7970252

ประเพณีงานศพของศาสนาต่างๆมีอะไรบ้าง

หมวดหมู่สินค้า: A295 รับจัดงานพิธี

03 มีนาคม 2565

ผู้ชม 204 ผู้ชม

รับจัดพิธีสงฆ์ พิธีพราหมณ์ ทำบุญบ้าน บริษัท ทำบุญเลี้ยงพระ จัดเครื่องไหว้ จัดบวงสรวง บายศรี ตั้งศาลพระภูมิ เสาหลัก ถอนศาลวางศิลาฤกษ์ ปรับฮวงจุ้ยบ้าน  ดอกไม้หน้าศพ หน้าเมรุ ซุ้มดอกไม้งานแต่ง ผลงานของเรา
ทำบุญบริษัท
ตั้ง/รื้อศาลพระภูมิ
วางศิลาฤกษ์
ปรับฮวงจุ้ยบ้าน
รับทำบายศรี

      ติดต่อปรึกษาเรา      




ประเพณีงานศพ

ประเพณีงานศพเมืองตรังมีทั้งชาวไทยพุทธ ชาวไทยมุสลิม และชาวไทยเชื้อสายจีน
ประเพณีงานศพเมืองตรังจึงมีพิธีกรรมที่แตกต่างไปตามศาสนาและความเชื่อดั้งเดิม แต่มีบางอย่าง
ทีเหมือนกันอันแสดงถึงความเป็นตรัง
 
งานศพชาวไทยพุทธ
ชาวไทยพุทธท้องถิ่นมีกิจกรรมงานศพหลายขั้นตอน นับแต่วันตาย วันตั้งศพ วันฌาปนกิจ
ศพ และวันหลังฌาปนกิจศพ เมื่อมีคนตายก็จะกระจายข่าวให้รู้กันทั่วไป บรรดาญาติมิตรผู้สนิท
สนามรู้จักมักคุ้นกับญาติผู้ตาย ก็จะไปร่วมโดยจิตส านึกว่า เพื่อนที่ดีจะเห็นกันเมื่อตาย
เมื่อมีผู้ตาย พิธีแรกคือการเตรียมบรรจุโลง ด้วยการจัดศพผู้ตายให้นอนหันศีรษะไปทางทิศ
ตะวันตก จัดแต่งซองหมากพลู ดอกไม้ธูปเทียนให้ผู้ตายถือไว้แล้วคลุมด้วยผ้า จัดเตรียมโลงศพ
อาบน้ าศพ แต่งตัวศพนิมนต์พระภิกษุท าพิธีมัดตราสัง และน าศพบรรจุโลง ซึ่งมีความเชื่ออยู่ว่า จะ
ไม่บรรลุโลงในวันพุธ ถ้าวันตายเป็นวันพุธก็จะรอเวลาไว้ จนผ่านเที่ยงคืนไปแล้วจึงบรรจุศพลงโลง
การจัดงานศพในสมัยก่อน เจ้าภาพต้องเตรียมการอยู่หลายวัน เตรียมสถานที่ปลูกโรงพิธี
โรงเลี้ยง โรงครัว จัดหาฟืน สิ่งของต่าง ๆ ที่จะใช้ในงานไปบอกกล่าวญาติมิตรที่อยู่ห่างไกล ดังนั้น
จึงน าศพใส่โลงค้างไว้ก่อน เมื่อถึงวันที่เหมาะสมซึ่งมักจะเป็นหน้าแล้ง ก็จะน ามาบ าเพ็ญกุศล อาจ
จัดพิธีที่บ้านหรือที่วัดตามสะดวก ปัจจุบันเมื่อบรรจุศพแล้ว ส่วนใหญ่จะจัดงานต่อเนื่องจนเผา
เรียบร้อยในคราวเดียว
ชาวตรังนิยมตั้งศพบ าเพ็ญกุศลหลายวัน โดยถือเอาวันฤกษ์ดีเป็นวันยกศพไปเผาหรือฝัง
ซึ่งมักจะจัดงานศพให้เสร็จสิ้นในช่วงเดือน ไม่นิยมจัดงานศพฉีกขาข้ามเดือน (หมายถึง การตั้ง
บ าเพ็ญกุศลที่มีวันอยู่ระหว่างข้างขึ้น กับข้างแรมหรือระหว่างเดือนต่อเดือน)หลังจากยกศพขึ้นแล้ว
ก็จะจัดเตรียมงานจนถึงวันส าคัญในสามวันสุดท้าย คือ วันเข้าทับ วันเข้าการ และวันเผา
เมื่อเริ่มงานก็มีจัดการตกแต่งโลง ตอนกลางคืนมีสวดพระอภิธรรม กลางวัน ท าบุญถวาย
สังฆทาน เตรียมอาหารไว้จัดเลี้ยงผู้มาฟังสวดและนั่งเพื่อนศพ มีมหรสพตามฐานะเจ้าภาพ เช่น
หนังตะลุง มโนราห์ กาหลอ กลอนลาน เป็นต้น ในวันเข้าทับอาจมีการจุดดอกไม้ไฟประเภท อ้าย
ตูม ตรวดเพื่อเป็นสัญญาณบอกข่าว
การเตรียมงานศพ ในปัจจุบันที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ชาวตรัง คือ การพิมพ์ใบประกาศ
งานศพขนาดใหญ่ ปิดประกาศให้เพื่อนฝูงญาติมิตรทราบเพื่อจะได้มาร่วมงาน
การเลี้ยงอาหารแก่ผู้มาร่วมงาน ในวันแรก ๆ ตอนกลางคืนจะมีถั่วลิสงคั่วกับน้ าชา หรือน้ า
เย็น บางทีก็จะมีขนมแห่ง หรือขนมสด ตลอดจนอาหารประเภทขนมจีน ก๋วยเตี๋ยว ตามฐานะ
เจ้าภาพ หรือตามที่ญาติมิตรจัดมาช่วย ในวันเข้าทับ จะมีการล้มหมู ล้มวัว ไว้ส าหรับงานเลี้ยงใหญ่
ในวันเข้าการ ในวันเข้าทับนี้พ่อครัวจะน าเอาเครื่องในมาแกงก่อน เรียกว่า แกงสมรม แขกที่มาจะ
ได้รับเลี้ยงข้าวมื้อเย็นด้วย พอถึงวันเข้าการ ซึ่งคนจะมากันเป็นจ านวนมาก การเลี้ยงข้าวมื้อเย็น
ถือเป็นเรื่องส าคัญ ต้องมีอาหารอย่างน้อย 3 อย่าง แกงหลักมักจะเป็นแกงเนื้อวัวน้ าขลุกขลิกใส่
เครื่องเทศ เรียกว่า เครื่องร้อย แกงจืด และผัด หรือเกายุก (คล้ายหมูพะโล้ ปรุงรสเพิ่มเติมด้วย
เต้าหู้ยี้ ใส่เผือก เต้าหู้ทอด และเห็ดหอม) เรื่องอาหารนี้เจ้าภาพถือเป็นเรื่องส าคัญต้องดูแลมิให้
ขาดตกบกพร่อง
เจ้าภาพจะทักทายกับทุกคนที่มาร่วมในงานมีโฆษกประกาศต้อนรับเชื้อเชิญแขกเข้าสู่โรง
เลี้ยงเพื่อรับประทานอาหาร เสร็จแล้วญาติมิตรและแขกก็จะร่วมท าบุญ เรียกว่าให้งาน มีเจ้าภาพ
คอยรับเงินจดชื่อ – นามสกุล บ้านที่อยู่ จ านวนเงิน และตอบแทนด้วยบัตรขอบคุณ บอก
ก าหนดการฌาปนกิจผูกด้ายสีแดง ไว้เป็นการเชิญชวนให้มาในวันเผาอีกครั้งหนึ่ง ปัจจุบันบางงาน
เปลี่ยนจากบัตรขอบคุณเป็นของช าร่วยประเภท ยาหม่อง ยาดม ปากกา ฯลฯ
เมื่อถึงวันยกศพไปเผาหรือฝัง บรรดาญาติมิตรเพื่อนฝูง ที่รู้จักมักคุ้นก็จะมาร่วมพิธีสวด
มาติกาบังสุกุล มีการเลี้ยงอาหารเที่ยงอีกครั้งหนึ่ง อาจเป็นอาหารชนิดเดียวกับวันเข้าการหรือ
เมื่อถึงก าหนดเวลาก็ยกศพจากที่ตั้งหามไปสู่เมรูหรือป่าช้า เพื่อเผาหรือฝังตามประเพณี สมัยก่อนผู้
ไปส่งศพจะถือฟืนไปคนละดุ้น ด้วยเพื่อใช้เผาศพ ปัจจุบันธรรมเนียมนี้ยังมีอยู่บ้างในชนบท ถ้าเป็น
ศพที่เผาก็จะเก็บอัฐิในวันรุ่งขึ้น เจ้าภาพจะนิมนต์พระแปรธาตุเพื่อเก็บอัฐิน าไปบังสุกุล น าเก็บไว้
ในที่เหมาะสม หรือบัวซึ่งท าเป็นรูปเจดีย์เล็ก ๆ สูงประมาณ 1 เมตร เรียกว่า เข้าบัว
การไว้ทุกข์ บรรดาลูกหลานและญาติจะไว้ทุกข์ด้วยการแต่งด า ถ้าเป็นญาติห่าง ๆ ก็ไม่
ค่อยเคร่งครัดนัก อาจแต่งด าขาว ระยะเวลาไว้ทุกข์อาจเป็น 1 ปี 100 วัน 50 วัน หรือปลดทุกข์
ทันทีหลังจากบรรจุอัฐิแล้ว ในวันปลดทุกข์จะมีการท าบุญถวายสังฆทานอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ตายอีก
ครั้งหนึ่ง
 
พิธีฝังศพชาวไทยมุสลิม
ในจังหวัดตรัง พิธีชาวไทยมุสลิมส่วนใหญ่ปฏิบัติแบบเรียบง่าย ตามศาสนบัญญัติ เมื่อ
มุสลิมตายลง เพื่อนบ้านจะไปให้ความช่วยเหลือครอบครัวผู้ตาย อาจมีการบอกกันด้วยวาจาหรือ
ตีกลองของมัสยิดเป็นการบอกข่าวว่ามีคนตายในหมู่บ้าน
พิธีศพของมุสลิมจะใช้วิธีการฝัง โดยปกติแล้วจะต้องฝังภายใน 24 ชั่วโมง เพราะถือว่าถ้า
ไว้นานจะท าให้ผู้ที่มีชีวิตอยู่ต้องเสียใจเพิ่มมากขึ้น นอกจากมีปัญหาเกี่ยวข้องกับกฎหมายบ้านเมือง
เพื่อนบ้านจะช่วยเหลือกันอย่างรวดเร็ว ช่วยขุดหลุมที่สุสาน (กุโบว์) ท าโลง ศพด้วยไม้กระดาน
แบบง่าย ๆ เพราะอิสลามถือว่าการตายเป็นเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่อยู่ไปยังอีกโลกหนึ่ง ผู้ไป
ช่วยงานหรือเยี่ยมครอบครัวของผู้ตายแต่งกายธรรมดาไม่มีการแต่งด าไว้ ทุกข์ หลายท้องที่นิยมน า
สิ่งของ หรือเงินมอบให้แก่ครอบครัวผู้ตาย เป็นการร่วมท าบุญ
การปฏิบัติต่อศพ (มัยยิต) ก่อนน าไปฝัง จะมีการอาบน้ าท าความสะอาดศพ แล้วห่อด้วยผ้า
ขาว ต่อจากนั้นก็เป็นพิธีละหมาดให้แก่ผู้ตายซึ่ง เรียกว่า ละหมาดญะนาซะห์ซึ่งอาจจะท าที่บ้าน
ของผู้ตาย หรือน าศพไปท าพิธีละหมาดให้ที่มัสยิดก็ได้ เมื่อมีการเคลื่อนศพ ผู้ที่นั่งอยู่หรือท างาน
อยู่ในทางศพผ่าน จะยืนขึ้นเป็นการเคารพศพและตามไปส่งศพถึง กุโบร์
การฝังศพ มีการขุดหลุมลึกพอสมควร ฝังศพในท่านอนตะแคงขวา หันหน้าไปทางทิศลัต
(อยู่ทางทิศตะวันตก) หลังฝังศพเรียบร้อยแล้วใช้ก้อนหินหรือหลักไม้สั้น ๆ 2 ท่อน เรียก ตาหนา
ปักด้านศีรษะและปลายเท้าเป็นเครื่องหมายไว้บนหลุมศพ ถ้าเป็นผู้ชายจะท าตาหนามีลักษณะ
กลม ผู้หญิงจะมีลักษณะแบน ต่อจากนั้นผู้น าศาสนาก็จะอ่านดุอา (ค าขอพร) ขอพรต่อพระผู้เป็น
เจ้าให้แก่ผู้ตาย
หลังจากฝังศพแล้วมีประเพณีที่อยู่ข้างหลังมักปฏิบัติ คือ การเยี่ยมสุสานเพื่อให้ระลึกถึง
ความตาย ไม่ตั้งอยู่ในความประมาทมีการจัดท าบุญ เรียกว่า นุหรีที่บ้านหรือสุเหร่าเพื่ออุทิศให้แก่
ผู้ตาย ซึ่งจะท ากันในวันตาย และช่วงระยะ 3 วัน 7 วัน 40 วัน หรือ 100 วัน และตามความ
เหมาะสม บางแห่งที่จัดให้มีการท าบุญ 40 วัน เจ้าภาพจะจัดพิมพ์ประกาศหรือบอกล่าวแก่ญาติ
มิตรให้ทราบและมาร่วม มีการเลี้ยงอาหารโดยเชิญผู้น าศาสนามาร่วมขอพรจากพระผู้เป็นเจ้า
พิธีศพของไทยมุสลิม ในจังหวัดตรังส่วนใหญ่ปฏิบัติเรียบง่ายตามหลักการของศาสนาดังที่
กล่าวแล้ว ส าหรับนอกที่เหนือไป เช่น วันตายเจ้าภาพจัดเลี้ยงอาหารแก่ผู้มาเยี่ยมการท าบุญให้แก่
ผู้ตายเมื่อครบ 3 วัน 7 วัน หรือ 40 วัน การก่อสร้างหลุมศพให้สวยงาม หรือการน าอาหารหวาน
คาวไปท าบุญที่กุโบร์ ถือเป็นประเพณีที่สืบทอดผสมผสาน ซึ่งบางอย่างเปลี่ยนแปลงไปตามความ
เหมาะสม
 
พิธีฝังศพชาวไทยเชื้อสายจีน
ชาวไทยเชื้อสายจีนในท้องถิ่นเมืองตรัง เมื่อตายลงก็จะน าศพใส่โลกไม้หนาขนาดใหญ่ มี
รูปทรงเฉพาะตัว เรียกว่า โลงหัวหมูมีความเชื่อเกี่ยวกับการจัดซื้อโลงศพว่าจะเพิ่มราคาสูงกว่าที่
ผู้ขายบอก ด้วยเชื่อว่าจะท าให้ญาติมิตรที่อยู่มีความเป็นอยู่เจริญรุ่งเรืองขึ้น ญาติมิตรมีการไว้ทุกข์
แก่ผู้ตาย และมีพิธีเซ่นไหว้ค านับศพตามประเพณีที่สืบทอดกันมาแต่ดินแดนดั้งเดิม
การจัดงานศพก่อนพิธีฝัง มีการตั้งศพสวดบ าเพ็ญกุศลและจัดเลี้ยงแขก เช่นเดียวกับงาน
ศพชาวไทยพุทธ ส าหรับเรื่องอาหารอาจแตกต่างไปบ้างในวันเข้าการ คือ มักจะจัดอาหารประเภท
จานเดียว เช่น ก๋วยเตี๋ยว หมี่ ขนมจีน ที่เป็นข้าวก็มี แต่ไม่ใช่แกงเนื้อวัว ส่วนขนมแห้ง ขนมสด
ค่อนข้างมากเป็นพิเศษ
การแต่งกายไว้ทุกข์ปกติแต่งด า และมีเครื่องหมายบอกฐานะความสัมพันธ์กับผู้ตาย ลูก
ชาย ลูกสาว ลูกเขย ลูกสะใภ้ญาติแต่ละฝ่ายแต่ละชั้น จะมีเครื่องหมายเฉพาะในวันฝังศพก็จะน า
ศพไปยังสุสานก่อนยกศพจะมีการเซ่นไหว้หมูย่าง ซึ่งลูกหลานและญาติมิตรน ามาเซ่นไหว้คนละตัว
หรือกลุ่มละตัว หลังจากนั้นก็ใช้เป็นอาหารเลี้ยงแขกควบคู่กับหมี่หรือข้าว
การเคลื่อนศพไปสุสาน นิยมจัดขบวนแห่ใหญ่โต มีรถของญาติมิตรเข้าขบวนยาวเหยียดไป
ตามถนน รถรับจ้างก็จะมาเข้าขบวนด้วย ถือเป็นการส่งศพ เจ้าภาพจะตอบแทนด้วยผ้าขนหนูหรือ
ผ้าขาวม้าผูกให้รถทุกคันบางงานก็ให้ซองเงิน เรียกว่า อั่งเปา
เสร็จพิธีฝังแล้วลูกหลานจะน ากระถางธูปกลับบ้าน จัดท าป้ายชื่อผู้ตายวางรวมไว้บนหิ้ง
บูชาบรรพบรุษของตระกูล และดูแลเซ่นไหว้อยู่มิได้ขาด ส่วนที่หลุมฝังศพหรือ ฮวงซุ้ย ก็จะมีการ
ท าบุญเช็งเม็งเป็นประจ าทุกปี 


ศาลพระภูมิเชียงราย 
ศาลพระภูมิเชียงใหม่ 
ศาลพระภูมิน่าน 
ศาลพระภูมิพะเยา 
ศาลพระภูมิแพร่ 
ศาลพระภูมิแม่ฮ่องสอน 
ศาลพระภูมิลำปาง 
ศาลพระภูมิลำพูน 
ศาลพระภูมิอุตรดิตถ์
ศาลพระภูมิกาฬสินธุ์ 
ศาลพระภูมิขอนแก่น 
ศาลพระภูมิชัยภูมิ 
ศาลพระภูมินครพนม 
ศาลพระภูมินครราชสีมา 
ศาลพระภูมิบึงกาฬ 
ศาลพระภูมิบุรีรัมย์ 
ศาลพระภูมิมหาสารคาม 
ศาลพระภูมิมุกดาหาร 
ศาลพระภูมิยโสธร 
ศาลพระภูมิร้อยเอ็ด 
ศาลพระภูมิเลย 
ศาลพระภูมิสกลนคร 
ศาลพระภูมิสุรินทร์ 
ศาลพระภูมิศรีสะเกษ 
ศาลพระภูมิหนองคาย 
ศาลพระภูมิหนองบัวลำภู 
ศาลพระภูมิอุดรธานี 
ศาลพระภูมิอุบลราชธานี 
ศาลพระภูมิอำนาจเจริญ 
ศาลพระภูมิกำแพงเพชร 
ศาลพระภูมิชัยนาท 
ศาลพระภูมินครนายก 
ศาลพระภูมินครปฐม 
ศาลพระภูมินครสวรรค์ 
ศาลพระภูมินนทบุรี 
ศาลพระภูมิปทุมธานี 
ศาลพระภูมิพระนครศรีอยุธยา 
ศาลพระภูมิพิจิตร 
ศาลพระภูมิพิษณุโลก 
ศาลพระภูมิเพชรบูรณ์ 
ศาลพระภูมิลพบุรี 
ศาลพระภูมิสมุทรปราการ 
ศาลพระภูมิสมุทรสงคราม 
ศาลพระภูมิสมุทรสาคร 
ศาลพระภูมิสิงห์บุรี 
ศาลพระภูมิสุโขทัย 
ศาลพระภูมิสุพรรณบุรี 
ศาลพระภูมิสระบุรี 
ศาลพระภูมิอ่างทอง 
ศาลพระภูมิอุทัยธานี 
ศาลพระภูมิจันทบุรี 
ศาลพระภูมิฉะเชิงเทรา 
ศาลพระภูมิชลบุรี 
ศาลพระภูมิตราด 
ศาลพระภูมิปราจีนบุรี 
ศาลพระภูมิระยอง 
ศาลพระภูมิสระแก้ว 
ศาลพระภูมิกาญจนบุรี 
ศาลพระภูมิตาก 
ศาลพระภูมิประจวบคีรีขันธ์ 
ศาลพระภูมิเพชรบุรี 
ศาลพระภูมิราชบุรี 
ศาลพระภูมิกระบี่ 
ศาลพระภูมิชุมพร 
ศาลพระภูมิตรัง 
ศาลพระภูมินครศรีธรรมราช 
ศาลพระภูมินราธิวาส 
ศาลพระภูมิปัตตานี 
ศาลพระภูมิพังงา 
ศาลพระภูมิพัทลุง 
ศาลพระภูมิภูเก็ต 
ศาลพระภูมิระนอง 
ศาลพระภูมิสตูล 
ศาลพระภูมิสงขลา 
ศาลพระภูมิสุราษฎร์ธานี 
ศาลพระภูมิยะลา 
ศาลพระภูมิกรุงเทพมหานคร
 
ศาลพระภูมิคลองสาน 
ศาลพระภูมิคลองสามวา 
ศาลพระภูมิคลองเตย
ศาลพระภูมิคันนายาว 
ศาลพระภูมิจอมทอง 
ศาลพระภูมิดอนเมือง
ศาลพระภูมิดินแดง 
ศาลพระภูมิดุสิต 
ศาลพระภูมิตลิ่งชัน 
ศาลพระภูมิทวีวัฒนา
ศาลพระภูมิทุ่งครุ 
ศาลพระภูมิธนบุรี 
ศาลพระภูมิบางกอกน้อย
ศาลพระภูมิบางกอกใหญ่ 
ศาลพระภูมิบางกะปิ 
ศาลพระภูมิบางคอแหลม
ศาลพระภูมิบางซื่อ 
ศาลพระภูมิบางนา 
ศาลพระภูมิบางพลัด 
ศาลพระภูมิบางรัก
ศาลพระภูมิบางเขน 
ศาลพระภูมิบางแค 
ศาลพระภูมิบึงกุ่ม 
ศาลพระภูมิปทุมวัน
ศาลพระภูมิประเวศ 
ศาลพระภูมิป้อมปราบศัตรูพ่าย 
ศาลพระภูมิพญาไท
ศาลพระภูมิพระนคร 
ศาลพระภูมิพระโขนง 
ศาลพระภูมิภาษีเจริญ 
ศาลพระภูมิมีนบุรี
ศาลพระภูมิยานนาวา 
ศาลพระภูมิราชเทวี 
ศาลพระภูมิราษฎร์บูรณะ
ศาลพระภูมิลาดกระบัง 
ศาลพระภูมิลาดพร้าว 
ศาลพระภูมิวังทองหลาง
ศาลพระภูมิวัฒนา 
ศาลพระภูมิสวนหลวง 
ศาลพระภูมิสะพานสูง
ศาลพระภูมิสัมพันธวงศ์ 
ศาลพระภูมิสาทร 
ศาลพระภูมิสายไหม
ศาลพระภูมิหนองจอก 
ศาลพระภูมิหนองแขม 
ศาลพระภูมิหลักสี่ 
ศาลพระภูมิห้วยขวาง
ศาลพระภูมิเมืองนครปฐม 
ศาลพระภูมิกำแพงแสน 
ศาลพระภูมิดอนตูม
ศาลพระภูมินครชัยศรี 
ศาลพระภูมิบางเลน 
ศาลพระภูมิพุทธมณฑล 
ศาลพระภูมิสามพราน
ศาลพระภูมิเมืองนนทบุรี 
ศาลพระภูมิบางกรวย 
ศาลพระภูมิบางบัวทอง
ศาลพระภูมิบางใหญ่ 
ศาลพระภูมิปากเกร็ด 
ศาลพระภูมิไทรน้อย
ศาลพระภูมิเมืองปทุมธานี 
ศาลพระภูมิคลองหลวง 
ศาลพระภูมิธัญบุรี
ศาลพระภูมิลาดหลุมแก้ว 
ศาลพระภูมิลำลูกกา 
ศาลพระภูมิสามโคก 
ศาลพระภูมิหนองเสือ
ศาลพระภูมิเมืองสมุทรปราการ 
ศาลพระภูมิบางพลี 
ศาลพระภูมิบางเสาธง
ศาลพระภูมิพระประแดง
 ศาลพระภูมิพระสมุทรเจดีย์
ศาลพระภูมิเมืองระยอง
ศาลพระภูมินิคมพัฒนา 
ศาลพระภูมิเขาชะเมา
ศาลพระภูมิบ้านฉาง 
ศาลพระภูมิปลวกแดง 
ศาลพระภูมิวังจันทร์ 
ศาลพระภูมิแกลง
ศาลพระภูมิเมืองชลบุรี 
ศาลพระภูมิเกาะจันทร์ 
ศาลพระภูมิบางละมุง
ศาลพระภูมิบ่อทอง  
ศาลพระภูมิบ้านบึง 
ศาลพระภูมิพนัสนิคม
ศาลพระภูมิพานทอง
ศาลพระภูมิศรีราชา 
ศาลพระภูมิสัตหีบ 
ศาลพระภูมิหนองใหญ่ 
ศาลพระภูมิเกาะสีชัง
ศาลพระภูมิเมืองสมุทรสาคร 
ศาลพระภูมิกระทุ่มแบน 
ศาลพระภูมิบ้านแพ้ว 
ศาลพระภูมิมหาชัย
ศาลพระภูมิเมืองสมุทร
ศาลพระภูมิอัมพวา 
ศาลพระภูมิบางคนที
ศาลพระภูมิเมืองราชบุรี 
ศาลพระภูมิบ้านคา 
ศาลพระภูมิจอมบึง
ศาลพระภูมิดำเนินสะดวก 
ศาลพระภูมิบางแพ 
ศาลพระภูมิบ้านโป่ง
ศาลพระภูมิปากท่อ
ศาลพระภูมิวัดเพลง 
ศาลพระภูมิสวนผึ้ง 
ศาลพระภูมิโพธาราม
ศาลพระภูมิเมืองฉะเชิงเทรา 
ศาลพระภูมิคลองเขื่อน 
ศาลพระภูมิท่าตะเกียบ 
ศาลพระภูมิบางคล้า
ศาลพระภูมิบางน้ำเปรี้ยว 
ศาลพระภูมิบางปะกง 
ศาลพระภูมิบ้านโพธิ์
ศาลพระภูมิพนมสารคาม
ศาลพระภูมิราชสาส์น 
ศาลพระภูมิสนามชัยเขต 
ศาลพระภูมิแปลงยาว
ศาลพระภูมิเมืองนครนายก 
ศาลพระภูมิปากพลี 
ศาลพระภูมิบ้านนา 
ศาลพระภูมิองครักษ์
 
Engine by shopup.com