รับจัดพิธีสงฆ์ พิธีพราหมณ์ ทำบุญบ้าน บริษัท ทำบุญเลี้ยงพระ จัดเครื่องไหว้ จัดบวงสรวง บายศรี ตั้งศาลพระภูมิ เสาหลัก ถอนศาลวางศิลาฤกษ์ ปรับฮวงจุ้ยบ้าน ดอกไม้หน้าศพ หน้าเมรุ ซุ้มดอกไม้งานแต่ง ผลงานของเรา
ทำบุญบริษัท
ตั้ง/รื้อศาลพระภูมิ
วางศิลาฤกษ์
ปรับฮวงจุ้ยบ้าน
รับทำบายศรี
พิธีทำบุญงานมงคลและงานอวมงคล
การทำบุญในพระพุทธศาสนา มี ๒ อย่าง ได้แก่
๑. ทำบุญในงานมงคล ได้แก่ การทำบุญในโอกาสต่าง ๆ เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและญาติสนิทมิตรสหาย เช่น การทำบุญขึ้นบ้านใหม่ การแต่งงาน เป็นต้น
๒. ทำบุญในงานอวมงคล ได้แก่ การทำบุญเพื่อความสุขความเจริญแก่ผู้อื่นที่ตนควรสงเคราะห์หรือที่ควรบูชา การทำบุญเกี่ยวกับการตาย เช่น การทำบุญหน้าศพ การทำบุญอัฐิบรรพบุรุษ เป็นต้น
บุญพิธีทั้ง ๒ ประเภทนี้นิยมนิมนต์พระภิกษุสงฆ์มาสวดพระพุทธมนต์, เจริญพระพุทธมนต์, เลี้ยงพระและถวายไทยธรรม ฉะนั้นจึงมีผู้เกี่ยวข้องในการปฏิบัติเป็น ๒ ฝ่ายคือ
ผู้ทำบุญ เรียกว่า เจ้าภาพ หมายถึง ผู้ที่จะทำบุญ, หรือผู้ทำบุญ หรือผู้ที่เป็นฝ่ายให้
ผู้ประกอบพิธีกรรม หรือเรียกว่า ฝ่ายภิกษุสงฆ์ หรือผู้ที่เป็นฝ่ายรับ
๑. ทำบุญงานมงคล หมายถึง การทำบุญเพื่อความเจริญโดยปรารถนาสิ่งที่ดี ในงานทำบุญงานมงคล เช่น งานทำบุญวันเกิด, งานทำบุญเลี้ยงพระ, งานมงคลสมรส และงานขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น การทำบุญงานมงคลพิธีฝ่ายเจ้าภาพ ผู้ที่จะทำบุญเนื่องในงานมงคลต่าง ๆ นั้น เบื้องต้นจะต้องตระเตรียมกิจการต่าง ๆ ดังนี้
๑. อาราธนาเชิญพระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์
๒. ตระเตรียมที่ตั้งพระพุทธรูป พร้อมเครื่องบูชา
๓. ตกแต่งสถานที่บริเวณพิธี
๔. วงด้ายสายสิญจน์
๕. อัญเชิญพระพุทธรูปมาตั้งบนแท่นบูชา
๖. ปูเสื่ออาสนะสำหรับพระสงฆ์
๗. เตรียมเครื่องรับรองพระสงฆ์ตามสมควรแก่ฐานะ เช่น น้ำดื่ม หรืออื่นๆ
๘. ตั้งภาชนะสำหรับทำน้ำมนต์
๙. ตระเตรียมวัตถุไทยธรรมและอาคารคาวหวานตามสมควร เพื่อถวายแด่พระสงฆ์ที่เจ้าภาพได้อาราธนานิมนต์ไว้
กิจที่ฝ่ายเจ้าภาพจะต้องปฏิบัติ คือ
๑. เมื่อพระสงฆ์มาพร้อมแล้ว เจ้าภาพนิมนต์พระสงฆ์นั่งยังอาสนะที่จัดไว้
๒. ประเคนเครื่องรับรองที่จัดเตรียมไว้
๓. เมื่อได้เวลาแล้วจุดธูปเทียนที่โต๊ะบูชา บูชาพระแล้วกราบนมัสการแบบเบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครั้ง
๔. อาราธนาศีล และรับศีล
๕. ต่อจากรับศีลก็อาราธนาพระปริตร เสร็จแล้วไหว้หรือกราบแล้วแต่กรณี
๖. นั่งฟังพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์
๗. เมื่อจบแล้ว เตรียมยกภัตตาหารมาตั้งไว้ พร้อมแล้วประเคนให้พระฉันได้ทันที
๘. เมื่อพระภิกษุสงฆ์ฉันอิ่มแล้ว ก็ถวายไทยธรรม
๙. กรวดน้ำแผ่ส่วนกุศลแก่สรรพสัตว์ (พอพระสงฆ์กล่าวบทว่า ยถา……… ให้เริ่มกรวดน้ำให้เสร็จก่อนจบบทว่า ยถา… และเมื่อพระสงฆ์รับว่า สัพพีติโย…………. พร้อมกัน ให้ประนมมือรับพรตลอดจนจบ)
๑๐. ส่งพระภิกษุเดินทางกลับ เป็นอันเสร็จพิธี
ข้อแนะนำ :
๑. การอาราธนาพระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ นิยมจำนวนคี่ คือ ๕ – ๗ – ๙ รูป ส่วนงานแต่งงานนิยมจำนวนคู่ คือ ๘ รูป และพิธีหลวงนิยมนิมนต์จำนวนคู่ คือ ๑๐ รูป เป็นต้น
๒. ที่ตั้งพระพุทธรูปพร้อมทั้งเครื่องบูชา ควรใช้โต๊ะหมู่ ๕ – ๗ – ๙ ถ้าหาไม่ได้ก็ใช้โต๊ะอื่นที่เหมาะสมแทนได้ ควรปูด้วยผ้าสีขาวหรือผ้าสีที่สะอาด (ถ้าไม่เคยใช้เลยเป็นดีที่สุด) อย่านำผ้าที่นุ่งห่มหรือมาใช้ปูโต๊ะเป็นอันขาด
๓. ของบนโต๊ะหมู่บูชา ควรมี ♦ พระพุทธรูป ๑ องค์
♦ กระถางธูป ๑ ใบ
♦ เชิงเทียน ๒ อัน
♦ แจกันดอกไม้สด ๒ ใบ (สามารถเพิ่มเติมอะไรที่สมควรให้มากกว่านี้ได้)
การตั้งพระพุทธรูปควรตั้งให้อยู่ทางขวามือของพระสงฆ์ หันพระพักตร์ไปทางทิศเดียวกันกับพระสงฆ์
๔. สถานที่บริเวณพิธีต้องให้สะอาด เรียบร้อย และสวยงาม เพื่อความเป็นสิริมงคล
๕. วงด้ายสายสิญจน์ จับให้เป็น ๓ เส้น แล้วจับอีกครั้งให้เป็น ๙ เส้น การวงด้ายสายสิญจน์ควรโยงมาจากฐานพระพุทธรูปวนขวารอบฐานพระพุทธรูปโยงมาที่ บาตรหรือภาชนะน้ำมนต์ สุดท้ายให้วนขวาที่ภาชนะน้ำมนต์วางไว้บนพาน ตั้งใกล้อาสนะพระเถระผู้เป็นประธานในพิธี และไม่ควรเดินข้ามด้ายสายสิญจน์
๖. การอัญเชิญพระพุทธรูปมาตั้งบนที่โต๊ะหมู่บูชา ควรสรงน้ำพระพุทธรูปให้หมดฝุ่นเสียก่อน เสร็จแล้วจีงอัญเชิญขึ้นตั้งประดิษฐานบนที่บูชาที่เตรียมไว้ แล้วกราบ ๓ ครั้ง
๗. ปูเสื่ออาสนะสำหรับพระสงฆ์ ควรยกพื้นให้สูงขึ้นกว่าขนาดเก้าอี้ หรือไม่ยกพื้นเพียงเล็กน้อยแล้วปูเสื่อ ปูผ้าขาว แล้วปูผ้านิสีทนะ (ผ้ารองนั่งสำหรับพระ) ต้องให้ที่พระนั่งสูงกว่าที่นั่งของคฤหัสถ์ ถ้าเสมอกันต้องแยกออกจากกัน อย่าให้ติดกัน
๘. เตรียมเครื่องรับรองพระสงฆ์ตามสมควรแก่ฐานะ เช่น หมาก พลู บุหรี่ น้ำเย็น น้ำร้อน และกระโถน วางไว้ด้านขวามือของพระทุกรูป (พานหมาก พลู บุหรี่ กระโถน วางระหว่างกลางพระ ๒ รูป ต่อ ๑ ชุดก็ได้) การวางให้วางกระโถนไว้ข้างในสุด ถัดออกมาเป็นภาชนะน้ำเย็น พานหมากพลู และบุหรี่ ส่วนน้ำร้อนนั้นควรจัดประเคนในภายหลัง
๙. ภาชนะสำหรับทำน้ำมนต์ ให้ใช้หม้อน้ำมนต์ที่มีฝาครอบ (ครอบน้ำมนต์) บาตรหรือขันทองเหลือง (ไม่ควรใช้ขันเงิน หรือขันทองคำ) ต้องมีพานรอง และน้ำที่ใช้ทำน้ำมนต์นั้นนิยมใช้น้ำที่ได้มาจากดิน (ไม่นิยมใช้น้ำฝน) ใส่ประมาณค่อนภาชนะ เทียนน้ำมนต์นิยมใช้เทียนขี้ผึ้งแท้ ตั้งเตรียมไว้หน้าโต๊ะบูชาเยื้องมาให้ใกล้พระสงฆ์รูปที่ ๑
๑๐. การจุดธูปเทียนเมื่อเริ่มพิธี เจ้าภาพควรจุดธูปเทียนเอง โดยใช้เทียนชะนวนในการจุด (ไม่ควรใช้ไฟจากตะเกียงหรือจากที่อื่น) การจุดเทียนที่ภาชนะน้ำมนต์ ให้จุดเมื่อพระสงฆ์สวดถึงบทมงคลสูตร โดยเริ่มสวดว่า “อะเสวะนา จะ พาลานัง….” ให้เจ้าภาพเริ่มจุดเทียนที่ภาชนะน้ำมนต์ แล้วให้ยกน้ำมนต์ประเคนพระรูปที่ ๑ (ประธานสงฆ์ในที่นั้น)
๒. ทำบุญงานอวมงคล คือ การทำบุญเกี่ยวกับเรื่องการตาย ในปัจจุบันนี้การทำบุญงานอวมงคลนิยมทำกันอยู่ ๒ อย่าง คือ งานทำบุญหน้าศพ (เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทำบุญหน้าวันปลงศพ) ที่เรียกว่า ทำบุญ ๗ วัน, ทำบุญ ๕๐ วัน, ทำบุญ ๑๐๐ วัน งานทำบุญอัฐิ หรือการทำบุญเพื่อระลึกนึกถึงการตายของบรรพบุรุษ หรือท่านผู้ใดผู้หนึ่งเป็นการทำบุญในวันคล้ายวันที่ท่านผู้นั้นล่วงลับไปแล้ว
๒.๑ งานทำบุญหน้าศพ หรือ ทำบุญหน้าวันปลงศพ
สิ่งที่เจ้าภาพต้องปฏิบัติและเตรียมการมี ดังนี้
๑. อาราธนาพระสงฆ์มาสวดพระพุทธมนต์ นิยมจำนวนคู่ คือ ๔ – ๘ รูป (ข้อควรสังเกตงานมงคลใช้คำว่า “เจริญพระพุทธมนต์” ส่วนงานอวมงคลใช้คำว่า “สวดพระพุทธมนต์”)
๒.ไม่ต้องตั้งภาชนะน้ำมนต์ ไม่วงด้ายสายสิญจน์
๓. เตรียมสายโยงหรือภูษาโยงต่อจากศพเอาไว้ สายโยง คือ ด้ายสายสิญจน์นั่นเอง แต่มี ๓ เส้น (งานมงคลใช้ ๙ เส้น) ส่วนภูษาโยง คือ แผ่นผ้ากว้างประมาณ ๔ นิ้ว ยาวให้พอตั้งแต่พระองค์แรกต้นแถวจนถึงพระองค์สุดท้ายปลายแถว และต้องมีสายโยงจากศพมาเชื่อมต่อกับภูษาโยงอีก (ควรระวังเรื่องการเดินสายโยง อย่าให้สูงกว่าพระพุทธรูปในพิธี และอย่าให้ต่ำกว่าที่คนนั่ง อย่าข้ามสายโยงหรือภูษาโยง เพราะต่อเนื่องกับศพ มีไว้สำหรับพระจับเพื่อบังสุกุล)
๔. การปฏิบัติกิจในพิธีเมื่อพระสงฆ์นั่งประจำที่แล้ว เจ้าภาพจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยก่อน แล้วจุดธูปเทียนที่หน้าศพทีหลัง (แต่บางแห่งนิยมจุดที่หน้าศพก่อน เสร็จแล้วจุดที่โต๊ะหมู่บูชาพระรัตนตรัยทีหลัง ด้วยให้เหตุผลว่าเพื่อให้ผู้ตายได้บูชาพระรัตนตรัยร่วมกัน เป็นเพียงความเชื่อเท่านั้นขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของแต่ละคน)
๕. กล่าวคำบูชาพระรัตนตรัย อาราธนาศีล – รับศีล – อาราธนาพระปริตร ถ้ามีการเลี้ยงพระด้วยเมื่อพระฉันเสร็จ พิธีกรหรือเจ้าภาพต้องคลี่สายโยงหรือภูษาโยงตั้งแต่พระองค์แรกต้นแถวจนถึงพระองค์สุดท้ายปลายแถว เจ้าภาพและญาติพี่น้องทอดผ้าบังสุกุลบนสายโยงหรือภูษาโยงที่คลี่ทอดยาวไว้ ถ้ามีการถวายไทยธรรมถวายพระด้วยนิยมกลัดติดไว้กับผ้าสบง จีวร หรือที่เรียกกันว่าผ้าบังสุกุลที่วางจะทอดนั่นเอง แล้วนั่งประจำที่พอพระสงฆ์ท่านชักบังสุกุลเจ้าภาพและผู้มีเกียรติที่มาร่วมงานทุกท่านประนมมือ ตั้งใจฟังสวดจนจบ เมื่อพระสงฆ์อนุโมทนาเริ่มบทว่า “ยถา วาริวหา……” เจ้าภาพพึงกรวดน้ำอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลที่ได้บ้ำเพ็ญแล้วให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว เมื่อพระสงฆ์รับพร้อมๆ กันว่า “สัพพีติโย…” ควรประนมมือรับพรไปจนจบ แล้วกราบพระ ๓ ครั้ง
๒.๒งานทำบุญอัฐิ
สิ่งที่เจ้าภาพต้องปฏิบัติและเตรียมการส่วนใหญ่คล้ายกับงานทำบุญหน้าศพเพียงแต่ตั้งโกศอัฐิ ภาพถ่ายผู้ตาย หรือเขียนชื่อของผู้ตายไว้บนโต๊ะต่างหากจากโต๊ะบูชา จัดดอกไม้ประดับ ตั้งกระถางธูป เชิงเทียน หรือใช้กระบะเครื่อง ๕ แทนกระถางธูปเชิงเทียนก็ได้ ส่วนการปฏิบัติเมื่อพระสงฆ์มาถึงแล้ว ก็เป็นเช่นเดียวกับงานมงคล และหลังจากพระสงฆ์ฉันเสร็จแล้ว นิยมให้มีการบังสุกุล แล้วจึงถวายไทยธรรม เมื่อพระสงฆ์อนุโมทนาพึงกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลต่อไปงานทำบุญอัฐิพึงจัดตระเตรียมทำนองเดียวกับงานทำบุญหน้าศพต่างแต่เพียงงานนี้เป็นงานทำบุญหน้าอัฐิหรือรูปที่ระลึกของผู้ที่ล่วงลับ เป็นต้น และระเบียบที่พึงปฏิบัติก็เหมือนกับที่กล่าวไว้
ศาลพระภูมิเชียงราย
ศาลพระภูมิเชียงใหม่
ศาลพระภูมิน่าน
ศาลพระภูมิพะเยา
ศาลพระภูมิแพร่
ศาลพระภูมิแม่ฮ่องสอน
ศาลพระภูมิลำปาง
ศาลพระภูมิลำพูน
ศาลพระภูมิอุตรดิตถ์
ศาลพระภูมิกาฬสินธุ์
ศาลพระภูมิขอนแก่น
ศาลพระภูมิชัยภูมิ
ศาลพระภูมินครพนม
ศาลพระภูมินครราชสีมา
ศาลพระภูมิบึงกาฬ
ศาลพระภูมิบุรีรัมย์
ศาลพระภูมิมหาสารคาม
ศาลพระภูมิมุกดาหาร
ศาลพระภูมิยโสธร
ศาลพระภูมิร้อยเอ็ด
ศาลพระภูมิเลย
ศาลพระภูมิสกลนคร
ศาลพระภูมิสุรินทร์
ศาลพระภูมิศรีสะเกษ
ศาลพระภูมิหนองคาย
ศาลพระภูมิหนองบัวลำภู
ศาลพระภูมิอุดรธานี
ศาลพระภูมิอุบลราชธานี
ศาลพระภูมิอำนาจเจริญ
ศาลพระภูมิกำแพงเพชร
ศาลพระภูมิชัยนาท
ศาลพระภูมินครนายก
ศาลพระภูมินครปฐม
ศาลพระภูมินครสวรรค์
ศาลพระภูมินนทบุรี
ศาลพระภูมิปทุมธานี
ศาลพระภูมิพระนครศรีอยุธยา
ศาลพระภูมิพิจิตร
ศาลพระภูมิพิษณุโลก
ศาลพระภูมิเพชรบูรณ์
ศาลพระภูมิลพบุรี
ศาลพระภูมิสมุทรปราการ
ศาลพระภูมิสมุทรสงคราม
ศาลพระภูมิสมุทรสาคร
ศาลพระภูมิสิงห์บุรี
ศาลพระภูมิสุโขทัย
ศาลพระภูมิสุพรรณบุรี
ศาลพระภูมิสระบุรี
ศาลพระภูมิอ่างทอง
ศาลพระภูมิอุทัยธานี
ศาลพระภูมิจันทบุรี
ศาลพระภูมิฉะเชิงเทรา
ศาลพระภูมิชลบุรี
ศาลพระภูมิตราด
ศาลพระภูมิปราจีนบุรี
ศาลพระภูมิระยอง
ศาลพระภูมิสระแก้ว
ศาลพระภูมิกาญจนบุรี
ศาลพระภูมิตาก
ศาลพระภูมิประจวบคีรีขันธ์
ศาลพระภูมิเพชรบุรี
ศาลพระภูมิราชบุรี
ศาลพระภูมิกระบี่
ศาลพระภูมิชุมพร
ศาลพระภูมิตรัง
ศาลพระภูมินครศรีธรรมราช
ศาลพระภูมินราธิวาส
ศาลพระภูมิปัตตานี
ศาลพระภูมิพังงา
ศาลพระภูมิพัทลุง
ศาลพระภูมิภูเก็ต
ศาลพระภูมิระนอง
ศาลพระภูมิสตูล
ศาลพระภูมิสงขลา
ศาลพระภูมิสุราษฎร์ธานี
ศาลพระภูมิยะลา
ศาลพระภูมิกรุงเทพมหานคร
ศาลพระภูมิคลองสาน
ศาลพระภูมิคลองสามวา
ศาลพระภูมิคลองเตย
ศาลพระภูมิคันนายาว
ศาลพระภูมิจอมทอง
ศาลพระภูมิดอนเมือง
ศาลพระภูมิดินแดง
ศาลพระภูมิดุสิต
ศาลพระภูมิตลิ่งชัน
ศาลพระภูมิทวีวัฒนา
ศาลพระภูมิทุ่งครุ
ศาลพระภูมิธนบุรี
ศาลพระภูมิบางกอกน้อย
ศาลพระภูมิบางกอกใหญ่
ศาลพระภูมิบางกะปิ
ศาลพระภูมิบางคอแหลม
ศาลพระภูมิบางซื่อ
ศาลพระภูมิบางนา
ศาลพระภูมิบางพลัด
ศาลพระภูมิบางรัก
ศาลพระภูมิบางเขน
ศาลพระภูมิบางแค
ศาลพระภูมิบึงกุ่ม
ศาลพระภูมิปทุมวัน
ศาลพระภูมิประเวศ
ศาลพระภูมิป้อมปราบศัตรูพ่าย
ศาลพระภูมิพญาไท
ศาลพระภูมิพระนคร
ศาลพระภูมิพระโขนง
ศาลพระภูมิภาษีเจริญ
ศาลพระภูมิมีนบุรี
ศาลพระภูมิยานนาวา
ศาลพระภูมิราชเทวี
ศาลพระภูมิราษฎร์บูรณะ
ศาลพระภูมิลาดกระบัง
ศาลพระภูมิลาดพร้าว
ศาลพระภูมิวังทองหลาง
ศาลพระภูมิวัฒนา
ศาลพระภูมิสวนหลวง
ศาลพระภูมิสะพานสูง
ศาลพระภูมิสัมพันธวงศ์
ศาลพระภูมิสาทร
ศาลพระภูมิสายไหม
ศาลพระภูมิหนองจอก
ศาลพระภูมิหนองแขม
ศาลพระภูมิหลักสี่
ศาลพระภูมิห้วยขวาง
ศาลพระภูมิเมืองนครปฐม
ศาลพระภูมิกำแพงแสน
ศาลพระภูมิดอนตูม
ศาลพระภูมินครชัยศรี
ศาลพระภูมิบางเลน
ศาลพระภูมิพุทธมณฑล
ศาลพระภูมิสามพราน
ศาลพระภูมิเมืองนนทบุรี
ศาลพระภูมิบางกรวย
ศาลพระภูมิบางบัวทอง
ศาลพระภูมิบางใหญ่
ศาลพระภูมิปากเกร็ด
ศาลพระภูมิไทรน้อย
ศาลพระภูมิเมืองปทุมธานี
ศาลพระภูมิคลองหลวง
ศาลพระภูมิธัญบุรี
ศาลพระภูมิลาดหลุมแก้ว
ศาลพระภูมิลำลูกกา
ศาลพระภูมิสามโคก
ศาลพระภูมิหนองเสือ
ศาลพระภูมิเมืองสมุทรปราการ
ศาลพระภูมิบางพลี
ศาลพระภูมิบางเสาธง
ศาลพระภูมิพระประแดง
ศาลพระภูมิพระสมุทรเจดีย์
ศาลพระภูมิเมืองระยอง
ศาลพระภูมินิคมพัฒนา
ศาลพระภูมิเขาชะเมา
ศาลพระภูมิบ้านฉาง
ศาลพระภูมิปลวกแดง
ศาลพระภูมิวังจันทร์
ศาลพระภูมิแกลง
ศาลพระภูมิเมืองชลบุรี
ศาลพระภูมิเกาะจันทร์
ศาลพระภูมิบางละมุง
ศาลพระภูมิบ่อทอง
ศาลพระภูมิบ้านบึง
ศาลพระภูมิพนัสนิคม
ศาลพระภูมิพานทอง
ศาลพระภูมิศรีราชา
ศาลพระภูมิสัตหีบ
ศาลพระภูมิหนองใหญ่
ศาลพระภูมิเกาะสีชัง
ศาลพระภูมิเมืองสมุทรสาคร
ศาลพระภูมิกระทุ่มแบน
ศาลพระภูมิบ้านแพ้ว
ศาลพระภูมิมหาชัย
ศาลพระภูมิเมืองสมุทร
ศาลพระภูมิอัมพวา
ศาลพระภูมิบางคนที
ศาลพระภูมิเมืองราชบุรี
ศาลพระภูมิบ้านคา
ศาลพระภูมิจอมบึง
ศาลพระภูมิดำเนินสะดวก
ศาลพระภูมิบางแพ
ศาลพระภูมิบ้านโป่ง
ศาลพระภูมิปากท่อ
ศาลพระภูมิวัดเพลง
ศาลพระภูมิสวนผึ้ง
ศาลพระภูมิโพธาราม
ศาลพระภูมิเมืองฉะเชิงเทรา
ศาลพระภูมิคลองเขื่อน
ศาลพระภูมิท่าตะเกียบ
ศาลพระภูมิบางคล้า
ศาลพระภูมิบางน้ำเปรี้ยว
ศาลพระภูมิบางปะกง
ศาลพระภูมิบ้านโพธิ์
ศาลพระภูมิพนมสารคาม
ศาลพระภูมิราชสาส์น
ศาลพระภูมิสนามชัยเขต
ศาลพระภูมิแปลงยาว
ศาลพระภูมิเมืองนครนายก
ศาลพระภูมิปากพลี
ศาลพระภูมิบ้านนา
ศาลพระภูมิองครักษ์