7781132

ประวัติความเป็นมาของบายศรี

หมวดหมู่สินค้า: A174 บายศรี

26 กุมภาพันธ์ 2565

ผู้ชม 183 ผู้ชม

รับทำบายศรี
ช่างบายศรีปากชาม
บายศรีสู่ขวัญ ผลงานของเรา
บายศรีเทพ
อุปกรณ์พิธีสงฆ์
พิธีบวงสรวง
รับจัดพิธีสงฆ์
จัดพิธีพราหมณ์
จัดเลี้ยงพระ
                                   ติดต่อช่างทำบายศรี
 
 
 ประวัติความเป็นมา
 
บายศรีจัดเป็นของสูงที่อยู่คู่กับวิถีชีวิตคนไทยมายาวนานจากอดีตกาลจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเครื่องบูชาบายศรี เป็นสิ่งสำคัญที่ใช้ในการทำพิธีกรรม ของศาสนาพราหมณ์ และชีวิตคนไทยเองจากการที่เป็นชาวพุทธซึ่งมีพิธีการสอดคล้องกับศาสนา พราหมณ์ จึงมีการนำบายศรีมาใช้ในพิธีการต่างๆ ประจวบกับคนไทยมีความสามารถในการประดิษฐ์ งานศิลป์ ต่างๆมากมาย ดังนั้นเมื่อมีการนำใบตองมาบรรจงพับเป็นบายศรี จึงเป็นที่ขึ้นชื่อถึงความสวยงามและวิจิตรกาล โดยมีการกล่าวถึง นางนพมาศ ในสมัยสุโขทัย มีการนำใบตองมาบรรจงพับกลีบ เป็นกระทงและบายศรีได้อย่างวิจิตร ตระการตา 
                จากอดียมีการเล่าถึงการทำบายศรี ของประเทศไทย จากการเล่าเรื่องของคุณ อุมาวดี ทรัพย์สิน โดยได้เล่าความถึงสมัยก่อนสุโขทัย ในพื้นแผ่นดินนี้เรียกว่าดินแดนสุวรรณาภูมิ ศรีทราวดี หรือเมืองสี รุ้ง ซึ่งเป็นยุคที่รุ่งเรื่อง สมัยนั้น แผ่นดินนี้เป็นยุคที่เรื่องอำนาจของอาราจักรขอม โดยสังเกตเห็นจะมีปราสาท หินจำนวนมากสร้างขึ้นเพื่อศักการะ เทพเจ้า โดยในสมัยก่อน คนที่จะทำพิธีกรรมต่างๆ จะต้องเป็นชนชั้นกษัตริย์เท่านั้น โดย นางทราวดี พระราชธิดา แห่งเมืองศรีทราวดี ได้ประดิษฐ์กระทงจากใบตองพับกลีบ แซมด้วยดอกไม้ใบไม้และถวายต่อองค์ทวยเทพ ต่างๆ ยาวนานมาจน ศาสนาพุทธ ก่อกำเนิดขึ้น คนไทยเองก็จับพิธีการ ต่างของศาสนาพราหมณ์ มาร่วมกับศาสนาพุทธ จนมาถึงปัจจุบัน
                บายศรี แบ่งแยกคำออกเป็น คำว่า   “  บาย ” เป็นภาษาเขมร แปลว่า ข้าว และ ศรี เป็นภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลี ว่า สิริ รวมแล้ว มีความหมายว่า ข้าวขวัญหรือข้าวที่มีความสิริมงคล  ชาวเหนือหรือชาวล้านนา จะเรียกว่า ใบสี หรือใบสรี อาจมาจากการนำใบตองมาเย็บกลีบเรียงแถว ลักษณะเหมือนนมแมว และเรียกพานบายศรีว่า ขันใบสี ส่วนคนอีสาน จะเรียกว่า พาขวัญ หรือ หมากเบ็ง ในสมัยโบราณจะเรียกพิธีการว่า พิธีสู่ขวัญ ว่า บาศรี เพราะเป็นพิธีการที่ใช้กับเจ้านาย คำว่าบา ในภาษาสันสกฤต มาจากคำว่า บ๋า ซึ่งแปลว่า การบนบาน และหลายท้องถิ่นก็เรียกว่า สู่ขวัญ หรือ สูดขวัญ
                สำหรับความหมาย ของ บายศรี ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พศ  2542 ให้ความหมายของบายศรี ว่า เครื่องเชิญขวัญหรือรับขวัญทำด้วยใบตองมีลักษณะคลายหระทงมีหลายชั้น 3 ,5 ,7 9 ขึ้นกับระดับความสำคัญภายในบายสรีจะมีของสังเวยบรรจุอยู่ โดยบายศรีสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
  
1. บายศรีของหลวง
ได้แก่บายศรีที่ใช้ใน พระราชพิธี อันเนื่องเกี่ยวเนื่องกับพระมาหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ จากโบราณราชประเพณี แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
 1 บายศรี สำรับใหญ่ ประกอบด้วยบายศรีแก้ว มีลักษณะเป็นพานแก้ว 5 ชั้น บายศรีทอง ใช้พานทอง 5 ชั้น และบายศรีเงิน ใช้พานเงิน 5 ชั้น โดยการวางตำแหน่ง บายศรีแก้วไว้ตรงกลางและ บายศรีทอง อยู่ข้างขวามือ และบายศรีเงินอยู่ด้านซ้ายมือ  ภายในบายศรีแต่ละอันจะบรรจุเครื่องเซ่นไหว้ ขนมไทยโบราณที่เป็นสิริมงคล
2.บายศรี สำรับเล็ก เหมือนเช่น สำรับใหญ่แต่มีเพียง  3 ชั้น ใช้สำหรับพิธีทำขวัญขนาดเล็ก
3.บายศรี ตองรองทองขาว เป็นบายศรีขนาดใหญ่ มีขนาด 5 ชั้น และ 7 ชั้น โดยใช้พานรองเป็นทองคำขาว ซึ่งจะใช้ร่วมกับ บายศรีใหญ่ และบายสำรับเล็ก แล้วแต่จะใช้กับพระรามพิธีใด เช่น พระราชพิธีสมโภชพระขวัญ
2 บายศรีของราษฏร์
    1 บายศรี ปากชาม เป็นบายศรีขนาดเล็ก ใส่ปากชามขนาดย่อม หรือกระทงใบตอง กล้วยตัดท่อนตามแบบโบราณ มีกรวยข้าวอยู่ตรงกลาง และมีกล้วยและแตงกวาหันแว่น ประกบข้างแต่ละนิ้ว บายศรี 
2. บายศรีใหญ่ เป็นบายศรีขนาดใหญ่ จัดทำใส่ภาชนะต่างๆ เช่นโกหรือตะลุ่ม หรือพาน จะใช้หลายชั้นหรือชั้นเดียวแตกต่างกันไป สำหรับ บายศรีต้นหรือหรือบายศรี หรือ บายศรีหลัก จะมีแกนต้นตรงกลางแน่นหนา อาจมี 3 ,5 7 ชั้น โดยจะใส่เครื่องสังเวยและขนมที่เป็นสิริมงคล 
 
 
บายศรีใหญ่หรือบายศรีต้น จะเป็นบายศรีที่มีขนาดใหญ่กว่าบายศรีปากชาม นิยมทำเป็น 3 ชั้น 5 ชั้น และ 7 ชั้น หรือบางทีก็ทำถึง 9 ชั้น ด้วยเหตุว่านำคติเรื่องฉัตรมาเกี่ยวข้อง ซึ่งแท้จริงแล้วการทำบายศรีใหญ่หรือบายศรีต้นนี้ไม่มีการกำหนดชั้นตายตัว สุดแต่ผู้ทำจะเห็นว่าสวยงาม ถ้าทำชั้นมากก็ถือว่าเป็นเกียรติมากและในแต่ละชั้นของบายศ
 
บายศรี
 
คุณค่าของบายศรี ลักษณะของบายศรี งานบายศรีเป็นสิ่งที่เคียงคู่กับคนไทยมาเนิ่นนาน และสภาพสังคม ยังคงให้การเคารพบูชา บายศรีเพราะถือว่าเป็นของสูง บายศรีจึงมีคุณค่า ดังนั้น 1. ใช้ในพิธีการต่างๆ ตามประเพณีนิยม 2. ช่วยพัฒนาจิตใจให้สงบเยือกเย็น 3. สืบสานและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมของชาติ 4. เป็นอาชีพสร้างรายได้บำเพ็ญบุญและบวงสรวงสังเวยเต็มรูปแบบมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ พ.ศ.2544 บายศรีต้องงดงาม ยิ่งใหญ่เป็นหลักสำคัญของพิธีกรรมทุกครั้ง และต้องใช้ทุนทรัพย์อย่างมากทีเดียว ญาติธรรมที่เข้าร่วมพิธี รวมถึงผู้เข้าเยี่ยมชมเวปไซท์ จำนวนมากขึ้นๆ เราจึงเก็บรวบรวมเกร็ดความรู้เรื่องบายศรีตามวัฒนธรรมประเพณีที่ชาวไทยสืบทอดกันมาแบ่งปันความรู้ ซึ่งยังต้องหาภาพมาเพิ่มเติมต่อไป ขอขอบคุณแหล่งข้อมูลทุกแห่งที่รวบรวมไว้เผยแพร่เป็นวิทยาทาน เราเองก็ได้ศึกษาได้ด้วย บายศรีแต่ละประเภทมีหลายรูปแบบซึ่งต้องใช้ใบตองกล้วยตานี เป็นหลัก ซึ่งวัฒธรรมท้องถิ่นและความศรัทธาของบุคคลอาจดลบันดาลใจให้รูปแบบที่งดงามแตกต่างกัน เช่น บายศรีปากชาม ก็มีหลายแบบ บายศรีเทพ บายศรีพรหม บายศรีหลัก บายศรีตอ บายศรีบัลลังก์นาคราช บายศรีบารมี พานพุ่ม พานธูปเทียนแพ พานขมา พานขันธ์5/พานครู ฯลฯ ก็จะเสาะหารูปมาแบ่งปันต่อไป..
               ในพิธีการ งานมงคลของชาวไทย จะนำบายศรีมานำหน้าพิธีการงานต่างๆ บ้านใครมีงานพิธีอะไร เช่น มงคลสมรส อุปสมบท โกนจุก งานบุญ งานไหว้ครู ตั้งศาลพระภูมิ ศาลเพียงตา พิธีอันเชิญเทพ เทวดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์งานหล่อพระ งานชักพระ งานสำคัญพิธีกรรมบรวงสรวง
บายศรีเป็นของสูง สิ่งที่มีคุณค่าสำหรับชาวไทยตั่งแต่โบราณมาจนถึงปัจจุบัน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
          บายศรี หมายถึง เครื่องเชิญขวัญหรือรับขวัญ ทำด้วยใบตอง  รูปคล้ายกระทง เป็นชั้น ๆ มีขนาดใหญ่เล็กสอบขึ้นไปตามลำดับ
เป็น 3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น หรือ 9 ชั้น มีเสาปักตรงกลางเป็นแกน มีเครื่องสังเวยวางอยู่ในบายศรีและมีไข่ขวัญเสียอยู่บนยอดบายศรี 
มีหลายอย่าง เช่น บายศรีตอง บายศรีปากชาม บายศรีใหญ่ ( ภาษาเขมร บาย = ข้าว + ศรี = สิริ หมายความว่า ข้าวอันเป็นสิริหรือข้าวขวัญ )
ประวัติ
บายศรีนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคติความเชื่อ  ของพราหมณ์ พิจารณาจากการนำใบตองมาประดิษฐ์บายศรี
เนื่องด้วยใบตองนั้นเป็นของสะอาดบริสุทธิ์ไม่มีมลทินของอาหารเก่า  ให้แปดเปื้อน และอีกประการหนึ่งก็คือ รูปร่างลักษณะของบายศรี  ที่ได้จำลองเขาพระสุเมรุซึ่งเป็นที่สถิตของพระอิศวร  ตลอดจนเครื่องสังเวยก็มีความเชื่อมาจากคติพราหมณ์
เช่น ไข่ แตงกวา มะพร้าว รวมถึงพิธีการ เช่น การเวียนเทียน การเจิมและพิธีการต่าง ๆ เหล่านี้พราหมณ์เป็นผู้ประกอบพิธีทั้งสิ้น
 
ประเภทของบายศรี
 
      ในภาคเหนือจะเรียกบายศรีว่า " ใบสี " , " ใบสรี " หรือ " ใบสีนมแมว " และจะเรียกพานบายศรีว่า ขันใบสี เพราะชาวล้านนาจะเรียกพานว่า ขัน แล้วเรียกขันว่า สลุง บายศรีแยกเป็น 4 ประเภท คือ
1.บายศรีหลวง 
2.บายศรีนมแมว 
3.บายศรีปากชาม 
4.บายศรีกล้วย 
       ส่วนในภาคอีสานจะเรียกบายศรีว่า " พาบายศรี " " พาขวัญ " หรือบางท้องถิ่นเรียกว่า " ขันบายศรี " ในภาคอีสานจะแยกบายศรีออกเป็น 3 ประเภท คือ
1.พาขวัญ 
2.พาบายศรี 
3. หมากเบ็ง 
          ในส่วนภาคอีสานที่มีเชื้อสายของเขมรจะมีการเรียกบายศรีว่า " บายแสร็ย " ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือบายแสร็ยเดิม ( บายศรีต้น ) บายแสร็ยเถียะ ( บายศรีถาด ) บายแสร็ตจาน ( บายศรีปากชาม ) 
       ชื่อบายศรี ได้แก่ 1.บายศรีบงกช  2.บายศรีพานพุ่ม 3.บายศรีผูกข้อมือ
บายศรีขันผูกมือ ใช้สำหรับพิธีแต่งงาน งานบวช สืบชะตา หรือให้เป็นของขวัญของที่ระลึก 
4.บายศรีเทพหงส์ ริบบิ้นเงิน-ทอง 5.บายศรีผูกข้อมือ บายศรีขันผูกมือ ใช้สำหรับพิธีมงคลของชาวล้านนา
6.บายศรีเทพ  7.บายศรีพานพุ่ม 8.บายศรีเทพหงส์  9.บายศรีเทพ   10.บายศรีเทพพรหม 11.บายศรีธรรมจักร 12.บายศรีปากชาม
 
      บายศรี ความหมาย ของ คำว่า “ บายศรี “
       บายศรีนั้นเป็นคำภาษาเขมร “บาย” หมายถึงข้าว “ศรี” คือสิริมงคล  รวมความแล้วหมายถึง ข้าวอันเป็นมงคล 
บางครั้งก็เรียกกันว่า “ข้าวขวัญ” ด้วย ... ส่วนอีกความหมายหนึ่ง ใช้เรียกภาชนะใส่เครื่องสังเวยในพิธีทำขวัญ 
... ตามคติความเชื่อสืบเชื้อแต่โบราณกาล การตั้งเครื่องสังเวยบูชาด้วยบายศรี เพื่ออัญเชิญปฐมบรมครูคือ
พระพุทธเจ้าบรมศาสดา บิดา มารดา ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ ตลอดจน ท้าวมหาพรหม มหาเทพทั้งหลาย อีกทั้งเทพแห่งศิลปศาสตร์ 
อาทิ พระตรีมูรติ พระอิศวร พระนารายณ์ พระพิฆคเณศวร พระแม่อุมา ปาวารตี พระแม่ลักษมี พระแม่สุรัสวดี พ่อแก่ (ปู่ฤษี) 
พระประคนธรรพ์ ปัญจสิงขร พระพิภพ และวิษณุกรรม มาประสาทพรประสิทธิ์ชัย ให้ประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน
*ประเภทของบายศรี บายศรีมีหลายประเภทแยกตามการใช้งานดังนี้ 
๑. บายศรีราษฎร์ ได้แก่
- บายศรีปากชาม เป็นบายศรีขนาดเล็กสุด บรรจุในชามขนาดพอเหมาะ (ชามข้าวต้ม ไม่ใช่ชามโฟม อย่างปัจจุบัน) ใช้สำหรับบวงสรวงบูชา ครู เทพยดา ทั่วไป
- บายศรีใหญ่ หรือ บายศรีสู่ขวัญ หรือ บายศรีเชิญขวัญ บางที่เรียก บายศรี รับขวัญ เป็นบายศรีขนาดใหญ่ 
จัดใส่ พาน โตก ตะลุ่ม จะทำหลายชั้นซ้อนกันก็ได้ตามขนาดของพิธี
 
๒. บายศรีพิธีหลวง พระราชประเพณีนิยม ประกอบด้วยบายศรี ๓ ชนิดดังนี้
- บายศรีสำรับเล็ก ประกอบด้วย บายศรีทำจากผ้าตาดเงินมี ๓ ชั้น บนพานแก้ว เรียกว่า “บายศรีแก้ว” ถ้าผ้าตาดทองเรียก “บายศรีทอง” ถ้าผ้าตาดเขียวเรียก “บายศรีเงิน” จัดวางโดยบายศรีทองอยู่ขวา 
บายศรีเงินอยู่ซ้ายและบายศรีแก้วอยู่ตรงกลาง 
- บายศรีสำรับใหญ่ เหมือนบายศรีสำรับเล็ก แต่มีขนาดใหญ่กว่า สำหรับพิธีทำขวัญสมโภชงานสำคัญ โดยจัดแต่ละชุดมี ๕ ชั้น 
- บายศรีตองรองทองขาว ก็คือบายศรีใหญ่ ใช้แป้นและแกนเป็นทองขาวแทนไม้ทั่วไป
*** นอกจากนี้ ยังมี บายศรีชั้นหรือบายศรีต้น มีหลายขนาดตามบรรดาศักดิ์คือ
- ๙ ชั้น สำหรับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ
- ๗ ชั้น สำหรับ เจ้านายชั้นเจ้าฟ้า และพระราชอาคันตุกะชั้นประธานาธิบดี 
- ๕ ชั้น สำหรับ เจ้านายที่ทรงกรมหรือเสนาบดี
- ๓ ชั้น ใช้ในพิธีสมรสชั้นหลานของเจ้านายฝ่ายเหนือ
- ส่วนประกอบสำคัญในพิธีต้องมีบายศรี ปากชาม ข้าวปากหม้อ บรรจุกรวยตองเป็นยอดบายศรี ไข่ต้มสุก (แข็งๆ) เสียบยอด 
ดอกไม้มงคล สดประดับให้สวยงาม ตามด้วย ธูป เทียน สำหรับบูชา
- โอกาสที่จะใช้บายศรี พิธีที่จะใช้บายศรีนั้น ได้แก่ งานมงคลทั่วไป
ทั้ง งานแต่งงาน งานบวช รับขวัญ ส่งขวัญต่างๆ ขอขมาต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และ ขอขมาต่อ เจ้ากรรมนายเวร ผู้มีพระคุณ
- คติธรรม ที่ได้จากบายศรี



บายศรีพญานาคเชียงราย 
บายศรีพญานาคเชียงใหม่ 
บายศรีพญานาคน่าน 
บายศรีพญานาคพะเยา 
บายศรีพญานาคแพร่ 
บายศรีพญานาคแม่ฮ่องสอน 
บายศรีพญานาคลำปาง 
บายศรีพญานาคลำพูน 
บายศรีพญานาคอุตรดิตถ์
บายศรีพญานาคกาฬสินธุ์ 
บายศรีพญานาคขอนแก่น 
บายศรีพญานาคชัยภูมิ 
บายศรีพญานาคนครพนม 
บายศรีพญานาคนครราชสีมา 
บายศรีพญานาคบึงกาฬ 
บายศรีพญานาคบุรีรัมย์ 
บายศรีพญานาคมหาสารคาม 
บายศรีพญานาคมุกดาหาร 
บายศรีพญานาคยโสธร 
บายศรีพญานาคร้อยเอ็ด 
บายศรีพญานาคเลย 
บายศรีพญานาคสกลนคร 
บายศรีพญานาคสุรินทร์ 
บายศรีพญานาคศรีสะเกษ 
บายศรีพญานาคหนองคาย 
บายศรีพญานาคหนองบัวลำภู 
บายศรีพญานาคอุดรธานี 
บายศรีพญานาคอุบลราชธานี 
บายศรีพญานาคอำนาจเจริญ 
บายศรีพญานาคกำแพงเพชร 
บายศรีพญานาคชัยนาท 
บายศรีพญานาคนครนายก 
บายศรีพญานาคนครปฐม 
บายศรีพญานาคนครสวรรค์ 
บายศรีพญานาคนนทบุรี 
บายศรีพญานาคปทุมธานี 
บายศรีพญานาคพระนครศรีอยุธยา 
บายศรีพญานาคพิจิตร 
บายศรีพญานาคพิษณุโลก 
บายศรีพญานาคเพชรบูรณ์ 
บายศรีพญานาคลพบุรี 
บายศรีพญานาคสมุทรปราการ 
บายศรีพญานาคสมุทรสงคราม 
บายศรีพญานาคสมุทรสาคร 
บายศรีพญานาคสิงห์บุรี 
บายศรีพญานาคสุโขทัย 
บายศรีพญานาคสุพรรณบุรี 
บายศรีพญานาคสระบุรี 
บายศรีพญานาคอ่างทอง 
บายศรีพญานาคอุทัยธานี 
บายศรีพญานาคจันทบุรี 
บายศรีพญานาคฉะเชิงเทรา 
บายศรีพญานาคชลบุรี 
บายศรีพญานาคตราด 
บายศรีพญานาคปราจีนบุรี 
บายศรีพญานาคระยอง 
บายศรีพญานาคสระแก้ว 
บายศรีพญานาคกาญจนบุรี 
บายศรีพญานาคตาก 
บายศรีพญานาคประจวบคีรีขันธ์ 
บายศรีพญานาคเพชรบุรี 
บายศรีพญานาคราชบุรี 
บายศรีพญานาคกระบี่ 
บายศรีพญานาคชุมพร 
บายศรีพญานาคตรัง 
บายศรีพญานาคนครศรีธรรมราช 
บายศรีพญานาคนราธิวาส 
บายศรีพญานาคปัตตานี 
บายศรีพญานาคพังงา 
บายศรีพญานาคพัทลุง 
บายศรีพญานาคภูเก็ต 
บายศรีพญานาคระนอง 
บายศรีพญานาคสตูล 
บายศรีพญานาคสงขลา 
บายศรีพญานาคสุราษฎร์ธานี 
บายศรีพญานาคยะลา 
บายศรีพญานาคกรุงเทพมหานคร
 
บายศรีพญานาคคลองสาน 
บายศรีพญานาคคลองสามวา 
บายศรีพญานาคคลองเตย
บายศรีพญานาคคันนายาว 
บายศรีพญานาคจอมทอง 
บายศรีพญานาคดอนเมือง
บายศรีพญานาคดินแดง 
บายศรีพญานาคดุสิต 
บายศรีพญานาคตลิ่งชัน 
บายศรีพญานาคทวีวัฒนา
บายศรีพญานาคทุ่งครุ 
บายศรีพญานาคธนบุรี 
บายศรีพญานาคบางกอกน้อย
บายศรีพญานาคบางกอกใหญ่ 
บายศรีพญานาคบางกะปิ 
บายศรีพญานาคบางคอแหลม
บายศรีพญานาคบางซื่อ 
บายศรีพญานาคบางนา 
บายศรีพญานาคบางพลัด 
บายศรีพญานาคบางรัก
บายศรีพญานาคบางเขน 
บายศรีพญานาคบางแค 
บายศรีพญานาคบึงกุ่ม 
บายศรีพญานาคปทุมวัน
บายศรีพญานาคประเวศ 
บายศรีพญานาคป้อมปราบศัตรูพ่าย 
บายศรีพญานาคพญาไท
บายศรีพญานาคพระนคร 
บายศรีพญานาคพระโขนง 
บายศรีพญานาคภาษีเจริญ 
บายศรีพญานาคมีนบุรี
บายศรีพญานาคยานนาวา 
บายศรีพญานาคราชเทวี 
บายศรีพญานาคราษฎร์บูรณะ
บายศรีพญานาคลาดกระบัง 
บายศรีพญานาคลาดพร้าว 
บายศรีพญานาควังทองหลาง
บายศรีพญานาควัฒนา 
บายศรีพญานาคสวนหลวง 
บายศรีพญานาคสะพานสูง
บายศรีพญานาคสัมพันธวงศ์ 
บายศรีพญานาคสาทร 
บายศรีพญานาคสายไหม
บายศรีพญานาคหนองจอก 
บายศรีพญานาคหนองแขม 
บายศรีพญานาคหลักสี่ 
บายศรีพญานาคห้วยขวาง
บายศรีพญานาคเมืองนครปฐม 
บายศรีพญานาคกำแพงแสน 
บายศรีพญานาคดอนตูม
บายศรีพญานาคนครชัยศรี 
บายศรีพญานาคบางเลน 
บายศรีพญานาคพุทธมณฑล 
บายศรีพญานาคสามพราน
บายศรีพญานาคเมืองนนทบุรี 
บายศรีพญานาคบางกรวย 
บายศรีพญานาคบางบัวทอง
บายศรีพญานาคบางใหญ่ 
บายศรีพญานาคปากเกร็ด 
บายศรีพญานาคไทรน้อย
บายศรีพญานาคเมืองปทุมธานี 
บายศรีพญานาคคลองหลวง 
บายศรีพญานาคธัญบุรี
บายศรีพญานาคลาดหลุมแก้ว 
บายศรีพญานาคลำลูกกา 
บายศรีพญานาคสามโคก 
บายศรีพญานาคหนองเสือ
บายศรีพญานาคเมืองสมุทรปราการ 
บายศรีพญานาคบางพลี 
บายศรีพญานาคบางเสาธง
บายศรีพญานาคพระประแดง
 บายศรีพญานาคพระสมุทรเจดีย์
บายศรีพญานาคเมืองระยอง
บายศรีพญานาคนิคมพัฒนา 
บายศรีพญานาคเขาชะเมา
บายศรีพญานาคบ้านฉาง 
บายศรีพญานาคปลวกแดง 
บายศรีพญานาควังจันทร์ 
บายศรีพญานาคแกลง
บายศรีพญานาคเมืองชลบุรี 
บายศรีพญานาคเกาะจันทร์ 
บายศรีพญานาคบางละมุง
บายศรีพญานาคบ่อทอง  
บายศรีพญานาคบ้านบึง 
บายศรีพญานาคพนัสนิคม
บายศรีพญานาคพานทอง
บายศรีพญานาคศรีราชา 
บายศรีพญานาคสัตหีบ 
บายศรีพญานาคหนองใหญ่ 
บายศรีพญานาคเกาะสีชัง
บายศรีพญานาคเมืองสมุทรสาคร 
บายศรีพญานาคกระทุ่มแบน 
บายศรีพญานาคบ้านแพ้ว 
บายศรีพญานาคมหาชัย
บายศรีพญานาคเมืองสมุทร
บายศรีพญานาคอัมพวา 
บายศรีพญานาคบางคนที
บายศรีพญานาคเมืองราชบุรี 
บายศรีพญานาคบ้านคา 
บายศรีพญานาคจอมบึง
บายศรีพญานาคดำเนินสะดวก 
บายศรีพญานาคบางแพ 
บายศรีพญานาคบ้านโป่ง
บายศรีพญานาคปากท่อ
บายศรีพญานาควัดเพลง 
บายศรีพญานาคสวนผึ้ง 
บายศรีพญานาคโพธาราม
บายศรีพญานาคเมืองฉะเชิงเทรา 
บายศรีพญานาคคลองเขื่อน 
บายศรีพญานาคท่าตะเกียบ 
บายศรีพญานาคบางคล้า
บายศรีพญานาคบางน้ำเปรี้ยว 
บายศรีพญานาคบางปะกง 
บายศรีพญานาคบ้านโพธิ์
บายศรีพญานาคพนมสารคาม
บายศรีพญานาคราชสาส์น 
บายศรีพญานาคสนามชัยเขต 
บายศรีพญานาคแปลงยาว
บายศรีพญานาคเมืองนครนายก 
บายศรีพญานาคปากพลี 
บายศรีพญานาคบ้านนา 
บายศรีพญานาคองครักษ์
 
Engine by shopup.com