขวาง
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเมืองนครปฐม 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งกำแพงแสน 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งดอนตูม
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งนครชัยศรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางเลน 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพุทธมณฑล 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสามพราน
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเมืองนนทบุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางกรวย 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางบัวทอง
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางใหญ่ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งปากเกร็ด 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งไทรน้อย
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเมืองปทุมธานี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งคลองหลวง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งธัญบุรี
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งลาดหลุมแก้ว 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งลำลูกกา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสามโคก 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งหนองเสือ
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเมืองสมุทรปราการ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางพลี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางเสาธง
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพระประแดง
 เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพระสมุทรเจดีย์
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเมืองระยอง
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งนิคมพัฒนา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเขาชะเมา
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบ้านฉาง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งปลวกแดง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งวังจันทร์ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งแกลง
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเมืองชลบุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเกาะจันทร์ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางละมุง
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบ่อทอง  
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบ้านบึง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพนัสนิคม
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพานทอง
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งศรีราชา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสัตหีบ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งหนองใหญ่ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเกาะสีชัง
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเมืองสมุทรสาคร 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งกระทุ่มแบน 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบ้านแพ้ว 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งมหาชัย
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเมืองสมุทร
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งอัมพวา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางคนที
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเมืองราชบุรี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบ้านคา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งจอมบึง
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งดำเนินสะดวก 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางแพ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบ้านโป่ง
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งปากท่อ
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งวัดเพลง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสวนผึ้ง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งโพธาราม
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเมืองฉะเชิงเทรา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งคลองเขื่อน 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งท่าตะเกียบ 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางคล้า
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางน้ำเปรี้ยว 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบางปะกง 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบ้านโพธิ์
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งพนมสารคาม
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งราชสาส์น 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งสนามชัยเขต 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งแปลงยาว
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งเมืองนครนายก 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งปากพลี 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งบ้านนา 
เเฟรนไชส์อาหารแช่แข็งองครักษ์
 
Engine by shopup.com