ไมโครลิสซิ่ง ขวัญใจสิบล้อ กำลังจะเข้าตลาดหุ้น
หมวดหมู่สินค้า: A222 สินเชื่อรถบรรทุก
27 กุมภาพันธ์ 2565
ผู้ชม 164 ผู้ชม
สินเชื่อรถแลกเงิน รถเข้าไฟแนนซ์
สินเชื่อรถตู้
ไฟแนนซ์รถบรรทุก 6ล้อ10ล้อ-พ่วง | ไม่เช็คเครดิต ไม่เช็คแบล็คลิส
จัดไฟแนนซ์รถตู้ รีไฟแนนซ์รถตู้
ไฟแนนซ์ยึดรถ
ย้ายไฟแนนซ์รถสิบล้อ
ย้ายไฟแนนซ์รถสิบล้อ
ไฟแนนซ์รถหกล้อ
รับปิดบัญชีรถรถเทเลอร์
สินเชื่อรถแบคโฮ
รถแลกเงินรถพ่วง
จัดไฟแนนซ์รถตู้
จํานําทะเบียนรถรถบัส
ไฟแนนซ์รถตู้มือสอง
ลิสซิ่งรถบรรทุก
"ไมโครลิสซิ่ง ขวัญใจสิบล้อ" กำลังจะเข้าตลาดหุ้น
บมจ.ไมโครลิสซิ่ง (MICRO) ประกอบธุรกิจให้บริการสินเชื่อเช่าซื้อรถบรรทุกมือสอง เช่น รถบรรทุก 6 ล้อ 10 ล้อ และ 12 ล้อ สำหรับใช้ในการประกอบธุรกิจ เช่น อีซูซุ ฮีโน่ และฟูโซ่ เป็นต้น
ปัจจุบัน มีสาขาทั้งหมด 12 สาขา กระจายอยู่ทั่วประเทศ โดยมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ จ.นครปฐม เพราะในช่วงแรกของการทำธุรกิจเริ่มจากลูกค้าใน จ.นครปฐม เป็นหลัก
MICRO เป็นบริษัทรายแรกและรายเดียวในตลาดหุ้น ที่มีพอร์ตสินเชื่อเกือบทั้งหมดเป็นรถบรรทุกมือ 2 หรือคิดเป็นสัดส่วนประมาณ 95% ของยอดจัดสินเชื่อทั้งหมด
รายได้หลักของบริษัท มาจากรายได้ดอกเบี้ยรับจากสัญญาเช่าซื้อรถบรรทุกมือ 2 ที่เหลือมาจากสินเชื่อเพิ่มสภาพคล่องและสินเชื่อรีไฟแนนซ์
มูลค่าตลาดรถบรรทุกมือ 2 อยู่ที่ประมาณ 20,000 ล้านบาทต่อปี บริษัทฯ มีส่วนแบ่งการตลาด 5% และมองว่ายังมีโอกาสเติบโตในตลาดนี้ได้อีกมาก
บริษัทกำลังจะเสนอขายหุ้นไอพีโอ เพื่อเข้าระดมทุนในตลาดหุ้น คาดเข้าเทรดต้นเดือน ต.ค.นี้ เงินส่วนหนึ่งนำไปชำระหนี้ และอีกส่วนไว้ขยายธุรกิจ
“อนุมัติไว ขวัญใจ สิบล้อ” ประโยคนี้บนหน้าเว็บไซต์ น่าจะเป็นประโยคที่บอกถึงธุรกิจของ MICRO ได้เป็นอย่างดี กับวิสัยทัศน์ที่จะเป็น "ผู้นำบริการด้านสินเชื่อรถบรรทุกมือสองของประเทศ" ภายใต้สโลแกน “ไมโครลิสซิ่ง ขวัญใจสิบล้อ”
MICRO ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2537 โดยนายธรรมศักดิ์ อัชญาวัฒน์และครอบครัว เป็นแกนนำในการก่อตั้ง ร่วมกับผู้ถือหุ้นอื่นๆ อีก 30 ราย เริ่มแรกดำเนินธุรกิจให้บริการสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์มือสอง ต่อมาบริษัทได้หันมามุ่งเน้นสินเชื่อรถเชิงพาณิชย์ เช่น รถบรรทุก 6 ล้อ 10 ล้อ และ 12 ล้อ เป็นหลัก
MICRO กำลังจะเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ต่อจากรุ่นพี่ ASK THANI MTC และ SAWAD แม้จะเป็นน้องใหม่แต่จริงๆ แล้วประกอบธุรกิจให้สินเชื่อรถบรรทุกมือ 2 มาแล้ว 26 ปี
บุคคลที่จะมาถ่ายทอดเรื่องราวของ MICRO ในวันนี้คือ “วินิตย์ ปิยะเมธาง” ตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ แม้เขาจะไม่ใช่ผู้ก่อตั้ง แต่จากการที่เรามีโอกาสได้พูดคุยบอกได้เลยว่า “วินิตย์” คือกำลังสำคัญในการนำทัพไมโครฯ เดินหน้าเปลี่ยนผ่านสู่การเป็นบริษัทมหาชน
คำถามแรกของเราคือ "วินิตย์" เป็นใคร? เนื่องจากเมื่อศึกษาข้อมูลประวัติบริษัทพบว่าเขาไม่ใช่ผู้ก่อตั้ง "วินิตย์" ในวัย 63 ปีเริ่มต้นเล่าด้วยความกระฉับกระเฉงและเป็นกันเอง ราวกับรู้ว่าเราจะต้องเริ่มต้นด้วยคำถามนี้ เขาเล่าว่าแท้จริงแล้วเขาไม่ใช่ผู้ก่อตั้ง แต่ได้เข้ามาบริหารงานที่ MICRO ส่วนตัวนั้นเคยทำงานเป็นข้าราชการที่สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในด้านการวิเคราะห์นโยบายและแผนเป็นพิเศษ
นอกจากนี้ เขายังเป็นเพื่อนบ้านอยู่ในหมู่บ้านเดียวกับผู้ก่อตั้ง คือ "ธรรมศักดิ์ อัชญาวัฒน์" และเขามีตำแหน่งเป็นประธานหมู่บ้านอีกด้วย ดังนั้น ทั้งคู่จึงรู้จักกันมาก่อน ทำให้ช่วงแรก "วินิตย์" ได้มีโอกาสเข้ามาเป็นกรรมการอิสระที่ MICRO อยู่สักประมาณ 6-7 เดือน ก่อนที่ต่อมาเขาจะได้เข้ามานั่งในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการแทน "ธรรมศักดิ์ อัชญาวัฒน์" ผู้ก่อตั้งและดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการในขณะนั้น
เขาเล่าว่าการมาดำรงตำแหน่งดังกล่าว เกิดจากจากความไว้วางใจและการสนับสนุนของผู้ก่อตั้ง ที่เชื่อมั่นในฝีมือ และประสบการณ์ของตนเองในการบริหารงานในองค์กรขนาดใหญ่จากภาครัฐ ซึ่งจากประวัติของผู้บริหารพบว่า “วินิตย์” ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2561
ช่วงแรกๆ ของการเข้ามาเป็นกรรมการอิสระ วินิตย์ เล่าว่า เขามักจะทำเกินหน้าที่ไปอยู่บ้าง ทั้งให้คำแนะนำ เสนอแนะเรื่องราวต่างๆ หรือลงมือปฏิบัติในเรื่องที่สามารถช่วยได้ และยิ่งบริษัทเตรียมจะเข้าจดทะเบียนในตลาดหุ้น ก็ยิ่งต้องวางแผนกลยุทธ์ และแผนงานให้มีความเป็นมาตรฐาน ที่สำคัญ “วินิตย์” กล่าวว่า ตำแหน่งนี้เป็นตำแหน่งที่จะต้องพบปะสื่อสารกับสื่อมวลชน นักลงทุน ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งที่ตนเองสามารถช่วยสื่อสารได้ ด้วยเพราะมีประสบการณ์ตรงนี้มาก่อนในสมัยที่ทำงานอยู่ที่กระทรวงมหาดไทย
“วินิตย์” รับหน้าที่บริหารงานในฐานะหัวเรือใหญ่ โดยที่เขาไม่ได้มีสัดส่วนการถือหุ้นแต่อย่างใด ขณะที่กลุ่มครอบครัวนายธรรมศักดิ์ ในฐานะผู้ก่อตั้ง ยังคงเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ทั้งก่อนและหลังเสนอขายไอพีโอในสัดส่วน 74.6% และ 58.3% ตามลำดับ ปัจจุบัน "ธรรมศักดิ์ อัชญาวัฒน์" ดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัทฯ
MICRO ประสบการณ์ 26 ปีในธุรกิจลิสซิ่งรถบรรทุกมือสอง
“วินิตย์” เริ่มต้นเล่าถึงที่มาที่ไปของไมโครลิสซิ่งว่า เปิดกิจการมาประมาณ 26 ปี โดยกลุ่มผู้ก่อตั้งที่มีความเชี่ยวชาญและชำนาญในธุรกิจอะไหล่รถยนต์มายาวนาน ก่อนที่ต่อมาจะขยายมาทำธุรกิจลิสซิ่งรถบรรทุกมือสองเป็นธุรกิจหลัก จากความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ที่มีมายาวนาน ทำให้สิ่งนี้ กลายเป็นหนึ่งในจุดเด่นของ MICRO ในธุรกิจลิสซิ่งรถบรรทุกมือสอง
บริการสินเชื่อมี 3 ประเภท ได้แก่ 1.สินเชื่อสำหรับผู้ที่เริ่มต้นกิจการรถบรรทุก ใช้ในการขนส่งพวกพัสดุครุภัณฑ์ ผลิตผลต่างๆ 2.สินเชื่อเพิ่มสภาพคล่อง คือรถที่มีอยู่และปลอดภาระแล้วก็เอามาใช้บริการเพื่อเพิ่มสภาพคล่องไปดำเนินธุรกิจ และ 3.สินเชื่อรีไฟแนนซ์ ลูกค้าที่ใช้บริการเช่าซื้อผ่อนไปได้สัก 2-3 ปี ก็นำรถมารีไฟแนนซ์ ได้เงินส่วนต่างไปใช้ขยายธุรกิจ เพิ่มความคล่องตัว
สำหรับรถบรรทุกที่บริการอยู่จะมีอยู่ 3 ยี่ห้อเท่านั้น ซึ่งเป็นรถตลาด ซื้อง่ายขายคล่อง เป็นที่นิยม ได้แก่ อีซูซุ ฮีโน่ และฟูโซ่
***ขนาดพอร์ตสินเชื่อ 2.14 พันลบ. เป้าสิ้นปีนี้ 2.5 พันลบ.
“วินิตย์” กล่าวว่า พอร์ตสินเชื่อของ MICRO ณ สิ้นไตรมาส 2/63 อยู่ที่ประมาณ 2,140 ล้านบาท และคาดว่าภายในสิ้นปีนี้จะเพิ่มเป็น 2,500 ล้านบาท เหลือเวลาอีกไม่กี่เดือนแต่มั่นใจว่าจะทำได้ตามเป้า แม้ที่ผ่านมาจะได้รับผลกระทบจากโควิด-19 แต่ก็เพียงเล็กน้อย เนื่องจากลูกค้ามีหลายกลุ่มทำให้กระจายความเสี่ยงได้ดี
“ลูกค้าเรามีกระจายหลายกลุ่ม โดยลูกค้าที่เอารถบรรทุกไปใช้ในการขนส่งจะมีสัดส่วนมากสุดเกือบ 60% อีกประมาณ 20% เป็นพวกขนส่งวัสดุก่อสร้าง อิฐ หิน ดินทราย แล้วก็ประมาณ 17% ก็จะเป็นพวกเกษตร ที่เหลือก็เล็กๆ น้อยๆ เป็นรถเฉพาะกิจ ขนส่งน้ำมันบ้าง แก๊สบ้าง เพราะฉะนั้น เวลาที่เกิดวิกฤต ลูกค้าเราจะไม่ได้รับผลกระทบทุกกลุ่ม”
อย่างไตรมาส 2/63 ซึ่งเป็นไตรมาสที่ภาคธุรกิจจะได้รับผลกระทบจากจากโควิดชัดเจนที่สุด กลับกลายเป็นว่ากำไรของ MICRO กลับเพิ่มขึ้น โดย ณ ไตรมาส 2/63 กำไรเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 33 ล้านบาท จากไตรมาสก่อนหน้าที่ทำได้ 29 ล้านบาท สะท้อนให้เห็นว่าผลจากการแบ่ง segmentation ช่วยลดผลกระทบจากโควิด-19 ได้เป็นอย่างดี และนี่น่าจะเป็นวิกฤตที่หนักที่สุดแล้วของทุกธุรกิจ
สถานการณ์ NPL ลดลงสวนทางวิกฤตหนี้
เขากล่าวว่า ในวิกฤตโควิด-19 ลูกค้ายังมีความสามารถในการชำระหนี้ที่ดี เห็นได้จากการจำนวนยื่นคำขอเข้าโครงการพักชำระหนี้ของบริษัทมีเพียง 100 รายจากทั้งหมด 3,200 ราย และคัดออกมาแล้วเหลือจริงๆ เพียง 40 ราย
“40 รายนี้ปรากฏว่าจริงๆ แล้วก็ไม่ได้เดือดร้อน แค่เกิดอาการตกใจและมาขอเผื่อไว้เท่านั้นเอง เพราะว่าโดยปกติของธุรกิจรถบรรทุก เขาก็ต้องมีเงินสำรองไว้สำหรับค่าใช้จ่ายค่อนข้างจะสูงอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นค่าจ้างคนขับ ค่าซ่อม ค่าน้ำมัน ค่าอะไหล่ เพราะฉะนั้น เขาจะมีเงินทุนหมุนเวียนอยู่แล้วโดยปกติ”
กรรมการผู้จัดการ เล่าต่อว่า จำนวน NPL โดยรวมในภาวะวิกฤตรอบนี้ ลดลงสวนทางกับวิกฤตหนี้ในสถานการณ์โควิด โดยล่าสุด ณ ไตรมาส 2/63 อยู่ที่ 2.7% ของสินเชื่อรวม ยังไม่ทะลุจากเพดานที่กำหนดไว้คือ 3% เหตุผลเกิดจากความพยายามในการติดตามหนี้ทุกรูปแบบ การบูรณาการกำลังคน ทั้งส่วนกลางและสำนักงานใหญ่ ทั้งสาขา รวมทั้งทีมนอกที่จ้างมาเป็น 10 บริษัท
“ตอนที่ผมเข้าไปใหม่ๆ เมื่อประมาณปี 60, 61 NPL จากระดับ 12% ก็ลดลงมาเรื่อยๆ เหลือ 5% มาเป็น 4% จนกระทั่งไตรมาส 2 ที่ผ่านมาเหลือ 2.7% ซึ่งมันก็เป็นเป้าหมายที่เราตั้งใจไว้ว่าจะควบคุมไม่ให้เกิน 3% ในตอนที่เราเข้าตลาด ซึ่งเป็นตัวเลขที่น่าจะดูดีสำหรับธุรกิจลิสซิ่ง”
การประเมินราคารถ - คุณภาพลูกหนี้คือปัจจัยเสี่ยงสำคัญ
“ปัจจัยเสี่ยงคือเรื่องของการประเมินราคารถ อันนี้เป็นหัวใจเลย แล้วก็เรื่องของการคัดเลือกลูกค้าเข้ามา มันอยู่ที่ต้นน้ำ ถ้าคัดเลือกไม่ดีสิ่งที่ตามมาคือหนี้เสีย เพราะฉะนั้น เรามีระบบการคัดกรองลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นเครดิตบูโร Credit scoring หรือว่าทีมงานที่ในการในการติดตาม ซึ่งผลของมันจากตัวเลขมันก็ลดลงมาเรื่อยๆ จนกระทั่งเมื่อสิ้นไตรมาส 2 ของปี 63 อยู่ที่ 2.7%”
พอร์ตสินเชื่อ-กำไรย้อนหลัง 3 ปีเติบโตดี ราว 30% ต่อปี
ด้านผลประกอบการในอดีต “วินิตย์” เล่าว่า หากดูสถิติย้อนหลัง 3 ปี รายได้เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง จากระดับ 200 กว่าล้านบาทขึ้นมาเป็น 300 กว่าล้านบาท ซึ่งรายได้จะแปรผันตรงกับพอร์ตสินเชื่อ ซึ่งก็เติบโตอย่างต่อเนื่องเช่นกัน จากพอร์ตสินเชื่อ 1,200 ล้านบาท เป็น 1,500 ล้านบาท 2,000 ล้านบาท เมื่อปี62 และ 2,140 ล้านบาท ณ สิ้นไตรมาส 2/63 หรือเติบโตเกือบๆ 30% มาต่อเนื่อง และบริษัทฯ ก็พยายามจะควบคุมให้พอร์ตสินเชื่อโตไม่น้อยกว่า 30%
“พอร์ตสินเชื่อทุก 100 บาท เราจะได้กำไรเกิดขึ้นมาประมาณ 7 บาท และกำไรของเรามันก็โตมาตลอด ค่อนข้างจะดีประมาณ 30 กว่าเปอร์เซ็นต์เลยนะ ซึ่งหลังจากเข้าตลาดหุ้น เราก็พยายามจะรักษาระดับอัตราการเติบโตของพอร์ตสินเชื่อก็ดีหรือกำไรก็ดี เราก็มีเป้าหมายว่าไม่ควรจะต่ำกว่า 30% ขึ้นไป”
รายแรก-รายเดียวใน SET ที่พอร์ตหลักไฟแนนซ์รถบรรทุกมือสอง
เมื่อเราถามถึงจุดเด่นของบริษัทฯ “วินิตย์” เล่าว่ามีหลายประการด้วยกัน อย่างกำไรของบริษัท ถึงแม้ไมโครฯ จะเป็นบริษัทขนาดเล็กแต่อัตราการเติบโตของกำไรดีในระดับต้นๆ ของกลุ่ม คือเติบโตกว่า 30% ต่อปี ทีมผู้บริหารมีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ โดยทำธุรกิจนี้มาแล้ว 26 ปี ไม่นับรวมประสบการณ์เริ่มต้นของผู้ก่อตั้ง ที่ทำธุรกิจอะไหล่รถยนต์มาก่อนหน้านั้นหลายสิบปี
อนึ่ง ข้อมูลจากไฟลิ่งเผยถึงรายได้รวมในปี 2560 – 2562 อยู่ที่ 227.0 ล้านบาท 258.6 ล้านบาท และ 330.2 ล้านบาท ตามลำดับ ส่วนกำไรสุทธิ 60.8 ล้านบาท 89.9 ล้านบาท และ 110.8 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโตของกำไรสุทธิ (CAGR) สูงถึง 34.9% ต่อปี
“รถบรรทุกมือสองไม่ใช่ว่าใครจะเข้ามาทำก็ได้ ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง เพราะว่าปัจจัยสำคัญที่สุด คือ เรื่องของการประเมินราคารถ กลุ่มผู้ก่อตั้งขายอะไหล่รถยนต์มาก่อน เพราะฉะนั้นก็จะเข้าจะมีความรู้ และทักษะในการประเมินราคารถที่แม่นยำ”
MICRO ยังเป็นรายแรกและรายเดียวในตลาดหุ้น ที่ให้สินเชื่อรถบรรทุกมือสองเกือบทั้งหมด ต่างจากบริษัทอื่นที่ทำธุรกิจใกล้เคียงแต่จะมีหลายโพรดักส์ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า การเล่นโพรดักส์เดียวแล้วจะไม่มีความเสี่ยง บริษัทฯ ได้กระจายความเสี่ยงไปหลายกลุ่ม แต่มากสุดในกลุ่มขนส่งสินค้าอุปโภคบริโภค หรือกว่า 60% เพราะไม่ว่าจะเกิดวิกฤติอะไรก็ตาม แต่คนยังต้องกินต้องใช้ เห็นได้จากวิกฤตโควิด รายได้และกำไรของ MICRO ยังเติบโตดี
บริษัทที่จะนำมาเปรียบเทียบไม่ค่อยชัดเจนนัก เนื่องจาก MICRO เป็นรายเดียวที่เน้นพอร์ตหลักสินเชื่อรถบรรทุกมือสอง ส่วนรายอื่นจะมีหลากหลาย อย่างของ THANI และ ASK ก็จะมีทั้งการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถบรรทุกมือ 1 และมือ 2 ขณะที่ SAWAD หรือ MTC เน้นการปล่อยสินเชื่อจำนำทะเบียนรถ เพราะฉะนั้น เวลาเปรียบเทียบก็ต้องเทียบกลุ่มพวกนี้ทั้งหมด
ธุรกิจรถบรรทุกมือสอง ยิ่งอายุนาน ดอกเบี้ยยิ่งสูง ซึ่งบริษัทเน้นรถบรรทุกมือสองที่มีอายุ 10 ปีขึ้นไปคิดเป็นสัดส่วนถึง 60% ขณะที่รายอื่นเล่นรถอายุต่ำกว่า 10 ปี โดยอัตราดอกเบี้ยที่กำหนดในสัญญาเช่าซื้อจะเป็นแบบอัตราคงที่ (Flat Rate) อยู่ที่ 8-15%
มูลค่าตลาดรถบรรทุกมือสอง 2 หมื่นลบ. ยังกินเค้กแค่ 5%
สำหรับมูลค่าตลาดของรถบรรทุกมือสอง ปีละประมาณ 2 หมื่นกว่าล้าน
สินเชื่อรถแลกเงินเชียงราย
สินเชื่อรถแลกเงินเชียงใหม่
สินเชื่อรถแลกเงินน่าน
สินเชื่อรถแลกเงินพะเยา
สินเชื่อรถแลกเงินแพร่
สินเชื่อรถแลกเงินแม่ฮ่องสอน
สินเชื่อรถแลกเงินลำปาง
สินเชื่อรถแลกเงินลำพูน
สินเชื่อรถแลกเงินอุตรดิตถ์
สินเชื่อรถแลกเงินกาฬสินธุ์
สินเชื่อรถแลกเงินขอนแก่น
สินเชื่อรถแลกเงินชัยภูมิ
สินเชื่อรถแลกเงินนครพนม
สินเชื่อรถแลกเงินนครราชสีมา
สินเชื่อรถแลกเงินบึงกาฬ
สินเชื่อรถแลกเงินบุรีรัมย์
สินเชื่อรถแลกเงินมหาสารคาม
สินเชื่อรถแลกเงินมุกดาหาร
สินเชื่อรถแลกเงินยโสธร
สินเชื่อรถแลกเงินร้อยเอ็ด
สินเชื่อรถแลกเงินเลย
สินเชื่อรถแลกเงินสกลนคร
สินเชื่อรถแลกเงินสุรินทร์
สินเชื่อรถแลกเงินศรีสะเกษ
สินเชื่อรถแลกเงินหนองคาย
สินเชื่อรถแลกเงินหนองบัวลำภู
สินเชื่อรถแลกเงินอุดรธานี
สินเชื่อรถแลกเงินอุบลราชธานี
สินเชื่อรถแลกเงินอำนาจเจริญ
สินเชื่อรถแลกเงินกำแพงเพชร
สินเชื่อรถแลกเงินชัยนาท
สินเชื่อรถแลกเงินนครนายก
สินเชื่อรถแลกเงินนครปฐม
สินเชื่อรถแลกเงินนครสวรรค์
สินเชื่อรถแลกเงินนนทบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินปทุมธานี
สินเชื่อรถแลกเงินพระนครศรีอยุธยา
สินเชื่อรถแลกเงินพิจิตร
สินเชื่อรถแลกเงินพิษณุโลก
สินเชื่อรถแลกเงินเพชรบูรณ์
สินเชื่อรถแลกเงินลพบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินสมุทรปราการ
สินเชื่อรถแลกเงินสมุทรสงคราม
สินเชื่อรถแลกเงินสมุทรสาคร
สินเชื่อรถแลกเงินสิงห์บุรี
สินเชื่อรถแลกเงินสุโขทัย
สินเชื่อรถแลกเงินสุพรรณบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินสระบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินอ่างทอง
สินเชื่อรถแลกเงินอุทัยธานี
สินเชื่อรถแลกเงินจันทบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินฉะเชิงเทรา
สินเชื่อรถแลกเงินชลบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินตราด
สินเชื่อรถแลกเงินปราจีนบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินระยอง
สินเชื่อรถแลกเงินสระแก้ว
สินเชื่อรถแลกเงินกาญจนบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินตาก
สินเชื่อรถแลกเงินประจวบคีรีขันธ์
สินเชื่อรถแลกเงินเพชรบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินราชบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินกระบี่
สินเชื่อรถแลกเงินชุมพร
สินเชื่อรถแลกเงินตรัง
สินเชื่อรถแลกเงินนครศรีธรรมราช
สินเชื่อรถแลกเงินนราธิวาส
สินเชื่อรถแลกเงินปัตตานี
สินเชื่อรถแลกเงินพังงา
สินเชื่อรถแลกเงินพัทลุง
สินเชื่อรถแลกเงินภูเก็ต
สินเชื่อรถแลกเงินระนอง
สินเชื่อรถแลกเงินสตูล
สินเชื่อรถแลกเงินสงขลา
สินเชื่อรถแลกเงินสุราษฎร์ธานี
สินเชื่อรถแลกเงินยะลา
สินเชื่อรถแลกเงินกรุงเทพมหานคร
สินเชื่อรถแลกเงินคลองสาน
สินเชื่อรถแลกเงินคลองสามวา
สินเชื่อรถแลกเงินคลองเตย
สินเชื่อรถแลกเงินคันนายาว
สินเชื่อรถแลกเงินจอมทอง
สินเชื่อรถแลกเงินดอนเมือง
สินเชื่อรถแลกเงินดินแดง
สินเชื่อรถแลกเงินดุสิต
สินเชื่อรถแลกเงินตลิ่งชัน
สินเชื่อรถแลกเงินทวีวัฒนา
สินเชื่อรถแลกเงินทุ่งครุ
สินเชื่อรถแลกเงินธนบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินบางกอกน้อย
สินเชื่อรถแลกเงินบางกอกใหญ่
สินเชื่อรถแลกเงินบางกะปิ
สินเชื่อรถแลกเงินบางคอแหลม
สินเชื่อรถแลกเงินบางซื่อ
สินเชื่อรถแลกเงินบางนา
สินเชื่อรถแลกเงินบางพลัด
สินเชื่อรถแลกเงินบางรัก
สินเชื่อรถแลกเงินบางเขน
สินเชื่อรถแลกเงินบางแค
สินเชื่อรถแลกเงินบึงกุ่ม
สินเชื่อรถแลกเงินปทุมวัน
สินเชื่อรถแลกเงินประเวศ
สินเชื่อรถแลกเงินป้อมปราบศัตรูพ่าย
สินเชื่อรถแลกเงินพญาไท
สินเชื่อรถแลกเงินพระนคร
สินเชื่อรถแลกเงินพระโขนง
สินเชื่อรถแลกเงินภาษีเจริญ
สินเชื่อรถแลกเงินมีนบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินยานนาวา
สินเชื่อรถแลกเงินราชเทวี
สินเชื่อรถแลกเงินราษฎร์บูรณะ
สินเชื่อรถแลกเงินลาดกระบัง
สินเชื่อรถแลกเงินลาดพร้าว
สินเชื่อรถแลกเงินวังทองหลาง
สินเชื่อรถแลกเงินวัฒนา
สินเชื่อรถแลกเงินสวนหลวง
สินเชื่อรถแลกเงินสะพานสูง
สินเชื่อรถแลกเงินสัมพันธวงศ์
สินเชื่อรถแลกเงินสาทร
สินเชื่อรถแลกเงินสายไหม
สินเชื่อรถแลกเงินหนองจอก
สินเชื่อรถแลกเงินหนองแขม
สินเชื่อรถแลกเงินหลักสี่
สินเชื่อรถแลกเงินห้วยขวาง
สินเชื่อรถแลกเงินเมืองนครปฐม
สินเชื่อรถแลกเงินกำแพงแสน
สินเชื่อรถแลกเงินดอนตูม
สินเชื่อรถแลกเงินนครชัยศรี
สินเชื่อรถแลกเงินบางเลน
สินเชื่อรถแลกเงินพุทธมณฑล
สินเชื่อรถแลกเงินสามพราน
สินเชื่อรถแลกเงินเมืองนนทบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินบางกรวย
สินเชื่อรถแลกเงินบางบัวทอง
สินเชื่อรถแลกเงินบางใหญ่
สินเชื่อรถแลกเงินปากเกร็ด
สินเชื่อรถแลกเงินไทรน้อย
สินเชื่อรถแลกเงินเมืองปทุมธานี
สินเชื่อรถแลกเงินคลองหลวง
สินเชื่อรถแลกเงินธัญบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินลาดหลุมแก้ว
สินเชื่อรถแลกเงินลำลูกกา
สินเชื่อรถแลกเงินสามโคก
สินเชื่อรถแลกเงินหนองเสือ
สินเชื่อรถแลกเงินเมืองสมุทรปราการ
สินเชื่อรถแลกเงินบางพลี
สินเชื่อรถแลกเงินบางเสาธง
สินเชื่อรถแลกเงินพระประแดง
สินเชื่อรถแลกเงินพระสมุทรเจดีย์
สินเชื่อรถแลกเงินเมืองระยอง
สินเชื่อรถแลกเงินนิคมพัฒนา
สินเชื่อรถแลกเงินเขาชะเมา
สินเชื่อรถแลกเงินบ้านฉาง
สินเชื่อรถแลกเงินปลวกแดง
สินเชื่อรถแลกเงินวังจันทร์
สินเชื่อรถแลกเงินแกลง
สินเชื่อรถแลกเงินเมืองชลบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินเกาะจันทร์
สินเชื่อรถแลกเงินบางละมุง
สินเชื่อรถแลกเงินบ่อทอง
สินเชื่อรถแลกเงินบ้านบึง
สินเชื่อรถแลกเงินพนัสนิคม
สินเชื่อรถแลกเงินพานทอง
สินเชื่อรถแลกเงินศรีราชา
สินเชื่อรถแลกเงินสัตหีบ
สินเชื่อรถแลกเงินหนองใหญ่
สินเชื่อรถแลกเงินเกาะสีชัง
สินเชื่อรถแลกเงินเมืองสมุทรสาคร
สินเชื่อรถแลกเงินกระทุ่มแบน
สินเชื่อรถแลกเงินบ้านแพ้ว
สินเชื่อรถแลกเงินมหาชัย
สินเชื่อรถแลกเงินเมืองสมุทร
สินเชื่อรถแลกเงินอัมพวา
สินเชื่อรถแลกเงินบางคนที
สินเชื่อรถแลกเงินเมืองราชบุรี
สินเชื่อรถแลกเงินบ้านคา
สินเชื่อรถแลกเงินจอมบึง
สินเชื่อรถแลกเงินดำเนินสะดวก
สินเชื่อรถแลกเงินบางแพ
สินเชื่อรถแลกเงินบ้านโป่ง
สินเชื่อรถแลกเงินปากท่อ
สินเชื่อรถแลกเงินวัดเพลง
สินเชื่อรถแลกเงินสวนผึ้ง
สินเชื่อรถแลกเงินโพธาราม
สินเชื่อรถแลกเงินเมืองฉะเชิงเทรา
สินเชื่อรถแลกเงินคลองเขื่อน
สินเชื่อรถแลกเงินท่าตะเกียบ
สินเชื่อรถแลกเงินบางคล้า
สินเชื่อรถแลกเงินบางน้ำเปรี้ยว
สินเชื่อรถแลกเงินบางปะกง
สินเชื่อรถแลกเงินบ้านโพธิ์
สินเชื่อรถแลกเงินพนมสารคาม
สินเชื่อรถแลกเงินราชสาส์น
สินเชื่อรถแลกเงินสนามชัยเขต
สินเชื่อรถแลกเงินแปลงยาว
สินเชื่อรถแลกเงินเมืองนครนายก
สินเชื่อรถแลกเงินปากพลี
สินเชื่อรถแลกเงินบ้านนา
สินเชื่อรถแลกเงินองครักษ์