9627237

รำวงย้อนยุค”กิจกรรมเข้าจังหวะ สร้างพลังใจ-ช่วยข้อต่อแข็งแรง

หมวดหมู่สินค้า: A158 ลำวงย้อนยุค

26 กุมภาพันธ์ 2565

ผู้ชม 188 ผู้ชม

หากท่านกำลังมองหาวงดนตรีรำวงย้อนยุค มาแสดงในงานบุญ งานบวช งานแต่งงาน งานผ้าป่า งานกฐิน งานปีใหม่ งานสงกรานต์ งานกาชาด งานประจำปี  งานเลี้ยงสังสรรค์ต่างๆ ผลงานรำวงย้อนยุคของเรา
รำวงเวียนครก
รําวงเพชรบุรี
หมอลําย้อนยุค
รำวงย้อนยุคเพชรบุรี
ลำวงย้อนยุค
เช่าเครื่องเสียง
เช่าระบบไฟ
เต็นท์เช่า
เช่าคาราโอเกะ
         ติดต่อสอบถามคิวงาน       




 
รำวงย้อนยุค”กิจกรรมเข้าจังหวะ สร้างพลังใจ-ช่วยข้อต่อแข็งแรง
 
นอกจากความสนุกสนานที่ได้เต้นได้โยกตามจังหวะเสียงเพลงจาก “รำวงย้อนยุค” แล้ว กิจกรรมสันทนาการดังกล่าวยังช่วยคลายเหงาและลดความว้าเหว่ได้ไม่น้อย ประกอบการฟ้อนรำดังกล่าวถูกหยิบมารื้อฟื้นอีกครั้ง เพื่อให้คนสูงอายุในต่างจังหวัดได้ออกกำลังกายในช่วงไม่กี่ปีมานี้ หลังจากห่างหายไปจากบ้านเราสักพักหนึ่ง ภายหลังการปกครองของ “จอมพล ป.พิบูลสงคราม” อ.ไพฑูรย์ ปานประชา ข้าราชการบำนาญ นักวิชาการวัฒนธรรม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม ให้ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมรำวงพื้นบ้านถึงประโยชน์ที่มีต่อคนสูงวัย
 
อ.ไพฑูรย์เล่าว่า แรกเริ่มเดิมที “รำวงย้อนยุค” เกิดในช่วงรัชสมัยของจอมพล ป.พิบูลสงคราม ซึ่งเป็นการละเล่นของชาวบ้านในภาคกลางอย่าง จ.สระบุรี, อ่างทอง และชัยนาท ในช่วงหลังเก็บเกี่ยวข้าว เพราะพักผ่อนและคลายเหนื่อยล้าจากการทำนา ซึ่งเดิมทีจะเรียก “รำโทน” เพราะต้องใช้เครื่องดนตรีอย่าง “โทน” เป็นการให้จังหวะช้าๆ และเป็นเพลงสั้นๆ เล่นซ้ำไปซ้ำมา เช่น เพลงลามะลิลา, เพลงงามแสงเทียน เป็นต้น ต่อมาเมื่อท่านจอมพล ป.ได้เห็น ท่านจึงนำมาปรับโดยใส่รำวงมาตรฐาน การร่ายรำแบบไทยเข้าไป จึงออกมาเป็นศิลปะ “รำวง” กระทั่งเรียกขานกันว่า “รำวงย้อนยุค” ในปัจจุบัน 
ในอดีตการ “รำโทน” จะเน้นการจับคู่เต้น แต่เมื่อปรับแล้วเราก็จะเห็นว่าเป็นการเต้นและเดินเป็นวงกลมไปพร้อมกันหลายๆ คน ซึ่งสมัยนั้นทุกบ่ายวันพุธจะมีการเต้นรำวงย้อนยุคของข้าราชการ และเวลาที่ผู้นำประเทศไทยไปเยือนประเทศเพื่อนบ้าน เมื่อเสร็จสิ้นการประชุมก็จะมีการรำวงเพื่อความผ่อนคลายและความสัมพันธ์ที่ดี จึงทำให้การ “รำวง” เป็นเอกลักษณ์ของคนไทยในแง่ของการเผยแพร่วัฒนธรรมไปสู่ต่างประเทศ และยังเป็นการกิจกรรมที่ใช้เลื่อนขั้นเลื่อนยศของข้าราชการยุคก่อนเลยก็ว่าได้ หรือเป็นข้อปฏิบัติซึ่งคล้ายกับกฎหมายยกเลิกกินหมากในสมัยรัชกาลที่ 5 กระทั่งหมดยุคการปกครองของจอมพล ป.พิบูลสงคราม และเข้าสู่ยุคของ “จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์” กิจกรรมรำวงก็ได้หายไป กระทั่งถูกนำมาพื้นฟูในอีกช่วงไม่กี่ปีมานี้ โดยประยุกต์เป็นกิจกรรมออกกำลังกายของผู้สูงอายุ ซึ่งก็ได้การตอบรับที่ดีทั้งในแง่ของสุขภาพและอนุรักษ์วัฒนธรรมการร่ายรำของไทยให้คงอยู่กับเยาวชนรุ่นใหม่ 
 
 “ถ้าสังเกตให้ดี คนสูงวัยส่วนใหญ่มักจะอยู่ตามลำพัง ถ้ามีการจัดกิจกรรม “รำวงพื้นบ้าน” ขึ้นก็จะทำให้ผู้สูงวัยได้สังสรรค์ ตรงนี้จะช่วยคลายเหงาและลดความว้าเหว่ให้กับคนชราได้ค่อนข้างดี ที่สำคัญยังได้บริหารกล้ามเนื้อ เพราะการเต้นรำวงจำเป็นต้องเดินไปมา อีกทั้งมีการย่อเข่าตามจังหวะเพลงที่ไม่ได้เร็วมาก ตรงนี้จะช่วยเรื่องการทรงตัวเพื่อป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ และได้บริหารข้อต่อและกล้ามเนื้อ อีกทั้งการได้ยกแขนก็ถือเป็นการบริหารร่างกายทุกส่วนเช่นกัน อีกทั้งการร้องรำที่ผู้สูงอายุคุ้นเคยในอดีตตั้งแต่เห็นปู่ย่าตายายร้องเล่นเต้นรำตั้งแต่เด็ก กระทั่งวัยสาวยันสูงอายุ สิ่งเหล่านี้เป็นความสุขใจและเป็นความอบอุ่น ทำให้คนแก่มีกำลังใจกับสิ่งที่ท่านคุ้นเคยเมื่อในอดีต” 
    นักวิชาการวัฒนธรรมคนเดิมบอกอีกว่า ถ้าจะให้ดี ควรแทรกกิจกรรม “รำวงย้อนยุค” ร่วมกับกิจกรรมอื่นๆ เช่น ทำบุญตักบาตรภายในชุมชนที่ทาง อบต.หรือ อบจ.จัดขึ้น เพราะกิจกรรมเข้าจังหวะดังกล่าว ถ้าทำบ่อยๆ ผู้สูงวัยอาจรู้สึกเบื่อได้ง่าย ที่สำคัญไม่ควรเต้นนานเกิน 30 นาที โดยเฉพาะผู้สูงวัยที่ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมต่างๆ เพราะอาจยิ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อการหกล้มได้ง่าย เนื่องจากจุดประสงค์ที่แท้จริงของการรีเมกกิจกรรมสันทนาการดังกล่าว ไม่เพียงเป็นการอนุรักษ์การรำวงให้คงอยู่แล้ว แต่เป็นการใช้รูปแบบการร้องรำทำเพลงเพื่อช่วยให้คนสูงอายุมีกิจกรรมทำโดยที่ไม่รู้สึกโดดเดี่ยว และรู้สึกว่าตัวเองอยู่ไปแบบไร้ค่า เนื่องจากคนชราส่วนใหญ่จะคิดเช่นนั้น เมื่อไรก็ตามที่ท่านใช้ชีวิตแบบกะปลกกะเปลี้ย นั่นจะทำให้คุณตาคุณยายเป็นผู้ที่นอนติดเตียง ส่วนตัวจึงเห็นด้วยว่า “รำวงย้อนยุค” เป็นกิจกรรมที่เหมาะกับผู้สูงอายุเป็นอย่างยิ่ง
    “ถ้าจะให้ดี กิจกรรม “รำวงย้อนยุค” ควรเน้นเป็นการออกกำลังกายโดยไม่จำเป็นต้องแต่งตัวให้สวยงาม แต่ให้เน้นทำให้คนสูงวัยได้แจ่มใสและสดชื่นไปตามจังหวะเสียงเพลงที่สนุกสนานและคุ้นเคย อันประกอบไปด้วย 3 สเต็ปคือ การวอร์มอัพร่างกายก่อนเต้น ต่อด้วยการเต้นหรือร่ายรำในท่ากายบริหาร ตามด้วยการลดจังหวะความเร็วในการเต้นและเดินให้ช้าลง หรือที่เรียกกันว่าวอร์มดาวน์ ที่ลืมไม่ได้ สถานที่เต้นรำวงย้อนยุคควรเป็นพื้นกระเบื้องยาง และเป็นสถานที่ที่ไม่มีสิ่งแหลมคม ทั้งนี้ เพื่อป้องกันการหกล้มและเสี่ยงต่อการบาดเจ็บจากกิจกรรมบันเทิงดังกล่าว
 
 
 
รำวงย้อนยุค
 
รำวงย้อนยุค หรือรำวงพื้นบ้าน คือ รำโทนในภาคกลาง  ซึ่งชาวจันทบุรี  เรียกกันทั่วไปในอดีตว่า รำวงเขี่ยไต้  เป็นการแสดงพื้นบ้านของชาวบ้าน เมื่อประมาณ ๕๐ – ๖๐ ปีมาแล้ว  เพื่อเป็นการบันเทิง ในขณะนวดข้าว สลับกับการร้องเพลงหงส์ฟาง โดยใช้เครื่องดนตรี เป็นอุปกรณ์ที่หาได้ในขณะนั้น เป็นเครื่องกำหนดจังหวะ เช่น ใช้เคาะไม้  เคาะปี๊ป  ต่อมาใช้เป็นศิลปะในการหาเลี้ยงชีพ คือรับจ้างแสดงตามงานต่าง ๆ หรือมักเล่นกันในช่วงในฤดูแล้ง มักจัดขึ้นในงานวัด เช่น งานวันวิสาขบูชา  งานประจำปี งานบวช
 
                ปัจจุบัน รำวงย้อนยุค หรือรำวงพื้นบ้าน ไม่มีการแสดงในชุมชนนี้อีกแล้ว ยังคงมีเพียงผู้สูงอายุ เพียงไม่กี่คนที่ยังจำท่ารำ และร้องเพลงรำวงแบบเดิม ๆ ได้
 
ความสำคัญ/หลักการเหตุผล
รำวงพื้นบ้านหรือรำโทนในภาคกลางนั้น ชาวจันทน์เรียกว่า รำวงเขี่ยใต้ จากการบอกเล่าของ
นายเล็ก ประมาณทรัพย์ ชาวบ้านตำบลเกวียนหัก เหตุเพราะสมัยก่อน ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ การละเล่นหรือการแสดงต่างๆ ที่แสดงในตอนกลางคืน อาศัยแสงสว่างจากการจุดไต้ ปักไว้กลางลาน ถ้าเป็นบริเวณลานที่ใช้จัดแสดงเช่น รำวง ก็จะใช้ไต้ใส่ไว้ในกระบอกไม้ไผ่ ปักไว้ และจุดให้แสงสว่าง เมื่อรำวงเริ่มรำไปสัก ๒ – ๓ รอบ ไต้ที่จุดไว้ก็เริ่มมอดลง ผู้รำที่เป็นผู้ชายก็จะแวะไปเขี่ยไต้ให้คุโชนขึ้นมาใหม่ เป็นเช่นนี้ไปตลอดจนกว่ารำวงจะเลิก สมัยต่อมาก็อาศัยแสงสว่างจากตะเกียงเจ้าพายุ
เดิมรำวงพื้นบ้านจะมีเครื่องดนตรีเพียงชิ้นเดียว คือ กลองทัด ชาวบ้านเกวียนหักเรียกว่ากลองเพล (กลอง - เพน) ใช้ตีกำกับจังหวะ ซึ่งมีอยู่จังหวะเดียว คือ แต็ก ตุง ตุง แต็ก ตุง ตุง ถ้าต้องการให้เพลงที่ร้องเป็นทำนองเร็วขึ้น ก็ตีกลองให้จังหวะกระชั้นขึ้น
คนที่ร้องเพลงรำวง เรียกว่า กองเชียร์ เพราะนอกจากร้องเพลงให้นางรำและคนรำได้แสดงท่าทางรำวงกันสนุกสนานแล้ว เมื่อหมดรอบ ก็จะร้องเชื้อเชิญให้หนุ่ม ๆ นักรำทั้งหลายซื้อตั๋วเข้ามาโค้งนางรำ เป็นเช่นนี้จนกว่ารำวงจะเลิก ประมาณเที่ยงคืน บางครั้งถ้ามีหนุ่มนักรำจำนวนมาก รำวงก็จะเลิกจนตีหนึ่ง ทั้งนางรำและคนรำขณะที่รำวงไปนั้นก็จะร้องเพลงไปด้วย เพื่อให้เกิดเสียงดังขึ้นอีก ซึ่งทำให้เกิดความสนุกสนาน ต่อมามีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าใช้ ชาวบ้านเรียกว่า เครื่องปั่นไฟ ก็อาศัยแสงสว่างจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้า และการร้องเพลงก็ใช้เครื่องขยายเสียงเข้ามาช่วย และมีการพัฒนานำเครื่องดนตรีชนิดอื่นเข้ามาเสริม เช่น ฉิ่ง กรับ ลูกซัด รำวงย้อนยุคหรือรำวงพื้นบ้าน เป็น ศิลปะการแสดงอย่างหนึ่งของชาวบ้าน ซึ่งแฝงไว้ด้วยความสนุกสนาน โดยใช้ท่าทาง และใช้ธรรมชาติที่พบเห็นมาแต่งเป็นเพลงร้องง่าย ๆ สั้น ๆ เช่น ท่าทางของสัตว์บางชนิด อย่างเช่น นกเขา กระต่าย เวลารำก็แสดงท่าทางเลียนแบบกริยาของสัตว์เหล่านั้น เวลานกเขาคู ก็ทำท่าทางนกเขาขันคู
คณะรำวง ประกอบด้วย นางรำ จำนวนกี่คนก็แล้วแต่ความชอบ ความสมัครใจของผู้เป็นนางรำ คนร้องเพลงเชียร์รำวง คนคุมเครื่องกำเนิดไฟฟ้า คนตีกลอง
คณะรำวงจะอยู่ได้หรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับเจ้าภาพที่มาจัดจ้างไปแสดง และความนิยมของนักรำ ในสมัยนั้น งานที่มีรำวง ส่วนมากจะเป็นงานบวช งานวัด งานวันวิสาขบูชา งานประจำปี การว่าจ้างรำวงไปแสดง เจ้าภาพจะมีรายได้ด้วย เพราะคนจำหน่ายตั๋วรำวงคือเจ้าภาพนั่นเอง อัตราค่าตั๋วรอบละ ห้าสิบสตางค์ ส่วนนางรำ ก็ได้ค่าตัวคืนละตั้งแต่ ๓๐ บาท จนถึง ๑๐๐ บาท สมัยก่อนนั้น ประมาณ ๖๐ กว่าปีมาแล้ว ค่าเงินยังแพงอยู่ ป้าสนม บุญประกอบ อดีตนางรำ ประจำคณะรำวง เล่าให้ฟังว่า ค่าตัวที่ได้รับในการแสดงนั้น เคยได้รับตั้งแต่ สามสิบบาท จนถึง หนึ่งร้อยบาท แล้วยังมีรายได้นอกเหนือจากค่าจ้าง คือถ้านักรำติดอกติดใจ ก็จะมีรางวัลรอบนอกอีก งานใดที่มีรำวงไปเล่น ย่อมแสดงถึงความมีฐานะของเจ้าภาพด้วย
 
ประวัติความเป็นมา
ชาติไทย เป็นชาติที่มีศิลปะการแสดงหลากหลาย ทั้งในระดับสังคมชาวบ้าน และในราชสำนัก ศิลปะการแสดงเหล่านี้ แสดงถึงวัฒนธรรมที่มีคุณค่าสูงส่งและความเป็นอารยชาติ ศิลปะการแสดงของไทย โดยเฉพาะโขน- ละคร เป็นศิลปะที่แฝงไว้ซึ่งภูมิปัญญา ที่มิใช่มีแต่ความงามแต่เพียงอย่างเดียว แต่เป็นศิลปะที่ชาวโลกทุกคนควรจะได้สัมผัสและรับรู้ได้
ศิลปะการแสดงของไทย เชื่อกันว่ามีพื้นฐานมาจากสาเหตุสำคัญ ๒ ประการ
ประการแรก เกิดจากพื้นฐานอารมณ์สะเทือนใจของมนุษย์ เช่น ดีใจก็โลดเต้นส่งเสียงร้อง เสียใจก็ร้องไห้คร่ำครวญ ต่อมาจึงได้พัฒนาอารมณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ ให้เป็นพื้นฐานการแสดงในที่สุด
ประการที่สอง เกิดจากความเชื่อทางศาสนา เช่น เชื่อว่าสรรพสิ่งรอบตัวในธรรมชาติมีอำนาจที่เร้นลับแฝงอยู่ สามารถดลบันดาลให้เกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ และต่อมาได้พัฒนาเป็นระบบเทพเจ้า การอ้อนวอนธรรมชาติหรือเทพเจ้าให้เกิดความพึงพอใจ เพื่อประทานผลสำเร็จ ซึ่งเชื่อกันว่า เป็นต้นแบบให้เกิดการสวดอ้อนวอน การขับร้องดนตรี และการฟ้อนรำ
รูปแบบศิลปะการแสดงของไทยได้พัฒนาการมาเป็นลำดับ ทั้งในแนวของศิลปะพื้นบ้านหรือเป็นที่เข้าใจกันทั่วไปว่า การแสดงพื้นบ้าน เช่น รำ ระบำ และละครบางประเภท ส่วนอีกแนวหนึ่งนั้น เป็นศิลปะที่อยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือพระอุปถัมภ์ของพระบรมวงศ์ ซึ่งเป็นที่เข้าใจกันในชื่อว่า ศิลปะในราชสำนัก หรือการแสดงในราชสำนัก ซึ่งเป็นที่มาของรูปแบบนาฏศิลป์ประเภท โขน รำ ระบำ และละครรำ ในปัจจุบัน หมายถึง การแสดงที่ประกอบด้วยผู้แสดงคนเดียว เรียกว่า รำเดี่ยว หรือผู้แสดงสองคน เรียกว่า รำคู่ แต่มีรำบางชนิดที่มีผู้แสดงมากกว่า ๒ คน แต่ยังเรียกว่า รำ เช่น รำสีนวล รำวง ฯลฯ โดยมีจุดประสงค์เพื่อแสดงความงดงาม การเคลื่อนไหวของผู้แสดงที่สอดประสานกับเพลงดนตรี ไม่มุ่งเน้นในเนื้อเรื่องการแสดงระบำ ปัจจุบัน หมายถึง การแสดงที่ประกอบด้วยผู้แสดงจำนวนมากกว่า ๒ คน ขึ้นไป มีจุดประสงค์เพื่อแสดงความงดงาม ความพร้อมเพรียง การแปรแถวในขณะแสดง ประกอบกับการแต่งกาย และเพลงดนตรีที่ไพเราะ
 
การแสดงรำและระบำ อาจเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงในเรื่อง แต่ด้วยความงดงามดังกล่าว สามารถตัดทอนนำมาใช้แสดงเป็นชุดการแสดงที่เป็นเอกเทศได้ การแต่งกายของ รำ ระบำ แต่เดิมแต่งยืนเครื่องพระนาง ในปัจจุบันได้เกิดรำ ระบำแบบใหม่ ๆ ซึ่งแต่งกายตามสภาพหรือแต่งกายตามรูปแบบการแสดงละครประเภทต่าง ๆ
“รำโทน” เป็นศิลปะของคนในท้องถิ่น สาเหตุที่เรียกว่ารำโทนก็เนื่องจากใช้ “โทน” ลักษณะเป็นกลองหน้าเดียวเป็นเครื่องดนตรีหลักในการให้จังหวะ บางครั้งก็เรียกกันว่า “รำวง” โดยเรียกตามลักษณะการก้าวเท้าเคลื่อนย้ายตามกันเป็นวงของผู้รำ และเมื่อชาวกรุงไปพบเข้าจึงเรียกการรำชนิดนี้ว่า “รำวงพื้นเมือง”
รำวง หรือรำโทน ชื่อนี้ไม่ใช่ชื่อเฉพาะ (proper noun) หรือชื่อตายตัว อย่างที่เป็นในระยะหลัง แต่ชาวท้องถิ่นจะเรียกศิลปะนี้ในชื่ออื่นแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น และการร่ายรำชนิดนี้ที่มาจากภาคอีสาน หรือจังหวัดในภาคเหนือ ที่มีคนเชื้อสายลาวอาศัยอยู่ เช่น เพชรบูรณ์ ซึ่งสืบทอดถ่ายโอนมาจากลาว
ที่มาของรำโทน หรือรำวงนั้น ได้จากการเล่า “นิทานก้อม” หมายถึง นิทานสั้นๆ เป็นเรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมาแต่โบราณ หรือเรื่องที่กุหรือแต่งขึ้นในภายหลัง การเล่านิทานก้อม มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อความสนุกสนาน ตลกโปกฮาและคลายทุกข์โศก ดังนั้นจึงนิยมจัดให้มีการเล่านิทานก้อมในงาน “งันเฮือนดี” หรืองานศพ เพราะเรื่องราวต่างๆในนิทานจะได้สร้างความเพลิดเพลินสนุกสนาน เป็นการปลุกปลอบให้กำลังใจแก่ญาติพี่น้องของคนตาย ให้ปลงและเลิกโศกเศร้าไปในตัว ส่วนแขกเหรื่อในชุมชนที่มาช่วยงานก็จะได้รับความสนุกเพลิดเพลิน ในขณะช่วยงานไปด้วย ลักษณะการรำโทนนั้นเป็นการรำคู่ระหว่างชายหญิงให้เข้ากับจังหวะโทน โดยไม่มีท่ารำกำหนดเป็นแบบแผนตายตัว ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง รำโทนได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายตามจังหวัดต่าง ๆ บทร้องมีหลายลักษณะ เริ่มตั้งแต่บทชมโฉม บทเกี้ยวพาราสี บทสัพยอกหยอกเย้า และบทพรอดพร่ำร่ำลาจากกัน
ในช่วง พ.ศ. ๒๔๘๔ อยู่ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นได้เจรจาขอตั้งฐานทัพในประเทศไทย เพื่อเป็นทางผ่านสำหรับลำเลียงเสบียง อาวุธ และกำลังพล เพื่อไปต่อสู้กับฝ่ายสัมพันธมิตร โดยยกพลขึ้นที่ ตำบลบางปู จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔ จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้น จำเป็นต้องยอมให้ทหารญี่ปุ่นตั้งฐานทัพ มิฉะนั้นจะถูกฝ่ายอักษะ ซึ่งมีประเทศญี่ปุ่นรวมอยู่ด้วยนั้นปราบปราม ประเทศไทยขณะนั้นจึงเป็นเป้าหมายให้ฝ่ายสัมพันธมิตรโจมตี ส่งเครื่องบินมาทิ้งระเบิดทำลาย ทำให้ชีวิตผู้คน บ้านเรือน ทรัพย์สินเสียหายยับเยิน โดยเฉพาะที่ที่อยู่ใกล้กับฐานทัพญี่ปุ่น ส่วนใหญ่แล้วฝ่ายพันธมิตรจะส่งเครื่องบินมารุกรานจุดยุทธศาสตร์ในเวลาคืนเดือนหงาย เพราะจะมองเห็นจุดยุทธศาสตร์ได้ง่าย ชาวไทยมีทั้งความหวาดกลัวและตึงเครียด จึงได้ชักชวนกันเล่นเพลงพื้นเมือง คือการรำโทน เพื่อผ่อนคลายอารมณ์ที่ตึงเครียด ให้เพลิดเพลินสนุกสนานขึ้นบ้าง
การรำโทนนั้นใช้ภาษาที่เรียบง่าย เนื้อร้องเป็นเชิงเย้าแหย่ หยอกล้อ เกี้ยวพาราสีกัน ระหว่างหนุ่มสาว ทำนองเพลง การร้อง ท่ารำ การแต่งกายก็เรียบง่าย มุ่งความสนุกสนาน พอผ่อนคลายความทุกข์ไปได้บ้างเท่านั้น จอมพล ป. พิบูลสงคราม เกรงว่าชาวต่างชาติที่ได้พบเห็นจะเข้าใจว่า ศิลปะการฟ้อนรำ ของไทยมิได้ประณีตงดงาม ท่านจึงได้ให้มีการพัฒนาการรำโทนขึ้นอย่างมีแบบแผน ประณีตงดงาม ทั้งท่ารำ คำร้อง ทำนองเพลง และเครื่องดนตรีที่ใช้ ตลอดจนการแต่งกาย จึงเรียกกันว่า "รำวงมาตรฐาน" เพื่อจะได้เป็นแบบอย่างต่อไป
รำวง มีกำเนิดมาจาก รำโทน แต่เดิมรำโทนเป็นการเล่นพื้นเมืองอย่างหนึ่ง ที่นิยมเล่นกัน
ในฤดูเทศกาลของท้องถิ่นบางจังหวัด คำว่า “รำโทน” สันนิษฐานว่าเรียกชื่อจากการเลียนเสียงตามเครื่องดนตรีประกอบจังหวะที่เป็นหลัก คือ “โทน” ซึ่งตีเป็นลำนำเสียง “ ป๊ะ โทน ป๊ะ โทน ป๊ะ โทน โทน”
รำวง เป็นการละเล่นอย่างหนึ่งของชาวบ้าน ที่ร่วมกันเล่นเพื่อความสนุกสนานและเพื่อความสามัคคี นิยมเล่นกันในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๘๔ - ๒๔๘๘ รำวงนั้นเดิมเรียกว่า "รำโทน" เพราะใช้โทน เป็นเครื่องดนตรีตีประกอบจังหวะ โดยใช้โทนเป็นจังหวะหลัก มีกรับและฉิ่งเป็นเครื่องดนตรีประกอบ แต่ไม่มีเนื้อร้อง ผู้รำก็รำไปตามจังหวะโทน ลักษณะการรำก็ไม่มีกำหนดกฏเกณฑ์ เพียงแต่ย่ำเท้าให้ลงจังหวะโทน ต่อมามีผู้คิดทำนองและบทร้องประกอบจังหวะโทนขึ้น ต่อมารำโทนได้พัฒนาเป็น "รำวง" มีลักษณะคือ มีโต๊ะตั้งอยู่กลางวง ชาย - หญิงรำเป็นคู่ๆ ไปตามวงอย่างมีระเบียบ เรียกว่า "รำวงพื้นเมือง" เล่นได้ทุกงานเทศกาล ทุกฤดูกาล หรือจะเล่นกันเองเพื่อความสนุกสนาน
รำวงที่เล่นกันใน หมู่ที่ ๑ บ้านตะปอนใหญ่ ตำบลเกวียนหัก ก็มีลักษณะเช่นเดียวกับรำวงทั่วไป คือ ชาย – หญิง รำเป็นคู่ ๆ แต่ที่มีลักษณะเด่น คือ ท่ารำที่เลียนแบบท่าทางของสัตว์ต่าง ๆ เช่น นกเขา กระต่าย ซึ่งจะกล่าวถึงในรายละเอียดในบทต่อๆ ไป
สาขา/ประเภท
 
ศิลปะการแสดง | การแสดง
ขนบ
การแสดงทุกชนิดของไทย จะต้องมีพิธีกรรมที่เป็นขนบธรรมเนียมประเพณี ที่ยึดถือปฏิบัติสืบทอดมาแต่โบราณและพิธีกรรมที่ปฏิบัติสืบมาที่เห็นได้ชัด คือ พิธีไหว้ครูก่อนการแสดง เพราะเชื่อกันว่าการระลึกถึงครูบาอาจารย์ ทำให้การแสดงลุล่วงไปด้วยดี ไม่มีอุปสรรค ดังนั้นก่อนจะรำวงกันให้สนุกสนาน ต้องรำและร้องเพลงไหว้ครูก่อน เป็นเพลงแรก
ป้าสนม บุญประกอบ เล่าให้ฟังว่า การไหว้ครูของคณะรำวงไม่มีพิธีกรรมอะไรมากนัก เพียงแค่นำ ดอกไม้ ใส่แจกันวางไว้บนโต๊ะกลางแจ้ง และจุดธูป เทียน บอกกล่าวครู ก่อนการแสดง
โน้ตเพลง บทเพลง บทละคร
เพลงรำวง เป็นเพลงที่ชาวบ้านแต่งขึ้น มีทำนองและภาษาที่ง่ายๆ เนื้อเพลงสั้น และใช้ธรรมชาติรอบรอบตัว มาแต่งเป็นเพลง ดังตัวอย่างเพลงรำวงที่ร้องกันในแถบหมู่บ้านตะปอนใหญ่ ตำบลเกวียนหัก
 
เพลงไหว้ครู
ฉันรำชวนชิด ประดิษฐ์รำบา ยกมือวันทา ฉันรำไหว้ครู ไหว้ครู ไหว้ครู ไหว้ครูในวงฟ้อนรำ
เพลงเร็วเข้าสิ
เร็วเข้าสิมีรำวง ชายร้องส่งให้หญิงรำ ไปป่าเขา สาวเจ้าเจริญใจ เก็บดอกไม้เสียบใส่ลอนผม ชวนกันร้องเป็นเพลงชื่นชม เก็บลั่นทมร้อยเป็นมาลา

วงดนตรีรำวงย้อนยุคเชียงราย 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเชียงใหม่ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคน่าน 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคพะเยา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคแพร่ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคแม่ฮ่องสอน 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคลำปาง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคลำพูน 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคอุตรดิตถ์
วงดนตรีรำวงย้อนยุคกาฬสินธุ์ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคขอนแก่น 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคชัยภูมิ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคนครพนม 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคนครราชสีมา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบึงกาฬ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบุรีรัมย์ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคมหาสารคาม 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคมุกดาหาร 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคยโสธร 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคร้อยเอ็ด 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเลย 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสกลนคร 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสุรินทร์ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคศรีสะเกษ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคหนองคาย 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคหนองบัวลำภู 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคอุดรธานี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคอุบลราชธานี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคอำนาจเจริญ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคกำแพงเพชร 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคชัยนาท 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคนครนายก 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคนครปฐม 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคนครสวรรค์ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคนนทบุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคปทุมธานี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคพระนครศรีอยุธยา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคพิจิตร 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคพิษณุโลก 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเพชรบูรณ์ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคลพบุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสมุทรปราการ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสมุทรสงคราม 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสมุทรสาคร 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสิงห์บุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสุโขทัย 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสุพรรณบุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสระบุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคอ่างทอง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคอุทัยธานี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคจันทบุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคฉะเชิงเทรา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคชลบุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคตราด 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคปราจีนบุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคระยอง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสระแก้ว 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคกาญจนบุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคตาก 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคประจวบคีรีขันธ์ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเพชรบุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคราชบุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคกระบี่ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคชุมพร 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคตรัง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคนครศรีธรรมราช 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคนราธิวาส 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคปัตตานี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคพังงา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคพัทลุง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคภูเก็ต 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคระนอง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสตูล 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสงขลา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสุราษฎร์ธานี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคยะลา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคกรุงเทพมหานคร
 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคคลองสาน 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคคลองสามวา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคคลองเตย
วงดนตรีรำวงย้อนยุคคันนายาว 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคจอมทอง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคดอนเมือง
วงดนตรีรำวงย้อนยุคดินแดง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคดุสิต 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคตลิ่งชัน 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคทวีวัฒนา
วงดนตรีรำวงย้อนยุคทุ่งครุ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคธนบุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางกอกน้อย
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางกอกใหญ่ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางกะปิ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางคอแหลม
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางซื่อ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางนา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางพลัด 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางรัก
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางเขน 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางแค 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบึงกุ่ม 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคปทุมวัน
วงดนตรีรำวงย้อนยุคประเวศ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคป้อมปราบศัตรูพ่าย 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคพญาไท
วงดนตรีรำวงย้อนยุคพระนคร 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคพระโขนง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคภาษีเจริญ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคมีนบุรี
วงดนตรีรำวงย้อนยุคยานนาวา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคราชเทวี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคราษฎร์บูรณะ
วงดนตรีรำวงย้อนยุคลาดกระบัง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคลาดพร้าว 
วงดนตรีรำวงย้อนยุควังทองหลาง
วงดนตรีรำวงย้อนยุควัฒนา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสวนหลวง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสะพานสูง
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสัมพันธวงศ์ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสาทร 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสายไหม
วงดนตรีรำวงย้อนยุคหนองจอก 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคหนองแขม 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคหลักสี่ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคห้วยขวาง
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเมืองนครปฐม 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคกำแพงแสน 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคดอนตูม
วงดนตรีรำวงย้อนยุคนครชัยศรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางเลน 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคพุทธมณฑล 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสามพราน
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเมืองนนทบุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางกรวย 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางบัวทอง
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางใหญ่ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคปากเกร็ด 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคไทรน้อย
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเมืองปทุมธานี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคคลองหลวง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคธัญบุรี
วงดนตรีรำวงย้อนยุคลาดหลุมแก้ว 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคลำลูกกา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสามโคก 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคหนองเสือ
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเมืองสมุทรปราการ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางพลี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางเสาธง
วงดนตรีรำวงย้อนยุคพระประแดง
 วงดนตรีรำวงย้อนยุคพระสมุทรเจดีย์
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเมืองระยอง
วงดนตรีรำวงย้อนยุคนิคมพัฒนา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเขาชะเมา
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบ้านฉาง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคปลวกแดง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุควังจันทร์ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคแกลง
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเมืองชลบุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเกาะจันทร์ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางละมุง
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบ่อทอง  
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบ้านบึง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคพนัสนิคม
วงดนตรีรำวงย้อนยุคพานทอง
วงดนตรีรำวงย้อนยุคศรีราชา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสัตหีบ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคหนองใหญ่ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเกาะสีชัง
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเมืองสมุทรสาคร 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคกระทุ่มแบน 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบ้านแพ้ว 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคมหาชัย
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเมืองสมุทร
วงดนตรีรำวงย้อนยุคอัมพวา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางคนที
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเมืองราชบุรี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบ้านคา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคจอมบึง
วงดนตรีรำวงย้อนยุคดำเนินสะดวก 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางแพ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบ้านโป่ง
วงดนตรีรำวงย้อนยุคปากท่อ
วงดนตรีรำวงย้อนยุควัดเพลง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสวนผึ้ง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคโพธาราม
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเมืองฉะเชิงเทรา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคคลองเขื่อน 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคท่าตะเกียบ 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางคล้า
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางน้ำเปรี้ยว 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบางปะกง 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบ้านโพธิ์
วงดนตรีรำวงย้อนยุคพนมสารคาม
วงดนตรีรำวงย้อนยุคราชสาส์น 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคสนามชัยเขต 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคแปลงยาว
วงดนตรีรำวงย้อนยุคเมืองนครนายก 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคปากพลี 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคบ้านนา 
วงดนตรีรำวงย้อนยุคองครักษ์
 
Engine by shopup.com