รับทำบายศรี
ช่างบายศรีปากชาม
บายศรีสู่ขวัญ ผลงานของเรา
บายศรีเทพ
อุปกรณ์พิธีสงฆ์
พิธีบวงสรวง
รับจัดพิธีสงฆ์
จัดพิธีพราหมณ์
จัดเลี้ยงพระ
ความสำคัญของพิธีบายศรีสู่ขวัญ
พิธีบายศรีสู่ขวัญ เป็นพิธีที่สำคัญของชาวอีสาน เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับขวัญและจิตใจ เพื่อให้เกิดขวัญและกำลังใจที่ดีขึ้น
การดำเนินชีวิตของชาวอีสานแทบทุกอย่าง จึงมีการบายศรีสู่ขวัญควบคู่กันไปเสมอ เป็นการเรียกร้องพลังทางจิต
ช่วยให้มีพลังใจที่เข้มแข็ง สามารถฟันฝ่าภัยพิบัติต่างๆได้ การสู่ขวัญช่วยทำให้เกิดมงคล ทำให้ดำรงอยู่ด้วยความสุขราบรื่น
มีโชคลาภมากขึ้น และอาจดลปรารถนาให้ผู้ที่เคราะห์ร้ายพ้นจากสรรพเคราะห์ทั้งปวง ด้วยมูลเหตุแห่งการสู่ขวัญ
การประกอบพิธีบายศรีสู่ขวัญของชาวอีสาน เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับขวัญและจิตใจ ช่วยก่อให้เกิดขวัญและกำลังใจที่ดีขึ้น ซึ่งชาวอีสาน
เห็นความสำคัญทางจิตใจเป็นอย่างมาก ดังนั้นวิถีการดำเนินชีวิตแทบทุกอย่างจึงมักจะมีการสู่ขวัญควบคู่กันไปเสมอ การสู่ขวัญจะช่วย
ให้เกิดศิริมงคล ชีวิตอยู่ด้วยความราบรื่น จิตใจเข้มแข็ง โชคดียิ่งขึ้น ปัดเป่าสิ่งที่ไม่ดี หายจากสรรพเคราะห์ทั้งปวง ทั้งพิธีบายศรีสู่ขวัญ
มีหลายรูปแบบ แล้วแต่ว่าจะจัดพิธีสู่ขวัญในเรื่องใด เช่นการสู่ขวัญเด็ก การสู่ขวัญนาค การสู่ขวัญบ่าวสาว หรือจะเป็นการสื่อขวัญ
ในเหตุที่ทำให้เกิดการเสียขวัญ จิตใจไม่ดี เพื่อเรียกให้ขวัญมาอยู่กับเนื้อกับตัว สิ่งไม่ดีให้ผ่านพ้นไป มีพลังใจที่ดี รวมทั้งการสู่ขวัญสัตว์
และสิ่งต่างๆก็อาจทำได้ แต่การปฏิบัตินอกจากจะมีเครื่องขวัญที่ใช้ในพิธีแล้ว พิธีการต่างๆก็จะแตกต่างกันไปเป็นปลีกย่อย แล้วแต่ลักษณะพิธี
ซึ่งประเพณีบายศรีสู่ขวัญในภาคอีสาน เป็นประเพณีที่ประชาชนส่วนมาก ยังนิยมปฏิบัติกันอยู่ทั่วไป เพราะถือว่าเป็นพิธีที่เป็นศิริมงคล
เป็นการมอบความปรารถนาดีและดลบันดาลให้ ผู้รับการทำพิธีตลอดจนผู้เกี่ยวข้องมีความสุขความเจริญ และจิตใจสงบสุข
และส่งเสริมให้ประชาชนมีความรักใคร่กันเป็นอย่างดี นับเป็นวัฒนธรรมที่ดี ควรแก่การอนุรักษ์ให้อยู่สืบไป
การบายศรีสู่ขวัญ เป็นวัฒนธรรมอันดีของชาวอีสานและชาวเหนือจัดขึ้นเพื่อเป็นการรับขวัญ และเรียกขวัญของผู้ที่จากบ้านไปไกล
ด้วยเวลาอันยาวนาน หรือผู้ที่เพิ่งหายป่วยไข้ ตลอดจนเป็นการแสดงความยินดีกับผู้ที่ได้รับการเลื่อนตำแหน่งในทางราชการ
และเป็นการต้อนรับอาคันตุกะผู้มาเยือน ซึ่งในภาคอีสานนั้น เมื่อมีการจัดงานอะไรก็ตาม ก็จะมีพิธีบายศรีสู่ขวัญควบคู่ไปด้วย
การจัดพิธีบายศรีสู่ขวัญก็เพื่อต้อนรับแขกนั้น มักจะทำกันอย่างสวยงาม ใหญ่โต
สมัยโบราณ มีการเรียกพิธีสู่ขวัญว่า “ บายศรี ” ทั้งนี้สืบเนื่อง มาจากเป็นพิธี สำหรับบุคคลชั้นเจ้านาย เพราะคำว่า “ บา ” เป็นภาษาโบราณ อีสานใช้เป็น คำนำหน้า เรียกเจ้านาย เช่น บาท้าวบาบ่าว บาคราญ เป็นต้น ส่วนคำว่า “ ศรี ” หมายถึง ผู้หญิงและสิ่งที่เป็นสิริมงคล “ บาศรี ” จึงหมายถึง การทำพิธีที่ เป็นสิริมงคลแต่ปัจจุบันนี้ คำว่า บาศรี ไม่ค่อยนิยม เรียก กันแล้ว มักนิยมเรียกว่า “ บายศรี ” บายศรีจะเรียกเป็นองค์ มีหลายประเภท เช่น บายศรีเทพ บายศรีพรหมเป็นต้น การจัดทำบายศรีนั้น เริ่มจาก การนำใบตอง ที่มาจากกล้วยตานีเย็บเป็น บายศรี ประดับด้วย ดอกไม้มงคลต่างๆ ส่วนตัวบายศรี ยังแบ่งออกตามลักษณะ การใช้งาน ในการบูชา ที่แตกต่าง ออกไป
บายศรี คือ ภาชนะที่จัดตกแต่งให้สวยงามเป็นพิเศษด้วยใบตอง และดอกไม้สด เพื่อเป็นสำรับใส่อาหารหวาน คาว ในพิธีสังเวยบูชา และพิธีทำขวัญต่างๆ ทั้งของพระราชพิธีและของราษฎร เช่น
1. พระราชพิธีบวงสรวงสังเวยเทพเทวดา
2. พระราชพิธีเปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้วมรกต
3. พระราชพิธีสมโภชพระพุทธรูป
4. พระราชพิธีสมโภชรับพระขวัญ
5. พระราชพิธีสมโภชช้าง
6. พิธีตั้งศาลพระภูมิ
7. พิธียกเสาเอก
8. พิธีทำขวัญต่างๆ ทำขวัญวัน ทำขวัญเดือน ทำขวัญนาค ทำขวัญเมื่อหายป่วยแล้ว ทำพิธีสู่ขวัญคู่บ่าวสาว
การ ทำบายศรีสู่ขวัญเป็นประเพณีโบราณ ที่บรรพบุรุษได้เคยปฏิบัติกัน สืบ ๆ มา ถือกันว่าเป็นสิริมงคลอันดี แก่การเป็นอยู่ คือ การสวัสดิภาพในการดำรงชีวิต ของมนุษย์แต่การทำบายศรีสู่ขวัญนั้น ต้องอาศัยนักปราชญ์ผู้ฉลาดในวิธีการกระทำ จึงเป็นสิริมงคลได้ ถ้าทำไปสักว่าทำ ไม่มีพิธีการ ก็จะมีผลน้อยเพราะการกระทำทั้งนี้เกี่ยวกับจิตวิทยาอย่างหนึ่ง ถ้าผู้ทำเป็นผู้ฉลาดในพิธีการตั้งอกตั้งใจทำจริง ๆ อย่างนี้ จึงได้รับประโยชน์ในการกระทำนั้น โบราณถือว่า บายศรีมีครูแรง ถ้าใครไม่ได้ครอบ (อนุญาต) ห้ามทำบายศรี อัปรีย์จะกินทำให้คนทั้งหลายกลัว ไม่กล้าฝึกทำตามลำพัง หรือตามอย่างครู โดยครูไม่บอกอนุญาตให้เรียน ทั้งนี้คงมีจุดมุ่งหมายที่แฝงอยู่ คือ ให้เรียนหรือฝึกหัดทำด้วยความตั้งใจ อย่างดีเพื่อให้ได้สวยงามทำได้ดี ที่มีครูสอน เพราะบายศรีเป็นของสูงเป็นเครื่องสังเวยเทพเทวดา ไม่ควรทำสุกเอาเผากิน จึงได้มีการปรามเอาไว้กันคนที่ไม่ค่อยประณีต ไม่ตั้งใจจริง ไม่ให้ทำ อีกประการหนึ่งเป็นการปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดี ให้เกิดขึ้นแก่ลูกหลาน ให้รู้จักเครารพครูอาจารย์ มีกตัญญู ไม่ลบหลู่คุณครูอาจารย์ จะเรียนอะไรทำอะไร ต้องได้ชื่อว่าศิษย์มีครู จึงจะเกิดความมั่นใจและทำได้ดี สมัยโบราณจึงมีพิธีครอบการทำบายศรี พิธีครอบของครูบายศรี ไม่มีอะไรมากมายนัก เพียงให้จุดธูปอธิษฐานถึงครูบายศรี ตั้งแต่ครูคนแรก ที่เป็นผู้คิดประดิษฐ์ทำ และผู้รักษาสืบต่อมา จนถึงครูของเราปัจจุบันนี้ ขอคุณครูจงช่วยอวยพรชัย ให้ทำบายศรีได้สวยงามดี สำเร็จเป็นสิริมงคล ถ้าแม้นว่าจะทำผิดพลาดประการใด ขอคุณครูได้เมตตา อภัยให้ด้วยเถิด
การทำบายศรี นั้น นักปราชญ์โบราณเคยทำสืบ ๆ กันมา มี 2 วิธี คือ
วิธีที่ 1 จะนิมนต์พระสงฆ์ 4 รูป รับศีล รับพร และประพรมน้ำมนต์
วิธีที่ 2 ตั้งเครื่องบูชาพาขวัญ (บายศรี) ตามประเพณีนิยม มีข้าวสาร กล้วย ข้าวต้ม ขนม ธูปเทียน ผ้าแพรวา (ถ้าสู่ขวัญคน จะมี เครื่องสำอางค์ด้วย) ฝ้ายผูกแขน เทียนรอบหัวและเท่าตัว ยอดกล้วย ยอดอ้อย ด้ายขาว 1 ในขันโตก ขันทองเหลือง
การทำบายศรี มี 2 อย่าง คือ บายศรีหลัก บายศรีปากชาม
1. บายศรีหลัก จะทำในงานทั่วไป เช่น งานมงคลต่าง ๆ แขกมาเยี่ยมบ้านแต่งงาน ทำขวัญผู้ใหญ่ ฯลฯ
2. บายศรีปากชาม นั้นมักจะมีคู่ซ้าย ขวา จะทำในพิธีบวงสรวง หลักเมือง หรือเจ้าที่เจ้าทาง หรือ ยกครู ไหว้ครู ทางไสยศาสตร์ ในสมัยโบราณการทำบายศรี จะทำในงานสำคัญเท่านั้น และทำเป็นสี่หลักข้างต้น แต่เมื่อล่วงนานมาประมาณ พ.ศ. 2500 ทางพุทธให้มีหลักสูตร สอนศาสนาพิธีนั้น พานบายศรีก็มีการเปลี่ยนแปลง ไปตามกาลสมัย มี 3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น 9 ชั้น ตามคำสวดที่อัญเชิญเทพมาในงานพิธีนั้น
บายศรีพญานาคเชียงราย
บายศรีพญานาคเชียงใหม่
บายศรีพญานาคน่าน
บายศรีพญานาคพะเยา
บายศรีพญานาคแพร่
บายศรีพญานาคแม่ฮ่องสอน
บายศรีพญานาคลำปาง
บายศรีพญานาคลำพูน
บายศรีพญานาคอุตรดิตถ์
บายศรีพญานาคกาฬสินธุ์
บายศรีพญานาคขอนแก่น
บายศรีพญานาคชัยภูมิ
บายศรีพญานาคนครพนม
บายศรีพญานาคนครราชสีมา
บายศรีพญานาคบึงกาฬ
บายศรีพญานาคบุรีรัมย์
บายศรีพญานาคมหาสารคาม
บายศรีพญานาคมุกดาหาร
บายศรีพญานาคยโสธร
บายศรีพญานาคร้อยเอ็ด
บายศรีพญานาคเลย
บายศรีพญานาคสกลนคร
บายศรีพญานาคสุรินทร์
บายศรีพญานาคศรีสะเกษ
บายศรีพญานาคหนองคาย
บายศรีพญานาคหนองบัวลำภู
บายศรีพญานาคอุดรธานี
บายศรีพญานาคอุบลราชธานี
บายศรีพญานาคอำนาจเจริญ
บายศรีพญานาคกำแพงเพชร
บายศรีพญานาคชัยนาท
บายศรีพญานาคนครนายก
บายศรีพญานาคนครปฐม
บายศรีพญานาคนครสวรรค์
บายศรีพญานาคนนทบุรี
บายศรีพญานาคปทุมธานี
บายศรีพญานาคพระนครศรีอยุธยา
บายศรีพญานาคพิจิตร
บายศรีพญานาคพิษณุโลก
บายศรีพญานาคเพชรบูรณ์
บายศรีพญานาคลพบุรี
บายศรีพญานาคสมุทรปราการ
บายศรีพญานาคสมุทรสงคราม
บายศรีพญานาคสมุทรสาคร
บายศรีพญานาคสิงห์บุรี
บายศรีพญานาคสุโขทัย
บายศรีพญานาคสุพรรณบุรี
บายศรีพญานาคสระบุรี
บายศรีพญานาคอ่างทอง
บายศรีพญานาคอุทัยธานี
บายศรีพญานาคจันทบุรี
บายศรีพญานาคฉะเชิงเทรา
บายศรีพญานาคชลบุรี
บายศรีพญานาคตราด
บายศรีพญานาคปราจีนบุรี
บายศรีพญานาคระยอง
บายศรีพญานาคสระแก้ว
บายศรีพญานาคกาญจนบุรี
บายศรีพญานาคตาก
บายศรีพญานาคประจวบคีรีขันธ์
บายศรีพญานาคเพชรบุรี
บายศรีพญานาคราชบุรี
บายศรีพญานาคกระบี่
บายศรีพญานาคชุมพร
บายศรีพญานาคตรัง
บายศรีพญานาคนครศรีธรรมราช
บายศรีพญานาคนราธิวาส
บายศรีพญานาคปัตตานี
บายศรีพญานาคพังงา
บายศรีพญานาคพัทลุง
บายศรีพญานาคภูเก็ต
บายศรีพญานาคระนอง
บายศรีพญานาคสตูล
บายศรีพญานาคสงขลา
บายศรีพญานาคสุราษฎร์ธานี
บายศรีพญานาคยะลา
บายศรีพญานาคกรุงเทพมหานคร
บายศรีพญานาคคลองสาน
บายศรีพญานาคคลองสามวา
บายศรีพญานาคคลองเตย
บายศรีพญานาคคันนายาว
บายศรีพญานาคจอมทอง
บายศรีพญานาคดอนเมือง
บายศรีพญานาคดินแดง
บายศรีพญานาคดุสิต
บายศรีพญานาคตลิ่งชัน
บายศรีพญานาคทวีวัฒนา
บายศรีพญานาคทุ่งครุ
บายศรีพญานาคธนบุรี
บายศรีพญานาคบางกอกน้อย
บายศรีพญานาคบางกอกใหญ่
บายศรีพญานาคบางกะปิ
บายศรีพญานาคบางคอแหลม
บายศรีพญานาคบางซื่อ
บายศรีพญานาคบางนา
บายศรีพญานาคบางพลัด
บายศรีพญานาคบางรัก
บายศรีพญานาคบางเขน
บายศรีพญานาคบางแค
บายศรีพญานาคบึงกุ่ม
บายศรีพญานาคปทุมวัน
บายศรีพญานาคประเวศ
บายศรีพญานาคป้อมปราบศัตรูพ่าย
บายศรีพญานาคพญาไท
บายศรีพญานาคพระนคร
บายศรีพญานาคพระโขนง
บายศรีพญานาคภาษีเจริญ
บายศรีพญานาคมีนบุรี
บายศรีพญานาคยานนาวา
บายศรีพญานาคราชเทวี
บายศรีพญานาคราษฎร์บูรณะ
บายศรีพญานาคลาดกระบัง
บายศรีพญานาคลาดพร้าว
บายศรีพญานาควังทองหลาง
บายศรีพญานาควัฒนา
บายศรีพญานาคสวนหลวง
บายศรีพญานาคสะพานสูง
บายศรีพญานาคสัมพันธวงศ์
บายศรีพญานาคสาทร
บายศรีพญานาคสายไหม
บายศรีพญานาคหนองจอก
บายศรีพญานาคหนองแขม
บายศรีพญานาคหลักสี่
บายศรีพญานาคห้วยขวาง
บายศรีพญานาคเมืองนครปฐม
บายศรีพญานาคกำแพงแสน
บายศรีพญานาคดอนตูม
บายศรีพญานาคนครชัยศรี
บายศรีพญานาคบางเลน
บายศรีพญานาคพุทธมณฑล
บายศรีพญานาคสามพราน
บายศรีพญานาคเมืองนนทบุรี
บายศรีพญานาคบางกรวย
บายศรีพญานาคบางบัวทอง
บายศรีพญานาคบางใหญ่
บายศรีพญานาคปากเกร็ด
บายศรีพญานาคไทรน้อย
บายศรีพญานาคเมืองปทุมธานี
บายศรีพญานาคคลองหลวง
บายศรีพญานาคธัญบุรี
บายศรีพญานาคลาดหลุมแก้ว
บายศรีพญานาคลำลูกกา
บายศรีพญานาคสามโคก
บายศรีพญานาคหนองเสือ
บายศรีพญานาคเมืองสมุทรปราการ
บายศรีพญานาคบางพลี
บายศรีพญานาคบางเสาธง
บายศรีพญานาคพระประแดง
บายศรีพญานาคพระสมุทรเจดีย์
บายศรีพญานาคเมืองระยอง
บายศรีพญานาคนิคมพัฒนา
บายศรีพญานาคเขาชะเมา
บายศรีพญานาคบ้านฉาง
บายศรีพญานาคปลวกแดง
บายศรีพญานาควังจันทร์
บายศรีพญานาคแกลง
บายศรีพญานาคเมืองชลบุรี
บายศรีพญานาคเกาะจันทร์
บายศรีพญานาคบางละมุง
บายศรีพญานาคบ่อทอง
บายศรีพญานาคบ้านบึง
บายศรีพญานาคพนัสนิคม
บายศรีพญานาคพานทอง
บายศรีพญานาคศรีราชา
บายศรีพญานาคสัตหีบ
บายศรีพญานาคหนองใหญ่
บายศรีพญานาคเกาะสีชัง
บายศรีพญานาคเมืองสมุทรสาคร
บายศรีพญานาคกระทุ่มแบน
บายศรีพญานาคบ้านแพ้ว
บายศรีพญานาคมหาชัย
บายศรีพญานาคเมืองสมุทร
บายศรีพญานาคอัมพวา
บายศรีพญานาคบางคนที
บายศรีพญานาคเมืองราชบุรี
บายศรีพญานาคบ้านคา
บายศรีพญานาคจอมบึง
บายศรีพญานาคดำเนินสะดวก
บายศรีพญานาคบางแพ
บายศรีพญานาคบ้านโป่ง
บายศรีพญานาคปากท่อ
บายศรีพญานาควัดเพลง
บายศรีพญานาคสวนผึ้ง
บายศรีพญานาคโพธาราม
บายศรีพญานาคเมืองฉะเชิงเทรา
บายศรีพญานาคคลองเขื่อน
บายศรีพญานาคท่าตะเกียบ
บายศรีพญานาคบางคล้า
บายศรีพญานาคบางน้ำเปรี้ยว
บายศรีพญานาคบางปะกง
บายศรีพญานาคบ้านโพธิ์
บายศรีพญานาคพนมสารคาม
บายศรีพญานาคราชสาส์น
บายศรีพญานาคสนามชัยเขต
บายศรีพญานาคแปลงยาว
บายศรีพญานาคเมืองนครนายก
บายศรีพญานาคปากพลี
บายศรีพญานาคบ้านนา
บายศรีพญานาคองครักษ์