9361954

4 ข้อควรรู้ก่อนใช้บริการ เสาเข็มเจาะ เสาเข็มตอก มีอะไรบ้างมาดูกัน

หมวดหมู่สินค้า: A196 เข็มเจาะไมโครไพล์

27 กุมภาพันธ์ 2565

ผู้ชม 232 ผู้ชม

บริษัทรับเหมาตอกเสาเข็ม ไมโครไพล์ เสาเข็มเจาะ เสาเข็มสปัน เน้นคุณภาพ รวดเร็วทันเวลา ราคาโรงงานกดเข็มไฮโดรลิคไมโครไพล์ แก้ปัญหาบ้านทรุดตัว เข้าพื้นที่แคบได้ ดูหน้างานฟรี ผลงานของเรา
เสาเข็มเจาะ
บริษัทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์
เสาเข็มตอก
รับตอกเสาไมโครไพล์
รับตอกเสาเข็ม
ตอกเสาเข็ม Micropile
ปั้นจั่นตอกเสาเข็ม
รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์
ราคาเข็มเจาะ
ลงเสาเข็มราคา
 
                                ติดต่อสอบถาม     



4 ข้อควรรู้ก่อนใช้บริการ เสาเข็มเจาะ เสาเข็มตอก มีอะไรบ้างมาดูกัน
 
1.เสาเข็มเจาะ คืออะไร
การก่อสร้างอาคารและสถานที่ในปัจจุบันนี้ เสาเข็มถือว่าเข้ามามีบทบาทสำคัญกับงานก่อสร้างทุกรูปแบบ ด้วยความแข็งแรงและได้มาตรฐานของอาคารสถานที่ที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้ผู้รับเหมาบางรายและเจ้าของบ้านเลือกที่จะลงเสาเข็มเพื่อเสริมความแข็งแรงของอาคารและบ้านเรือนตน ซึ่งเสาเข็มมีหลายประเภท แต่ประเภทหนึ่งที่ได้รับความนิยมคงต้องยกให้ เสาเข็มแบบเจาะ
 
เสาเข็มเจาะ คืออะไร
 
            เสาเข็มเจาะ เป็นเสาเข็มที่นิยมใช้งานในบริเวณที่มีพื้นที่จำกัดหรืออยู่ในบริเวณที่มีบ้านเรือนติดกันเป็นจำนวนมาก โดยรูปแบบของการขุดเจาะนั้นจะเจาะลงไปในดินและเอาดินออกจนถึงระดับที่ต้องการ  ตามด้วยการใส่โครงเหล็ก จากนั้นเทคอนกรีตลงไปในหลุมที่ขุดเจาะเพื่อขึ้นรูปเป็นเสาเข็ม ซึ่งวิธีการนี้จะไม่ส่งผลกระทบต่ออาคารบ้านเรือนที่อยู่ใกล้กับบริเวณที่มีการก่อสร้าง แตกต่างจากเสาเข็มแบบตอก ที่ต้องใช้เครื่องตอกเสาเข็มลงไปในดิน เกิดการสั่นสะเทือนและเกิดเสียดังเป็นบริเวณกว้าง
 
ในปัจจุบันเสาเข็มแบบเจาะมีให้เลือกหลาหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเสาเข็มเจาะระบบแห้ง  เสาเข็มเจาะระบบเปียก เสาเข็มเจาะแบบไมโครไพล์และเสาเข็มเจาะแบบพิเศษ ซึ่งแต่ละรูปแบบนั้นจะมีขั้นตอนในการขุดเจาะและการลงเสาเข็มที่แตกต่างกัน โดยส่วนใหญ่แล้วเจ้าของอาคารอาจเป็นผู้เลือกหรือผู้รับเหมาเป็นผู้เลือกให้ตามความเหมาะสม ซึ่งข้อเสียของเสาเข็มแบบเจาะนั้นคงเป็นเรื่องของราคาที่แพงกว่าเสาเข็มแบบตอกพอสมควร แต่หากให้เปรียบเทียบกันในเรื่องของข้อดี ก็คงต้องยกให้เสาเข็มแบบเจาะที่มีข้อดีมากกว่าหลายประการเช่นกัน…
 
2.วิธีการคำนวณการรับน้ำหนักของเสาเข็มเจาะ
ปริมาณเสาเข็มจะขึ้นอยู่กับการรับน้ำหนักทั้งหมด โดยสามารถให้ผู้ออกแบบกำหนดให้ ส่วนระยะห่างของการเจาะเสาเข็มกับผนังอาคาร หากเราต้องการเจาะเสาเข็มเจาะ ใกล้กับผนังอาคาร หรือ รั้ว ระยะห่างของเสาเข็มที่น้อยที่สุด โดยปกติแล้วหากเสามีขนาด 35 ต้องห่างอย่างน้อย 70-80 ซม. และหากเสามีขนาด 50 ต้องห่างอย่างน้อย 90-100 ซม. ส่วนการออกแบบระยะและขนาดของ เสาเข็มเจาะ ต้องมีการคำนวณจากวิศวกรหรือผู้ออกแบบที่มีความชำนาญและต้องคำนึงถึงการรับน้ำหนักและแบบของสิ่งปลูกสร้าง ดังนั้นระยะห่างของเสาเข็มอาจเท่ากันหรือไม่เท่ากันก็ได้ ขึ้นอยู่กับการออกแบบขนาดของเสาเข็ม และการรับน้ำหนัก
 
ทั้งนี้โดยทั่วไปแล้วขนาดของเสาเข็มเจาะมาตรฐานที่มีให้บริการมี 4 ขนาดคือ เส้นผ่าศูนย์กลาง 35 เซนติเมตร, เส้นผ่าศูนย์กลาง 40 เซนติเมตร, เส้นผ่าศูนย์กลาง 50 เซนติเมตร และเส้นผ่าศูนย์ลาง 60 เซนติเมตร
 
ความลึกของเข็มในตารางขึ้นอยู่กับลักษณะกายภาพของดินในบริเวณนั้นๆ
การรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มเป็นการ ประมาณจาก สภาพดิน ทั่วไปในบริเวณกรุงเทพฯ
การรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มเป็นค่าประมาณ (คำนวณมาจากเงื่อนไขของ กำลังอัดคอนกรีตที่อายุ 28 วัน(Fc’) ที่ 175 ksc, เหล็กเสริม ขนาด DB 12 mm. SD40 + เหล็กปลอกเกลียว ขนาด RB6 mm. @ 0.25 SD24)
 
สรุปคือการรับน้ำหนักของเสาเข็มเจาะ จะต้องให้วิศวกรผู้เชี่ยวชาญเป็นคนคำนวณหรือประเมินค่าอีกครั้ง เพราะบ้านหรืออาคารที่ก่อสร้างต้องคำนึงถึงความปลอดภัยมาเป็นอันดับหนึ่ง
 
 
3.เสาเข็มเจาะเสาเข็มตอก ต่างกันอย่างไร
เราสามารถแบ่งประเภทของเสาเข็มออกได้เป็น 2 ประเภท นั่นคือเสาเข็มเจาะและเสาเข็มตอก เสาเข็มทั้งสองชนิดนี้มีการเลือกใช้งานที่แตกต่างกัน ลองมาดูกันดีกว่าแตกต่างกันอย่างไร
 
มาเริ่มกันที่เสาเข็มเจาะ ความหมายที่เห็นชัดคือการเจาะ เพราะฉะนั้นเสาเข็มเจาะ คือ การเจาะดินลงไปก่อน แล้วหย่อนแม่แบบเหล็กลงไปแล้วจึงเทคอนกรีตตามลงไป สำหรับเสาเข็มเจาะแบบแห้ง เป็นระบบเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก ส่วนใหญ่จะลึกไม่เกิน 20 เมตร วิธีการก็คือเจาะดินลงไป (แบบแห้งๆ) แล้วก็หย่อนเหล็กเทคอนกรีตลงไปในหลุม ราคาจะแพงกว่าระบบเข็มตอก แต่เกิดมลภาวะน้อยกว่า  ส่วนเสาเข็มเจาะแบบเปียก ทำเหมือนเสาเข็มเจาะแห้ง แต่เวลาขุดดินจะขุดลึก ๆ แล้วใส่ สารเคมี ลงไปเคลือบผิวหลุมดินที่เจาะให้ทำหน้าที่เป็นตัวยึดประสานดิน และกันดินไม่ให้ พังทลายลงเวลาเจาะลึก ๆ (ซึ่งสามารถเจาะได้ลึกกว่า 70 เมตร ) รับน้ำหนักได้มาก และเกิด มลภาวะน้อย แต่ราคาแพง เข็มเจาะจะมีราคาสูงกว่าเข็มตอก แต่จะทำให้ไม่เกิดแรงสั่น สะเทือน
 
ส่วนเสาเข็มตอก คำว่าตอก คือใช้กำลังตอกลงไป อาจใช้กำลังคน หรือเครื่องจักรก็ได้ มีทั้งเสาเข็มแบบตันและแบบกลวง  ถ้าเป็นเสาเข็มกลมกลวง สามารถรับแรงได้มากกว่าเสาเข็มแบบ เวลาตอกส่วนใหญ่จะขุดเป็นหลุมก่อนแล้วกดเสาเข็มลงไป พอถึงระดับที่ต้องการจึงจะเริ่มตอก
 
เสาเข็มเจาะและเสาเข็มตอกจึงแตกต่างกันที่วิธีการ ขนาด และก็ผลต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดรวมไปจนถึงเรื่องของราคา เสาเข็มเจาะคือการเจาะดินลงไปก่อนแล้วจึงหย่อนเสาลงไป ราคาแพง แต่กระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า คุณภาพอาจไม่ทนทานเท่าเสาเข็มตอก ส่วนเสาเข็มตอกนั้นไม่ต้องเจาะดินก่อน แต่ใช้กำลังคนหรือเครื่องจักรตอก ราคาถูกว่าเสาเข็มเจาะ ทนทานมากกว่าเสาเข็มเจาะ แต่การขนย้ายอุปกรณ์ค่อนข้างลำบาก และที่สำคัญคือมีเสียงน่ารำคาญกระทบต่อบริเวณใกล้เคียงเป็นอย่างมาก
 
 
4.เสาเข็มมีกี่ประเภท
เสาเข็มโดยทั่วไปแยกสำคัญ 2 ประเภทกว้างๆ คือ เสาเข็มตอก และ เสาเข็ม  โดยเสาเข็มตอก และเสาเข็มเจาะยังสามารถแยกย่อยและลงรายละเอียดตามลักษณะสำคัญๆ ของเสาเข็มดังต่อไปนี้
 
เสาเข็มตอก
 
เสาเข็มตอกมีหลายชนิดที่ใช้กันอยู่ได้แก่
- เสาเข็มไม้ ซึ่งใช้กันมานาน แต่ในปัจจุบันเสาเข็มไม้ที่ดีมีคุณภาพหายากและมีราคาแพง
- เสาเข็มเหล็ก ที่ใช้ส่วนใหญ่มักจะเป็นเสาเข็มเหล็กรูปตัว H เพราะสามารถทำการตอกลงดินได้ง่าย และรับน้ำหนักบรรทุกได้ดี
- เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงหล่อสำเร็จ ซึ่งเป็นที่นิยมในปัจจุบัน
- เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยงอัดแรง หรือที่เรียกว่าเสาเข็มสปัน เป็นเสาเข็มที่ใช้กรรมวิธีการปั่นคอนกรีตในแบบหล่อซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูง จึงมีความแข็งแกร่งสูง รับน้ำหนักได้มาก
 
เสาเข็มเจาะ
เหมาะกับการใช้งานในพื้นที่จำกัด ได้แก่
- เสาเข็มเจาะระบบแห้ง เป็นระบบเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก ส่วนใหญ่จะลึกไม่เกิน 20 ม. เสาเข็มเจาะประเภทนี้มีหน้าตัดเป็นวงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 60 ซม.
- เสาเข็มเจาะระบบเปียก ทำเหมือนเสาเข็มเจาะแห้ง แต่เวลาขุดดินจะขุดลึกๆ แล้วใส่สารเคมี เช่น Bentonite ลงไปเคลือบผิวหลุมดินที่เจาะ ทำหน้าที่เป็นตัวยึดประสานดินและกันดินไม่ให้พังทลายลงเวลาเจาะลึกๆ
- เสาเข็มเจาะแบบ ไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 25 ซม. ใช้มากในงานซ่อมแซมอาคารหรือต่อเติมบริเวณที่มีพื้นที่ในการทำงานน้อยๆ
- เสาเข็มเจาะแบบพิเศษ เป็นส่วนหนึ่งของเสาเข็มระบบเปียกแต่จะมีหน้าตัด รูปแบบต่างๆ แตกต่างกันออกไป เช่น หน้าตัดรูปตัว H รูปตัว T หรือเป็นรูปเครื่องหมายบวก4 ข้อควรรู้ก่อนใช้บริการ เสาเข็มเจาะ เสาเข็มตอก มีอะไรบ้างมาดูกัน
 
1.เสาเข็มเจาะ คืออะไร
การก่อสร้างอาคารและสถานที่ในปัจจุบันนี้ เสาเข็มถือว่าเข้ามามีบทบาทสำคัญกับงานก่อสร้างทุกรูปแบบ ด้วยความแข็งแรงและได้มาตรฐานของอาคารสถานที่ที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้ผู้รับเหมาบางรายและเจ้าของบ้านเลือกที่จะลงเสาเข็มเพื่อเสริมความแข็งแรงของอาคารและบ้านเรือนตน ซึ่งเสาเข็มมีหลายประเภท แต่ประเภทหนึ่งที่ได้รับความนิยมคงต้องยกให้ เสาเข็มแบบเจาะ
 
เสาเข็มเจาะ คืออะไร
 
            เสาเข็มเจาะ เป็นเสาเข็มที่นิยมใช้งานในบริเวณที่มีพื้นที่จำกัดหรืออยู่ในบริเวณที่มีบ้านเรือนติดกันเป็นจำนวนมาก โดยรูปแบบของการขุดเจาะนั้นจะเจาะลงไปในดินและเอาดินออกจนถึงระดับที่ต้องการ  ตามด้วยการใส่โครงเหล็ก จากนั้นเทคอนกรีตลงไปในหลุมที่ขุดเจาะเพื่อขึ้นรูปเป็นเสาเข็ม ซึ่งวิธีการนี้จะไม่ส่งผลกระทบต่ออาคารบ้านเรือนที่อยู่ใกล้กับบริเวณที่มีการก่อสร้าง แตกต่างจากเสาเข็มแบบตอก ที่ต้องใช้เครื่องตอกเสาเข็มลงไปในดิน เกิดการสั่นสะเทือนและเกิดเสียดังเป็นบริเวณกว้าง
 
ในปัจจุบันเสาเข็มแบบเจาะมีให้เลือกหลาหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเสาเข็มเจาะระบบแห้ง  เสาเข็มเจาะระบบเปียก เสาเข็มเจาะแบบไมโครไพล์และเสาเข็มเจาะแบบพิเศษ ซึ่งแต่ละรูปแบบนั้นจะมีขั้นตอนในการขุดเจาะและการลงเสาเข็มที่แตกต่างกัน โดยส่วนใหญ่แล้วเจ้าของอาคารอาจเป็นผู้เลือกหรือผู้รับเหมาเป็นผู้เลือกให้ตามความเหมาะสม ซึ่งข้อเสียของเสาเข็มแบบเจาะนั้นคงเป็นเรื่องของราคาที่แพงกว่าเสาเข็มแบบตอกพอสมควร แต่หากให้เปรียบเทียบกันในเรื่องของข้อดี ก็คงต้องยกให้เสาเข็มแบบเจาะที่มีข้อดีมากกว่าหลายประการเช่นกัน…
 
2.วิธีการคำนวณการรับน้ำหนักของเสาเข็มเจาะ
ปริมาณเสาเข็มจะขึ้นอยู่กับการรับน้ำหนักทั้งหมด โดยสามารถให้ผู้ออกแบบกำหนดให้ ส่วนระยะห่างของการเจาะเสาเข็มกับผนังอาคาร หากเราต้องการเจาะเสาเข็มเจาะ ใกล้กับผนังอาคาร หรือ รั้ว ระยะห่างของเสาเข็มที่น้อยที่สุด โดยปกติแล้วหากเสามีขนาด 35 ต้องห่างอย่างน้อย 70-80 ซม. และหากเสามีขนาด 50 ต้องห่างอย่างน้อย 90-100 ซม. ส่วนการออกแบบระยะและขนาดของ เสาเข็มเจาะ ต้องมีการคำนวณจากวิศวกรหรือผู้ออกแบบที่มีความชำนาญและต้องคำนึงถึงการรับน้ำหนักและแบบของสิ่งปลูกสร้าง ดังนั้นระยะห่างของเสาเข็มอาจเท่ากันหรือไม่เท่ากันก็ได้ ขึ้นอยู่กับการออกแบบขนาดของเสาเข็ม และการรับน้ำหนัก
 
ทั้งนี้โดยทั่วไปแล้วขนาดของเสาเข็มเจาะมาตรฐานที่มีให้บริการมี 4 ขนาดคือ เส้นผ่าศูนย์กลาง 35 เซนติเมตร, เส้นผ่าศูนย์กลาง 40 เซนติเมตร, เส้นผ่าศูนย์กลาง 50 เซนติเมตร และเส้นผ่าศูนย์ลาง 60 เซนติเมตร
 
 
ความลึกของเข็มในตารางขึ้นอยู่กับลักษณะกายภาพของดินในบริเวณนั้นๆ
การรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มเป็นการ ประมาณจาก สภาพดิน ทั่วไปในบริเวณกรุงเทพฯ
การรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มเป็นค่าประมาณ (คำนวณมาจากเงื่อนไขของ กำลังอัดคอนกรีตที่อายุ 28 วัน(Fc’) ที่ 175 ksc, เหล็กเสริม ขนาด DB 12 mm. SD40 + เหล็กปลอกเกลียว ขนาด RB6 mm. @ 0.25 SD24)
 
สรุปคือการรับน้ำหนักของเสาเข็มเจาะ จะต้องให้วิศวกรผู้เชี่ยวชาญเป็นคนคำนวณหรือประเมินค่าอีกครั้ง เพราะบ้านหรืออาคารที่ก่อสร้างต้องคำนึงถึงความปลอดภัยมาเป็นอันดับหนึ่ง
 
 
3.เสาเข็มเจาะเสาเข็มตอก ต่างกันอย่างไร
เราสามารถแบ่งประเภทของเสาเข็มออกได้เป็น 2 ประเภท นั่นคือเสาเข็มเจาะและเสาเข็มตอก เสาเข็มทั้งสองชนิดนี้มีการเลือกใช้งานที่แตกต่างกัน ลองมาดูกันดีกว่าแตกต่างกันอย่างไร
 
มาเริ่มกันที่เสาเข็มเจาะ ความหมายที่เห็นชัดคือการเจาะ เพราะฉะนั้นเสาเข็มเจาะ คือ การเจาะดินลงไปก่อน แล้วหย่อนแม่แบบเหล็กลงไปแล้วจึงเทคอนกรีตตามลงไป สำหรับเสาเข็มเจาะแบบแห้ง เป็นระบบเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก ส่วนใหญ่จะลึกไม่เกิน 20 เมตร วิธีการก็คือเจาะดินลงไป (แบบแห้งๆ) แล้วก็หย่อนเหล็กเทคอนกรีตลงไปในหลุม ราคาจะแพงกว่าระบบเข็มตอก แต่เกิดมลภาวะน้อยกว่า  ส่วนเสาเข็มเจาะแบบเปียก ทำเหมือนเสาเข็มเจาะแห้ง แต่เวลาขุดดินจะขุดลึก ๆ แล้วใส่ สารเคมี ลงไปเคลือบผิวหลุมดินที่เจาะให้ทำหน้าที่เป็นตัวยึดประสานดิน และกันดินไม่ให้ พังทลายลงเวลาเจาะลึก ๆ (ซึ่งสามารถเจาะได้ลึกกว่า 70 เมตร ) รับน้ำหนักได้มาก และเกิด มลภาวะน้อย แต่ราคาแพง เข็มเจาะจะมีราคาสูงกว่าเข็มตอก แต่จะทำให้ไม่เกิดแรงสั่น สะเทือน
 
ส่วนเสาเข็มตอก คำว่าตอก คือใช้กำลังตอกลงไป อาจใช้กำลังคน หรือเครื่องจักรก็ได้ มีทั้งเสาเข็มแบบตันและแบบกลวง  ถ้าเป็นเสาเข็มกลมกลวง สามารถรับแรงได้มากกว่าเสาเข็มแบบ เวลาตอกส่วนใหญ่จะขุดเป็นหลุมก่อนแล้วกดเสาเข็มลงไป พอถึงระดับที่ต้องการจึงจะเริ่มตอก
 
เสาเข็มเจาะและเสาเข็มตอกจึงแตกต่างกันที่วิธีการ ขนาด และก็ผลต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดรวมไปจนถึงเรื่องของราคา เสาเข็มเจาะคือการเจาะดินลงไปก่อนแล้วจึงหย่อนเสาลงไป ราคาแพง แต่กระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า คุณภาพอาจไม่ทนทานเท่าเสาเข็มตอก ส่วนเสาเข็มตอกนั้นไม่ต้องเจาะดินก่อน แต่ใช้กำลังคนหรือเครื่องจักรตอก ราคาถูกว่าเสาเข็มเจาะ ทนทานมากกว่าเสาเข็มเจาะ แต่การขนย้ายอุปกรณ์ค่อนข้างลำบาก และที่สำคัญคือมีเสียงน่ารำคาญกระทบต่อบริเวณใกล้เคียงเป็นอย่างมาก
 
 
4.เสาเข็มมีกี่ประเภท
เสาเข็มโดยทั่วไปแยกสำคัญ 2 ประเภทกว้างๆ คือ เสาเข็มตอก และ เสาเข็ม  โดยเสาเข็มตอก และเสาเข็มเจาะยังสามารถแยกย่อยและลงรายละเอียดตามลักษณะสำคัญๆ ของเสาเข็มดังต่อไปนี้
 
 
เสาเข็มตอก
 
เสาเข็มตอกมีหลายชนิดที่ใช้กันอยู่ได้แก่
- เสาเข็มไม้ ซึ่งใช้กันมานาน แต่ในปัจจุบันเสาเข็มไม้ที่ดีมีคุณภาพหายากและมีราคาแพง
- เสาเข็มเหล็ก ที่ใช้ส่วนใหญ่มักจะเป็นเสาเข็มเหล็กรูปตัว H เพราะสามารถทำการตอกลงดินได้ง่าย และรับน้ำหนักบรรทุกได้ดี
- เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงหล่อสำเร็จ ซึ่งเป็นที่นิยมในปัจจุบัน
- เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยงอัดแรง หรือที่เรียกว่าเสาเข็มสปัน เป็นเสาเข็มที่ใช้กรรมวิธีการปั่นคอนกรีตในแบบหล่อซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูง จึงมีความแข็งแกร่งสูง รับน้ำหนักได้มาก
 
เสาเข็มเจาะ
เหมาะกับการใช้งานในพื้นที่จำกัด ได้แก่
- เสาเข็มเจาะระบบแห้ง เป็นระบบเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก ส่วนใหญ่จะลึกไม่เกิน 20 ม. เสาเข็มเจาะประเภทนี้มีหน้าตัดเป็นวงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 60 ซม.
- เสาเข็มเจาะระบบเปียก ทำเหมือนเสาเข็มเจาะแห้ง แต่เวลาขุดดินจะขุดลึกๆ แล้วใส่สารเคมี เช่น Bentonite ลงไปเคลือบผิวหลุมดินที่เจาะ ทำหน้าที่เป็นตัวยึดประสานดินและกันดินไม่ให้พังทลายลงเวลาเจาะลึกๆ
- เสาเข็มเจาะแบบ ไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 25 ซม. ใช้มากในงานซ่อมแซมอาคารหรือต่อเติมบริเวณที่มีพื้นที่ในการทำงานน้อยๆ
- เสาเข็มเจาะแบบพิเศษ เป็นส่วนหนึ่งของเสาเข็มระบบเปียกแต่จะมีหน้าตัด รูปแบบต่างๆ แตกต่างกันออกไป เช่น หน้าตัดรูปตัว H รูปตัว T หรือเป็นรูปเครื่องหมายบวก


เข็มเจาะเชียงราย 
เข็มเจาะเชียงใหม่ 
เข็มเจาะน่าน 
เข็มเจาะพะเยา 
เข็มเจาะแพร่ 
เข็มเจาะแม่ฮ่องสอน 
เข็มเจาะลำปาง 
เข็มเจาะลำพูน 
เข็มเจาะอุตรดิตถ์
เข็มเจาะกาฬสินธุ์ 
เข็มเจาะขอนแก่น 
เข็มเจาะชัยภูมิ 
เข็มเจาะนครพนม 
เข็มเจาะนครราชสีมา 
เข็มเจาะบึงกาฬ 
เข็มเจาะบุรีรัมย์ 
เข็มเจาะมหาสารคาม 
เข็มเจาะมุกดาหาร 
เข็มเจาะยโสธร 
เข็มเจาะร้อยเอ็ด 
เข็มเจาะเลย 
เข็มเจาะสกลนคร 
เข็มเจาะสุรินทร์ 
เข็มเจาะศรีสะเกษ 
เข็มเจาะหนองคาย 
เข็มเจาะหนองบัวลำภู 
เข็มเจาะอุดรธานี 
เข็มเจาะอุบลราชธานี 
เข็มเจาะอำนาจเจริญ 
เข็มเจาะกำแพงเพชร 
เข็มเจาะชัยนาท 
เข็มเจาะนครนายก 
เข็มเจาะนครปฐม 
เข็มเจาะนครสวรรค์ 
เข็มเจาะนนทบุรี 
เข็มเจาะปทุมธานี 
เข็มเจาะพระนครศรีอยุธยา 
เข็มเจาะพิจิตร 
เข็มเจาะพิษณุโลก 
เข็มเจาะเพชรบูรณ์ 
เข็มเจาะลพบุรี 
เข็มเจาะสมุทรปราการ 
เข็มเจาะสมุทรสงคราม 
เข็มเจาะสมุทรสาคร 
เข็มเจาะสิงห์บุรี 
เข็มเจาะสุโขทัย 
เข็มเจาะสุพรรณบุรี 
เข็มเจาะสระบุรี 
เข็มเจาะอ่างทอง 
เข็มเจาะอุทัยธานี 
เข็มเจาะจันทบุรี 
เข็มเจาะฉะเชิงเทรา 
เข็มเจาะชลบุรี 
เข็มเจาะตราด 
เข็มเจาะปราจีนบุรี 
เข็มเจาะระยอง 
เข็มเจาะสระแก้ว 
เข็มเจาะกาญจนบุรี 
เข็มเจาะตาก 
เข็มเจาะประจวบคีรีขันธ์ 
เข็มเจาะเพชรบุรี 
เข็มเจาะราชบุรี 
เข็มเจาะกระบี่ 
เข็มเจาะชุมพร 
เข็มเจาะตรัง 
เข็มเจาะนครศรีธรรมราช 
เข็มเจาะนราธิวาส 
เข็มเจาะปัตตานี 
เข็มเจาะพังงา 
เข็มเจาะพัทลุง 
เข็มเจาะภูเก็ต 
เข็มเจาะระนอง 
เข็มเจาะสตูล 
เข็มเจาะสงขลา 
เข็มเจาะสุราษฎร์ธานี 
เข็มเจาะยะลา 
เข็มเจาะกรุงเทพมหานคร
 
เข็มเจาะคลองสาน 
เข็มเจาะคลองสามวา 
เข็มเจาะคลองเตย
เข็มเจาะคันนายาว 
เข็มเจาะจอมทอง 
เข็มเจาะดอนเมือง
เข็มเจาะดินแดง 
เข็มเจาะดุสิต 
เข็มเจาะตลิ่งชัน 
เข็มเจาะทวีวัฒนา
เข็มเจาะทุ่งครุ 
เข็มเจาะธนบุรี 
เข็มเจาะบางกอกน้อย
เข็มเจาะบางกอกใหญ่ 
เข็มเจาะบางกะปิ 
เข็มเจาะบางคอแหลม
เข็มเจาะบางซื่อ 
เข็มเจาะบางนา 
เข็มเจาะบางพลัด 
เข็มเจาะบางรัก
เข็มเจาะบางเขน 
เข็มเจาะบางแค 
เข็มเจาะบึงกุ่ม 
เข็มเจาะปทุมวัน
เข็มเจาะประเวศ 
เข็มเจาะป้อมปราบศัตรูพ่าย 
เข็มเจาะพญาไท
เข็มเจาะพระนคร 
เข็มเจาะพระโขนง 
เข็มเจาะภาษีเจริญ 
เข็มเจาะมีนบุรี
เข็มเจาะยานนาวา 
เข็มเจาะราชเทวี 
เข็มเจาะราษฎร์บูรณะ
เข็มเจาะลาดกระบัง 
เข็มเจาะลาดพร้าว 
เข็มเจาะวังทองหลาง
เข็มเจาะวัฒนา 
เข็มเจาะสวนหลวง 
เข็มเจาะสะพานสูง
เข็มเจาะสัมพันธวงศ์ 
เข็มเจาะสาทร 
เข็มเจาะสายไหม
เข็มเจาะหนองจอก 
เข็มเจาะหนองแขม 
เข็มเจาะหลักสี่ 
เข็มเจาะห้วยขวาง
เข็มเจาะเมืองนครปฐม 
เข็มเจาะกำแพงแสน 
เข็มเจาะดอนตูม
เข็มเจาะนครชัยศรี 
เข็มเจาะบางเลน 
เข็มเจาะพุทธมณฑล 
เข็มเจาะสามพราน
เข็มเจาะเมืองนนทบุรี 
เข็มเจาะบางกรวย 
เข็มเจาะบางบัวทอง
เข็มเจาะบางใหญ่ 
เข็มเจาะปากเกร็ด 
เข็มเจาะไทรน้อย
เข็มเจาะเมืองปทุมธานี 
เข็มเจาะคลองหลวง 
เข็มเจาะธัญบุรี
เข็มเจาะลาดหลุมแก้ว 
เข็มเจาะลำลูกกา 
เข็มเจาะสามโคก 
เข็มเจาะหนองเสือ
เข็มเจาะเมืองสมุทรปราการ 
เข็มเจาะบางพลี 
เข็มเจาะบางเสาธง
เข็มเจาะพระประแดง
 เข็มเจาะพระสมุทรเจดีย์
เข็มเจาะเมืองระยอง
เข็มเจาะนิคมพัฒนา 
เข็มเจาะเขาชะเมา
เข็มเจาะบ้านฉาง 
เข็มเจาะปลวกแดง 
เข็มเจาะวังจันทร์ 
เข็มเจาะแกลง
เข็มเจาะเมืองชลบุรี 
เข็มเจาะเกาะจันทร์ 
เข็มเจาะบางละมุง
เข็มเจาะบ่อทอง  
เข็มเจาะบ้านบึง 
เข็มเจาะพนัสนิคม
เข็มเจาะพานทอง
เข็มเจาะศรีราชา 
เข็มเจาะสัตหีบ 
เข็มเจาะหนองใหญ่ 
เข็มเจาะเกาะสีชัง
เข็มเจาะเมืองสมุทรสาคร 
เข็มเจาะกระทุ่มแบน 
เข็มเจาะบ้านแพ้ว 
เข็มเจาะมหาชัย
เข็มเจาะเมืองสมุทร
เข็มเจาะอัมพวา 
เข็มเจาะบางคนที
เข็มเจาะเมืองราชบุรี 
เข็มเจาะบ้านคา 
เข็มเจาะจอมบึง
เข็มเจาะดำเนินสะดวก 
เข็มเจาะบางแพ 
เข็มเจาะบ้านโป่ง
เข็มเจาะปากท่อ
เข็มเจาะวัดเพลง 
เข็มเจาะสวนผึ้ง 
เข็มเจาะโพธาราม
เข็มเจาะเมืองฉะเชิงเทรา 
เข็มเจาะคลองเขื่อน 
เข็มเจาะท่าตะเกียบ 
เข็มเจาะบางคล้า
เข็มเจาะบางน้ำเปรี้ยว 
เข็มเจาะบางปะกง 
เข็มเจาะบ้านโพธิ์
เข็มเจาะพนมสารคาม
เข็มเจาะราชสาส์น 
เข็มเจาะสนามชัยเขต 
เข็มเจาะแปลงยาว
เข็มเจาะเมืองนครนายก 
เข็มเจาะปากพลี 
เข็มเจาะบ้านนา 
เข็มเจาะองครักษ์
 
Engine by shopup.com