7722406

ความหมายของบายศรีคืออะไร

หมวดหมู่สินค้า: A174 บายศรี

26 กุมภาพันธ์ 2565

ผู้ชม 183 ผู้ชม

รับทำบายศรี
ช่างบายศรีปากชาม
บายศรีสู่ขวัญ ผลงานของเรา
บายศรีเทพ
อุปกรณ์พิธีสงฆ์
พิธีบวงสรวง
รับจัดพิธีสงฆ์
จัดพิธีพราหมณ์
จัดเลี้ยงพระ
                                   ติดต่อช่างทำบายศรี
 

ความหมายของบายศรี
 
 ความหมายของ “ บายศรี ”นั้น สันนิษฐานว่า ได้รับอิทธิพล มาจาก ลัทธิพราหมณ์ ซึ่งเข้ามา ทางเขมร ทั้งนี้เพราะ คำว่า “บาย ” ภาษาเขมร แปลว่า ข้าวสุก ภาษาถิ่นอีสาน แปลว่า จับต้อง สัมผัสส่วนคำว่า “ ศรี ” มาจากภาษาสันสกฤต ตรงกับ ภาษาบาลีว่า “ สิริ ” แปลว่ามิ่งขวัญ
      ดังนั้นคำว่า “บายศรี ” หน้าจะ แปลได้ว่า ข้าวขวัญ หรือ สิ่งที่น่าสัมผัส กับความดีงาม “บายศรี ” ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ข้าวอันเป็นสิริ,ขวัญข้าว หรือ ภาชนะใส่เครื่องสังเวย
 
           สมัยโบราณ มีการเรียกพิธีสู่ขวัญว่า “ บายศรี ” ทั้งนี้สืบเนื่อง มาจากเป็นพิธี สำหรับบุคคลชั้นเจ้านาย เพราะคำว่า “ บา ” เป็นภาษาโบราณ อีสานใช้เป็น คำนำหน้า เรียกเจ้านาย เช่น บาท้าวบาบ่าว บาคราญ เป็นต้น ส่วนคำว่า “ ศรี ” หมายถึง ผู้หญิงและสิ่งที่เป็นสิริมงคล “ บาศรี ” จึงหมายถึง การทำพิธีที่ เป็นสิริมงคลแต่ปัจจุบันนี้ คำว่า บาศรี ไม่ค่อยนิยม เรียก กันแล้ว มักนิยมเรียกว่า “ บายศรี ” บายศรีจะเรียกเป็นองค์ มีหลายประเภท เช่น บายศรีเทพ บายศรีพรหมเป็นต้น การจัดทำบายศรีนั้น เริ่มจาก การนำใบตอง ที่มาจากกล้วยตานีเย็บเป็น บายศรี ประดับด้วย ดอกไม้มงคลต่างๆ ส่วนตัวบายศรี ยังแบ่งออกตามลักษณะ การใช้งาน ในการบูชา ที่แตกต่าง ออกไป
บายศรี คือ ภาชนะที่จัดตกแต่งให้สวยงามเป็นพิเศษด้วยใบตอง และดอกไม้สด เพื่อเป็นสำรับใส่อาหารหวาน คาว ในพิธีสังเวยบูชา และพิธีทำขวัญต่างๆ ทั้งของพระราชพิธีและของราษฎร เช่น
 
1.  พระราชพิธีบวงสรวงสังเวยเทพเทวดา
2.  พระราชพิธีเปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้วมรกต
3.  พระราชพิธีสมโภชพระพุทธรูป
4.  พระราชพิธีสมโภชรับพระขวัญ
5.  พระราชพิธีสมโภชช้าง
6.  พิธีตั้งศาลพระภูมิ
7.  พิธียกเสาเอก
8.  พิธีทำขวัญต่างๆ ทำขวัญวัน ทำขวัญเดือน ทำขวัญนาค ทำขวัญเมื่อหายป่วยแล้ว ทำพิธีสู่ขวัญคู่บ่าวสาว
 
           การ ทำบายศรีสู่ขวัญเป็นประเพณีโบราณ ที่บรรพบุรุษได้เคยปฏิบัติกัน   สืบ ๆ มา ถือกันว่าเป็นสิริมงคลอันดี แก่การเป็นอยู่ คือ การสวัสดิภาพในการดำรงชีวิต ของมนุษย์แต่การทำบายศรีสู่ขวัญนั้น ต้องอาศัยนักปราชญ์ผู้ฉลาดในวิธีการกระทำ จึงเป็นสิริมงคลได้ ถ้าทำไปสักว่าทำ ไม่มีพิธีการ ก็จะมีผลน้อยเพราะการกระทำทั้งนี้เกี่ยวกับจิตวิทยาอย่างหนึ่ง ถ้าผู้ทำเป็นผู้ฉลาดในพิธีการตั้งอกตั้งใจทำจริง ๆ อย่างนี้ จึงได้รับประโยชน์ในการกระทำนั้น โบราณถือว่า บายศรีมีครูแรง ถ้าใครไม่ได้ครอบ (อนุญาต) ห้ามทำบายศรี อัปรีย์จะกินทำให้คนทั้งหลายกลัว ไม่กล้าฝึกทำตามลำพัง หรือตามอย่างครู โดยครูไม่บอกอนุญาตให้เรียน ทั้งนี้คงมีจุดมุ่งหมายที่แฝงอยู่ คือ ให้เรียนหรือฝึกหัดทำด้วยความตั้งใจ อย่างดีเพื่อให้ได้สวยงามทำได้ดี ที่มีครูสอน เพราะบายศรีเป็นของสูงเป็นเครื่องสังเวยเทพเทวดา ไม่ควรทำสุกเอาเผากิน จึงได้มีการปรามเอาไว้กันคนที่ไม่ค่อยประณีต ไม่ตั้งใจจริง ไม่ให้ทำ อีกประการหนึ่งเป็นการปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดี ให้เกิดขึ้นแก่ลูกหลาน ให้รู้จักเครารพครูอาจารย์ มีกตัญญู ไม่ลบหลู่คุณครูอาจารย์ จะเรียนอะไรทำอะไร ต้องได้ชื่อว่าศิษย์มีครู จึงจะเกิดความมั่นใจและทำได้ดี สมัยโบราณจึงมีพิธีครอบการทำบายศรี พิธีครอบของครูบายศรี ไม่มีอะไรมากมายนัก เพียงให้จุดธูปอธิษฐานถึงครูบายศรี ตั้งแต่ครูคนแรก ที่เป็นผู้คิดประดิษฐ์ทำ และผู้รักษาสืบต่อมา จนถึงครูของเราปัจจุบันนี้ ขอคุณครูจงช่วยอวยพรชัย ให้ทำบายศรีได้สวยงามดี สำเร็จเป็นสิริมงคล ถ้าแม้นว่าจะทำผิดพลาดประการใด ขอคุณครูได้เมตตา อภัยให้ด้วยเถิด
 
การทำบายศรี นั้น นักปราชญ์โบราณเคยทำสืบ ๆ กันมา มี 2 วิธี คือ                 
          วิธีที่ 1  จะนิมนต์พระสงฆ์ 4 รูป รับศีล รับพร และประพรมน้ำมนต์
          วิธีที่ 2  ตั้งเครื่องบูชาพาขวัญ (บายศรี) ตามประเพณีนิยม มีข้าวสาร กล้วย ข้าวต้ม ขนม ธูปเทียน ผ้าแพรวา (ถ้าสู่ขวัญคน จะมี เครื่องสำอางค์ด้วย) ฝ้ายผูกแขน เทียนรอบหัวและเท่าตัว ยอดกล้วย ยอดอ้อย ด้ายขาว 1 ในขันโตก    ขันทองเหลือง
การทำบายศรี มี 2 อย่าง คือ บายศรีหลัก บายศรีปากชาม 
          1. บายศรีหลัก จะทำในงานทั่วไป เช่น งานมงคลต่าง ๆ แขกมาเยี่ยมบ้านแต่งงาน ทำขวัญผู้ใหญ่ ฯลฯ
          2. บายศรีปากชาม นั้นมักจะมีคู่ซ้าย ขวา จะทำในพิธีบวงสรวง หลักเมือง หรือเจ้าที่เจ้าทาง หรือ  ยกครู ไหว้ครู ทางไสยศาสตร์ ในสมัยโบราณการทำบายศรี จะทำในงานสำคัญเท่านั้น และทำเป็นสี่หลักข้างต้น แต่เมื่อล่วงนานมาประมาณ พ.ศ. 2500 ทางพุทธให้มีหลักสูตร สอนศาสนาพิธีนั้น พานบายศรีก็มีการเปลี่ยนแปลง ไปตามกาลสมัย มี 3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น 9 ชั้น ตามคำสวดที่อัญเชิญเทพมาในงานพิธีนั้น ๆ...
 
ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 1. ตัวบายศรี 2. แมงดา 3. กรวยข้าว 4. ดอกไม้ประดับตกแต่ง เช่น มาลัยตุ้ม มาลัยซีก อุบะ ตาข่าย ดอกบัว ดอกดาวเรือง ดอกรัก ดอกพุด 5. เครื่องประกอบ เช่น ไข่ขวัญ แตงกวา กล้วยน ้าว้า ขนมต้ม ส่วนประกอบของบายศรีราษฎร บายศรีปากชาม๑. ไข่ขวัญหรือไข่ยอด เป็นไข่ต้มสุก อาจเป็นไข่เป็ดหรือไข่ไก่ก็ได้ ตามความนิยมของแต่ละท้องที่ ไข่ขวัญนี้จะให้ผู้รับทำขวัญกิน เช่น ทำขวัญคนป่วยจะให้คนป่วยกิน จะอยู่ส่วนบนสุดของบายศรี ซึ่งหมายถึงทำให้เกิดมงคลและเป็นเครื่องหมายแห่งการเกิด วิธีทำ คือ นำไข่เป็ดหรือไข่ไก่ เริ่มด้วยนำไข่ใส่ในน้ำเย็นพอน้ำเริ่มร้อนให้ใช้ไม้พายคนไข่ที่ต้มตลอดเวลา เพื่อจะทำให้ไข่กลมไม่มีส่วนใดบุบเมื่อสุกแล้วยกลง
 
            ๒. ตัวแมงดาหรือเต่า คือส่วนที่วางระหว่างกลางตัวบายศรี บายศรีปากชามหนึ่งที่มีบายศรีสามตัว และมีตัวแมงดาสามตัว การทำตัวแมงดาใช้ใบตองกว้างประมาณ ๘-๑๑ ซ.ม. ใหญ่หรือเล็กตามขนาดของบายศรีตัดตามรูป เจาะทำให้เป็นลวดลายให้สวยงาม ข้อควรระวังบางครั้งจะทำให้ใบตองแตกควรใช้มีคม ๆ เจาะลาย ควรใช้ใบตองด้านแข็งอยู่ส่วนบน
 
            ๓. แตงกวา กล้วยน้ำ เป็นอาหารที่อยู่ภายในบายศรี โดยนำแตงกวา และกล้วยน้ำอย่างละ ๑ ผล แบ่งเป็น ๓ ซีกตามยาวของแตงกวาและกล้วย โดยไม่ปอกเปลือก เมื่อแบ่งได้เป็น ๓ ชิ้น จึงนำไปพนมเข้ากับกรวย
 
            ๔. กรวย คือที่บรรจุข้าวสุกปากหม้อ ใช้ใบตองตานีช่วงยาวไม่มีที่ตำหนิ กว้างประมาณ ๑๒ นิ้ว ใช้ใบตอง ๒ ทบ เอาด้านมันออกม้วนจากทางขวามือมาทางซ้ายมือให้เป็นรูปกรวย โดยกะขนาดปากกรวยลงระหว่างบายศรีทั้งสามพอดี 
 
            ความสูงของกรวยจะต้องสูงกว่าบายศรีเล็กน้อยประมาณ ๑-๒ นิ้ว เมื่อม้วนกรวยแล้วใบตองที่อยู่ข้างนอกจะต้องเป็นสันตั้ง เมื่อได้ขนาดที่ต้องการให้นำเข็มหมุดกลัดไว้ และตัดปากกรวยทำดอกจันมอบปากกรวยให้เรียบร้อยแล้วนำ
 
            ข้าวสุกปากหม้อใส่ให้แน่น พยายามกดตรงยอดให้แน่น เพื่อกันเวลาเสียบยอดจะได้ไม่อ่อน เมื่อใส่ข้าวแน่นแล้ว ตัดใบตองกลมปิดปากกรวย ๒ ใบซ้อนกัน
 
            ๕. ไม้ไผ่สีสุก ๓ อัน ใช้ประกบบายศรีกันโงนเงน เป็นการยึดบายศรี หรืออาจหมายถึงบันไดที่จะไปสู่เขาไกรลาส
 
             ๖. ผ้าห่มบายศรี และยอดตอง ยอดตองสามใบควรเป็นยอดตองอ่อนใช้ห่มบายศรีหรือห่มขวัญ โดยจะห่มทั้งไม้ไผ่สามซีกที่รัดไว้กับบายศรี และใช้ผ้า เช่น ผ้าตาดทอง หรือผ้าลูกไม้ห่มอีกชั้นหนึ่ง แต่ในปัจจุบันต้องการโชว์บายศรี
 
และอีกประการหนึ่งคงไม่สะดวกในการจะห่มองค์บายศรี เลยใช้ม้วนวางไว้ข้าง ๆ องค์บายศรี
 
              ๗. อาหารในบายศรี ควรจะเย็บกระทงใบเล็ก ๆ มอบปากให้เรียบร้อยใส่ในบายศรีสู่ขวัญ บายศรีบวชนาคจะมีอาหารใส่ อาหารอื่น ๆ เช่น กล้วยทั้งหวี มะพร้าวนั้นโดยมากจะใส่พานไว้ต่างหากเพราะไม่สามารถจะใส่ไว้ในบายศรีได้
 
               ๘. การครอบครูบายศรี ให้ใช้ดอกไม้ธูปเทียนเป็นการประสิทธิ์ประสาทวิชาของครูให้แก่ลูกศิษย์ เพื่อให้เกิดความมั่นใจและกำลังใจที่ศิษย์จะปฏิบัติต่อไป การครอบครูบายศรี ครูจะจับมือเข้าองค์บายศรี


บายศรีพญานาคเชียงราย 
บายศรีพญานาคเชียงใหม่ 
บายศรีพญานาคน่าน 
บายศรีพญานาคพะเยา 
บายศรีพญานาคแพร่ 
บายศรีพญานาคแม่ฮ่องสอน 
บายศรีพญานาคลำปาง 
บายศรีพญานาคลำพูน 
บายศรีพญานาคอุตรดิตถ์
บายศรีพญานาคกาฬสินธุ์ 
บายศรีพญานาคขอนแก่น 
บายศรีพญานาคชัยภูมิ 
บายศรีพญานาคนครพนม 
บายศรีพญานาคนครราชสีมา 
บายศรีพญานาคบึงกาฬ 
บายศรีพญานาคบุรีรัมย์ 
บายศรีพญานาคมหาสารคาม 
บายศรีพญานาคมุกดาหาร 
บายศรีพญานาคยโสธร 
บายศรีพญานาคร้อยเอ็ด 
บายศรีพญานาคเลย 
บายศรีพญานาคสกลนคร 
บายศรีพญานาคสุรินทร์ 
บายศรีพญานาคศรีสะเกษ 
บายศรีพญานาคหนองคาย 
บายศรีพญานาคหนองบัวลำภู 
บายศรีพญานาคอุดรธานี 
บายศรีพญานาคอุบลราชธานี 
บายศรีพญานาคอำนาจเจริญ 
บายศรีพญานาคกำแพงเพชร 
บายศรีพญานาคชัยนาท 
บายศรีพญานาคนครนายก 
บายศรีพญานาคนครปฐม 
บายศรีพญานาคนครสวรรค์ 
บายศรีพญานาคนนทบุรี 
บายศรีพญานาคปทุมธานี 
บายศรีพญานาคพระนครศรีอยุธยา 
บายศรีพญานาคพิจิตร 
บายศรีพญานาคพิษณุโลก 
บายศรีพญานาคเพชรบูรณ์ 
บายศรีพญานาคลพบุรี 
บายศรีพญานาคสมุทรปราการ 
บายศรีพญานาคสมุทรสงคราม 
บายศรีพญานาคสมุทรสาคร 
บายศรีพญานาคสิงห์บุรี 
บายศรีพญานาคสุโขทัย 
บายศรีพญานาคสุพรรณบุรี 
บายศรีพญานาคสระบุรี 
บายศรีพญานาคอ่างทอง 
บายศรีพญานาคอุทัยธานี 
บายศรีพญานาคจันทบุรี 
บายศรีพญานาคฉะเชิงเทรา 
บายศรีพญานาคชลบุรี 
บายศรีพญานาคตราด 
บายศรีพญานาคปราจีนบุรี 
บายศรีพญานาคระยอง 
บายศรีพญานาคสระแก้ว 
บายศรีพญานาคกาญจนบุรี 
บายศรีพญานาคตาก 
บายศรีพญานาคประจวบคีรีขันธ์ 
บายศรีพญานาคเพชรบุรี 
บายศรีพญานาคราชบุรี 
บายศรีพญานาคกระบี่ 
บายศรีพญานาคชุมพร 
บายศรีพญานาคตรัง 
บายศรีพญานาคนครศรีธรรมราช 
บายศรีพญานาคนราธิวาส 
บายศรีพญานาคปัตตานี 
บายศรีพญานาคพังงา 
บายศรีพญานาคพัทลุง 
บายศรีพญานาคภูเก็ต 
บายศรีพญานาคระนอง 
บายศรีพญานาคสตูล 
บายศรีพญานาคสงขลา 
บายศรีพญานาคสุราษฎร์ธานี 
บายศรีพญานาคยะลา 
บายศรีพญานาคกรุงเทพมหานคร
 
บายศรีพญานาคคลองสาน 
บายศรีพญานาคคลองสามวา 
บายศรีพญานาคคลองเตย
บายศรีพญานาคคันนายาว 
บายศรีพญานาคจอมทอง 
บายศรีพญานาคดอนเมือง
บายศรีพญานาคดินแดง 
บายศรีพญานาคดุสิต 
บายศรีพญานาคตลิ่งชัน 
บายศรีพญานาคทวีวัฒนา
บายศรีพญานาคทุ่งครุ 
บายศรีพญานาคธนบุรี 
บายศรีพญานาคบางกอกน้อย
บายศรีพญานาคบางกอกใหญ่ 
บายศรีพญานาคบางกะปิ 
บายศรีพญานาคบางคอแหลม
บายศรีพญานาคบางซื่อ 
บายศรีพญานาคบางนา 
บายศรีพญานาคบางพลัด 
บายศรีพญานาคบางรัก
บายศรีพญานาคบางเขน 
บายศรีพญานาคบางแค 
บายศรีพญานาคบึงกุ่ม 
บายศรีพญานาคปทุมวัน
บายศรีพญานาคประเวศ 
บายศรีพญานาคป้อมปราบศัตรูพ่าย 
บายศรีพญานาคพญาไท
บายศรีพญานาคพระนคร 
บายศรีพญานาคพระโขนง 
บายศรีพญานาคภาษีเจริญ 
บายศรีพญานาคมีนบุรี
บายศรีพญานาคยานนาวา 
บายศรีพญานาคราชเทวี 
บายศรีพญานาคราษฎร์บูรณะ
บายศรีพญานาคลาดกระบัง 
บายศรีพญานาคลาดพร้าว 
บายศรีพญานาควังทองหลาง
บายศรีพญานาควัฒนา 
บายศรีพญานาคสวนหลวง 
บายศรีพญานาคสะพานสูง
บายศรีพญานาคสัมพันธวงศ์ 
บายศรีพญานาคสาทร 
บายศรีพญานาคสายไหม
บายศรีพญานาคหนองจอก 
บายศรีพญานาคหนองแขม 
บายศรีพญานาคหลักสี่ 
บายศรีพญานาคห้วยขวาง
บายศรีพญานาคเมืองนครปฐม 
บายศรีพญานาคกำแพงแสน 
บายศรีพญานาคดอนตูม
บายศรีพญานาคนครชัยศรี 
บายศรีพญานาคบางเลน 
บายศรีพญานาคพุทธมณฑล 
บายศรีพญานาคสามพราน
บายศรีพญานาคเมืองนนทบุรี 
บายศรีพญานาคบางกรวย 
บายศรีพญานาคบางบัวทอง
บายศรีพญานาคบางใหญ่ 
บายศรีพญานาคปากเกร็ด 
บายศรีพญานาคไทรน้อย
บายศรีพญานาคเมืองปทุมธานี 
บายศรีพญานาคคลองหลวง 
บายศรีพญานาคธัญบุรี
บายศรีพญานาคลาดหลุมแก้ว 
บายศรีพญานาคลำลูกกา 
บายศรีพญานาคสามโคก 
บายศรีพญานาคหนองเสือ
บายศรีพญานาคเมืองสมุทรปราการ 
บายศรีพญานาคบางพลี 
บายศรีพญานาคบางเสาธง
บายศรีพญานาคพระประแดง
 บายศรีพญานาคพระสมุทรเจดีย์
บายศรีพญานาคเมืองระยอง
บายศรีพญานาคนิคมพัฒนา 
บายศรีพญานาคเขาชะเมา
บายศรีพญานาคบ้านฉาง 
บายศรีพญานาคปลวกแดง 
บายศรีพญานาควังจันทร์ 
บายศรีพญานาคแกลง
บายศรีพญานาคเมืองชลบุรี 
บายศรีพญานาคเกาะจันทร์ 
บายศรีพญานาคบางละมุง
บายศรีพญานาคบ่อทอง  
บายศรีพญานาคบ้านบึง 
บายศรีพญานาคพนัสนิคม
บายศรีพญานาคพานทอง
บายศรีพญานาคศรีราชา 
บายศรีพญานาคสัตหีบ 
บายศรีพญานาคหนองใหญ่ 
บายศรีพญานาคเกาะสีชัง
บายศรีพญานาคเมืองสมุทรสาคร 
บายศรีพญานาคกระทุ่มแบน 
บายศรีพญานาคบ้านแพ้ว 
บายศรีพญานาคมหาชัย
บายศรีพญานาคเมืองสมุทร
บายศรีพญานาคอัมพวา 
บายศรีพญานาคบางคนที
บายศรีพญานาคเมืองราชบุรี 
บายศรีพญานาคบ้านคา 
บายศรีพญานาคจอมบึง
บายศรีพญานาคดำเนินสะดวก 
บายศรีพญานาคบางแพ 
บายศรีพญานาคบ้านโป่ง
บายศรีพญานาคปากท่อ
บายศรีพญานาควัดเพลง 
บายศรีพญานาคสวนผึ้ง 
บายศรีพญานาคโพธาราม
บายศรีพญานาคเมืองฉะเชิงเทรา 
บายศรีพญานาคคลองเขื่อน 
บายศรีพญานาคท่าตะเกียบ 
บายศรีพญานาคบางคล้า
บายศรีพญานาคบางน้ำเปรี้ยว 
บายศรีพญานาคบางปะกง 
บายศรีพญานาคบ้านโพธิ์
บายศรีพญานาคพนมสารคาม
บายศรีพญานาคราชสาส์น 
บายศรีพญานาคสนามชัยเขต 
บายศรีพญานาคแปลงยาว
บายศรีพญานาคเมืองนครนายก 
บายศรีพญานาคปากพลี 
บายศรีพญานาคบ้านนา 
บายศรีพญานาคองครักษ์
 


Engine by shopup.com