7770713

ขั้นตอนการทอผ้าไหมมีวิธีทำอะไรบ้าง

หมวดหมู่สินค้า: A151 ผ้าไทย

26 กุมภาพันธ์ 2565

ผู้ชม 244 ผู้ชม

เราเป็นโรงงานผลิตชุดผ้าไทย จึงมั่นใจได้ว่า ราคาส่งถูกแบบสุดๆ ชุดผ้าไทยของเรา ได้รับความนิยมมาก ทั้งในไทย และ ต่างประเทศ  คุณภาพสินค้า จึง ยอดเยี่ยม ระดับต้นๆของเมืองไทย
สินค้าชุดผ้าไทยของเราอาทิ เช่น กางเกงม้ง กางเกงแม้ว กางเกงแพนเค็ก กางเกงกระโปรง
ผ้าไทยอินดี้ ผ้าซิ่น ผ้าถุง และผลิตจากผ้าไทยพิมพ์ลายอื่นๆ  ตัวอย่างสินค้าของเรา
รับผลิตออกแบบชุดผ้าไทย
รับผลิตออกแบบผ้าไทย
รับผลิตออกแบบชุดผ้าไหม
โรงงานผลิตผ้าไทยอินดี้ 

                    ติดต่อสอบถาม         




ขั้นตอนการทอผ้าไหม

 
การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม
    ก่อนที่จะกล่าวถึงการทอผ้าไหมไทย ควรที่จะรู้ที่มาเสียก่อนว่าก่อนที่จะเป็นเส้นไหมนั้นเนื่องจากการผลิตเส้นไหมมีขั้นตอนในการดำเนินงานที่ยาวตั้งแต่การปลูกหม่อนเพื่อเป็นอาหารของตัวไหมจนถึงไหมจนถึงการสาวไหมดังนั้นการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมจึงเป็นสาระสำคัญอันดับแรกที่จะต้องพิจารณา
 
    ต้นหม่อน
    ต้นหม่อนที่รู้จักในขณะนี้มีอยู่ 2 ชนิดคือต้นหม่อนที่ปลูกไว้กินผลเป็นช่อเวลาสุกจะมีสีดำรสอมเปรี้ยวอมหวานใช้รับประทานทำแยมได้อีกชนิดหนึ่งเป็นหม่อนที่ปลูกไว้เลี้ยงไหมหม่อนชนิดนี้มีผลเป็นช่อเล็กไม่นิยมรับประทานแต่มีใบโตและดกใช้เป็นอาหารของตัวไหมได้ดีสำหรับพันธุ์หม่อนที่ปลูกไว้เลี้ยงไหมในประเทศมีอยู่หลายพันธุ์เช่น หม่อนน้อย หม่อนตาดำ หม่อนส้ม หม่อนสร้อย หม่อนไผ่ หม่อนจาก หม่อนสา หม่อนหยวก หม่อนใบมน หม่อนใบโพธิ์ หม่อนแก้วชนบท หม่อนคุณไพ หม่อนแก้วอุบล ฯลฯ ซึ่งบางชื่ออาจจะเป็นพันธุ์เดียวกันแต่เรียก ชื่อต่างกันตามท้องถิ่นแต่หม่อนที่นิยมปลูกเพื่อเลี้ยงไหมกันมากตามท้องที่ต่างๆ มีดังนี้
 
    หม่อนน้อย 
    เป็นหม่อนที่ให้ดอกตัวผู้มีทรงต้นผอมสูงกิ่งมีขนาดใหญ่ลำต้นมีสีนวลๆ ตามีมากลักษณะขอบใบหนาเป็นมันสีเขียวแก่เป็นรูปใบโพธิ์ปลายใบแหลมขอบใบไม่มีเว้าหรือมีก็จะเป็นแบบเว้าตื้นๆ ประมาณ 2 - 3 เว้าเท่านั้นมีขนบนใบน้อยมากเมื่อลูบไม่รู้สึกสากมือเป็นที่นิยมปลูกมากที่สุดแต่เป็นโรครากเน่าง่าย
     
    หม่อนไผ่ 
    เป็นหม่อนให้ดอกตัวเมียกิ่งมีขนาดปานกลางลำกิ่งอ่อนโค้งมีสีน้ำตาลอมเขียว ตาค่อนข้างมากขอบใบเว้าหมดทุกใบ มีปริมาณเนื้อใบน้อยใบบางสากมือให้ผลผลิตต่ำเชื่อว่า เป็นพันธุ์ที่ต้านโรครากเน่าจึงเหมาะสำหรับนำไปเป็นต้นตอในแปลงที่มีโรครากเน่าระบาด
 
    หม่อนตาดำ 
    เป็นหม่อนที่ให้ดอกตัวผู้มีทรงต้นผอมสูงคล้ายหม่อนน้อยกิ่งมีขนาดเล็กกว่าและลำต้นมีสีเขียวกว่าหม่อนน้อยใบขนาดเล็กบางไม่เป็นมันสีเขียวอ่อนเป็นรูปไข่ปลายใบ แหลมใบเว้า 5 - 8 ใบนับจากโคนกิ่ง
 
ขั้นตอนการเลี้ยงไหม 
    วงจรชีวิตของไหมหรือหนอนไหมใช้เวลาประมาณ 45 - 52 วัน หนอนไหมจะกินใบหม่อนหลังจากฟักออกจากไข่ประมาณวันที่ 10 จากนั้นจะหยุดกินอาหารและลอกคราบ ระยะนี้เรียกว่า “ไหมนอน” ต่อจากนั้นจะกินนอนและลอกคราบประมาณ 4 ครั้งเรียกว่า “ไหมตื่น” ลำตัวจะมีสีขาวเหลืองใสหดสั้น และหยุดกินอาหาร ระยะนี้เรียกว่า “หนอนสุก” ช่วงนี้ผู้เลี้ยงไหมต้องรีบแยกหนอนไหมสุกออกจากกองใบหม่อน และเตรียม “จ่อ” คืออุปกรณ์ที่จะให้ตัวไหมเกาะเพื่อชักใยห่อหุ้มตัวหนอนจะเริ่มพ่นใยได้ประมาณ 6-7 วัน ก็จะสามารถเก็บรังไหมออกจากจ่อได้ เส้นใยของหนอนเกิดจากการขับของเหลวชนิดหนึ่ง มีสารโปร่งแสงเป็นองค์ประกอบ ใยไหมที่เห็นแต่ละเส้นจะประกอบด้วยเส้นใยเล็กๆ สองเส้นรวมกัน สามารถฉีกแยกออกจากกันได้ ทั้งนี้รังไหมแต่ละรังจะให้สายไหมที่มีขนาดแตกต่างกัน ชั้นนอกสุดของรังจะมีความละเอียดพอสมควร ชั้นกลางจะเป็นเส้นหยาบและชั้นในสุดจะเป็นเส้นไหมที่ละเอียดที่สุด ซึ่งหนอนไหมแต่ละตัวจะชักใยยาวไม่เท่ากัน อาจสาวได้ยาวตั้งแต่ 350 - 1,200 เมตร หนอนไหมจะเจาะรังออกมาเป็นผีเสื้อเมื่ออยู่ในรังครบ 10 วัน ซึ่งผู้เลี้ยงจะคัดไหมที่สมบูรณ์ไว้ทำพันธุ์ ส่วนที่เหลือนำไปสาวไหมก่อนที่ผีเสื้อจะเจาะรังออกมา ซึ่งเส้นจะขาดและทำเส้นไหมไม่ได้
 
การทำเส้นไหม
    เส้นไหมได้มาจากการนำรังของตัวไหมมาปั่นเป็นเส้นใย เส้นไหมนี้มีคุณสมบัติพิเศษที่เด่นกว่าเส้นฝ้ายคือ มีความเหนียวทนทานและมีประกายเงางาม เส้นไหมที่ได้จากการปั่น
 
ขั้นตอนเตรียมเส้นไหม : การเตรียมเส้นไหม จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
    1. การเตรียมเส้นไหมพุ่ง การเตรียมเส้นไหมพุ่ง จะเป็นการเตรียมเส้นไหมเพื่อตรียมพร้อมสำหรับการนำไปมัดหมี่ โดยใช้เครื่องมือในการการค้นลำหมี่ โดยการนำเส้นไหมที่กวักเรียบร้อยแล้ว มาทำการค้นปอยหมี่ เพื่อให้ได้ลำหมี่พร้อมสำหรับการไปมัดหมี่ในกระบวนการต่อไป 
    2. การเตรียมไหมเครือ (ไหมเส้นยืน) โดยการค้นหูกหรือค้นเครือ คือ กรรมวิธีนำเอาเส้นไหมที่เตรียมไว้สำหรับเป็นไหมเครือ ไปค้น (กรอ) ให้ได้ความยาวตามจำนวนผืนของผู้ทอผ้าไหมตามที่ต้องการ ไหมหนึ่งเครือจะทำให้เป็นผ้าไหมได้ประมาณ 20-30 ผืน ( 1 ผืนยาวประมาณ 180-200 เซนติเมตร)
 
การกรอไหม 
    การกรอเส้นไหม เป็นการนำเส้นไหมที่ย้อมแห้งดีแล้วมาปั่นเก็บไว้ อุปกรณ์ประกอบด้วย เครื่องกรอไหม ในกรอขนาดต่างๆหรือจักกวัดไหมและระวิง สิ่งที่ใช้เก็บเส้นไหมที่กรอแล้ว มักจะใช้วัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่น กระป๋องหรือหลอดพลาสติก เป็นต้น การกรอเส้นไหมมีวัตถุประสงค์ที่จะแยกเส้นไหมให้ออกเป็นเส้นๆ ไม่ให้ติดหรือพันกัน และเป็นการสำรวจเส้นไหมให้มีความเรียบร้อย ไม่ขาด ซึ่งจะช่วยให้สะดวกในการสาวไหม อันเป็นกรรมวิธีในขั้นตอนต่อไป
 
การสาวไหม 
    การสาวไหม ในภาษาพื้นเมืองเรียกว่า “การโว้นไหม” หรือ “โว้นหูก” คือการนำเส้นไหมยืนที่กรอแล้วไปสางในรางสาวไหมหรือม้าเดินได้ทีละเส้น โดยให้มีจำนวนเส้นไหมครบตามจำนวนช่องฟันหวีที่ต้องการจะใช้ อุปกรณ์ที่ใช้ในการสาวไหมประกอบด้วย ม้าเดินได้ ไม้ไขว้หลัง และหลักตั้งตลอด ในการสาวไหมลงช่องของฟันหวี กำหนดให้ 1 ช่องฟันหวีจะต้องใช้เส้นไหมยืน 2 เส้น ดังนั้นถ้าหากใช้ฟันหวีซึ่งมีช่อง 2000 ช่อง จะต้องนับไหมเส้นยืนให้ครบ 4000 เส้น เป็นต้น สำหรับไม้ไขว้หลังเป็นอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการสาวไหม โดยจะมีไว้ที่รางสาวไหมรางที่ 1 เพื่อให้เส้นไหมเรียงลำดับกันไปตลอด เป็นการป้องกันเส้นไหมพันกัน
 
    การเข้าฟันหวีหรือฟืม
 
    ฟันหวี หรือ ฟืม เป็นเครื่องมือใช้สำหรับลางเส้นไหมให้เป็นระเบียบ และมีประโยชน์ในการทอโดยใช้กระทบไหมเส้นพุ่งให้ขยับเข้าขัดกับไหมเส้นยืนหรือสานให้เป็นผืนผ้าออกมาอย่างสวยงาม อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบด้วย แท่นอัดก๊อปปี้ ม้าหมุน ไม้เขี่ยเส้นไหม ไม้ขนัดสำหรับแยกไขว้ และฟันหวี ฟันหวีแต่เดิมทำด้วยไม้เป็นซี่ๆ โดยมีขอบ ยึดไว้ทั้งข้างบนและข้างล่าง หัวและท้าย เพื่อยึดฟันหวีให้สม่ำเสมอและคงทน แต่การทำฟันหวีด้วยไม้นั้น ช่วงห่างของฟันหวีไม่สม่ำเสมอและโยกได้จึงทำให้ผ้าไหมทอออกมาไม่สม่ำเสมอ ขาดความสวยงามและคุณภาพ ต่อมาได้มีการทำฟันหวีด้วยทองเหลืองจึงทำให้คุณภาพของผ้าที่ทอดีขึ้น แต่ก็ประสบปัญหาคือ เกิดสนิมทองเหลืองติดตามเนื้อผ้าที่ทอออกมาอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะผ้าไหมสีอ่อนๆเช่น สีขาว สีครีม เป็นต้น การใช้ฟันหวีด้วยทองเหลืองจึงเลิกไป ปัจจุบันฟันหวีทำด้วยสแตนเลส ซึ่งมีความงดงามสม่ำเสมอและไม่โยก ไม่มีสนิมทำให้ได้ผ้าทอที่มีความสวยงามการเข้าฟันหวี หือ การนำไหม เส้นไหมที่สาวแล้วไปเข้าฟันหวี โดยก่อนเข้าฟันหวีนำไหมไปเข้าเครื่องหนีบ (Copy) เพื่อยึดเส้นไหมด้านหนึ่งเอาไว้ แล้วใส่เส้นไหมลงไปในช่องฟันหวีช่องละ 2 เส้น ดังนั้นในการเข้าฟันหวีจึงต้องใช้คน 2 คน ช่วยกันทำ โดยคนหนึ่งเป็นคนส่งเส้นไหมเข้าช่องอีกคนหนึ่งช่วยดึงฟันหวีให้ห่างและใช้ตะขอเกี่ยวเส้นไหมเข้าช่องฟันหวี ฟันหวีจะช่วยสางเส้นไหมให้เป็นระเบียบและสม่ำเสมอ
 
    การเข้าหัวม้วน        
การเข้าหัวม้วน คือ การนำเส้นไหมยืนที่สางด้วยฟันหวีเป็นระเบียบดีแล้วไปเข้าหัวม้วน เมื่อม้วนเส้นไหมได้ทุกๆ 5 เมตร จะใช้ทางมะพร้าวสอดกันไว้ 2 – 3 ก้าน ทำอย่างนี้เรื่อยไปจนกว่าจะหมดการใส่ทางมะพร้าวไปด้วยนี้มีประโยชน์หลายประการ คือ ป้องกันเส้นใยไหมบาดกันเอง เมื่อไหมขาดจะหารอยต่อได้ง่าย ขณะทอจะทำให้ทราบว่า ทอไปเป็นความยาวเท่าไรแล้ว โดยการนับทางมะพร้าว  
 
    ขั้นตอนการทอผ้า        
ขั้นตอนสุดท้ายก่อนที่จะออกมาเป็นผ้าผืน คือการทอผ้าไหมจะประกอบไปด้วยเส้นไหม 2 ชุด คือชุดแรกเป็น “เส้นไหมยืน” จะขึงไปตามความยาวผ้าอยู่ติดกับกี่ทอ(เครื่องทอ) หรือแกนม้วนด้านยืน อีกชุดหนึ่งคือ “เส้นไหมพุ่ง” จะถูกกรอเข้ากระสวย เพื่อให้กระสวยเป็นตัวนำเส้นด้ายพุ่งสอดขัดเส้นด้ายยืนเป็นมุมฉาก ทอสลับกันไปตลอดความยาวของผืนผ้า การสอดด้ายพุ่งแต่ละเส้นต้องสอดให้สุดถึงริมแต่ละด้าน แล้วจึงวกกลับมา จะทำให้เกิดริมผ้าเป็นเส้นตรงทั้งสองด้าน ส่วนลวดลายของผ้านั้น ขึ้นอยู่กับการวางลายผ้าตามแบบของผู้ทอที่ได้ทำการมัดหมี่ไว้
 
วิธีการทอผ้า3
    ปัจจุบัน ถึงแม้ว่ายังไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดบ่งบอกถึงต้นกำเนิดของการ ทอผ้า แต่ก็สามารถเทียบเคียงกับหลักฐานอื่น ๆ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันโดย มีเหตุผลหลายอย่างสนับสนุนแนวคิดที่ว่า การทอผ้ามีวิวัฒนาการมาจากการ ทำเชือก ทอเสื่อ และการจักสาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งลายเชือกทาบที่ปรากฏ ร่องรอยให้เห็นบนภาชนะดินเผา ซึ่งพบเป็นจำนวนมากตามแหล่งโบราณคดี ก่อนประวัติศาสตร์สมัยหินใหม่ เรื่อยมาจนถึงแหล่งโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ ด้วยเหตุนี้เอง จึงกล่าวได้ว่าการทอผ้าเป็นงานหัตถกรรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกงานหนึ่ง
หลักของการทอผ้า ก็คือการทำให้เส้นด้ายสองกลุ่มขัดกัน โดยทั้งสอง พวกตั้งฉากกัน เส้นด้ายกลุ่มหนึ่งเรียกว่า ด้ายยืนและอีกกลุ่มหนึ่งเรียกว่า ด้ายพุ่ง ลักษณะของการขัดกันของด้ายพุ่งและด้ายยืน จะขัดกันแบบธรรมดาที่เรียกว่าลายขัดหรืออาจจะเพิ่มเทคนิคพิเศษเพื่อให้ผ้ามีลวดลาย สีสันที่สวยงามแปลกตา 
 
    ขั้นตอนในการทอผ้า 
    1.สืบเส้นด้ายยืนเข้ากับแกนม้วนด้ายยืน และร้อยปลายด้ายแต่ละเส้นเข้าในตะ กอแต่ละชุดและฟันหวี ดึงปลายเส้นด้ายยืนทั้งหมดม้วนเข้ากับแกนม้วนผ้าอีกด้านหนึ่ง ปรับความตึงหย่อนให้พอเหมาะ กรอด้ายเข้ากระสวยเพื่อใช้เป็นด้ายพุ่ง
    2.เริ่มการทอโดยกดเครื่องแยกหมู่ตะกอ เส้นด้ายยืนชุดที่ 1 จะถูกแยก ออกและเกิดช่องว่าง สอดกระสวยด้ายพุ่งผ่าน สลับตะกอชุดที่ 1 ยกตะกอชุดที่ 2 สอดกระสวยด้ายพุ่งกลับ ทำสลับกันไปเรื่อย ๆ 
    3.การกระทบฟันหวี (ฟืม) เมื่อสอดกระสวยด้ายพุ่งกลับก็จะกระทบ ฟันหวี เพื่อให้ด้ายพุ่งแนบติดกัน ได้เนื้อผ้าที่แน่นหนา 
    4.การเก็บหรือม้วนผ้า เมื่อทอผ้าได้พอประมาณแล้วก็จะม้วนเก็บใน แกนม้วนผ้า โดยผ่อนแกนด้ายยืนให้คลายออกและปรับความตึงหย่อนใหม่ ่ให้พอเหมาะ
 
    การทอผ้าพื้น
    เป็นการใช้หลักการทอผ้าเบื้องต้น ที่นำเอาด้ายเส้นยืนและด้ายเส้นพุ่งมาขัดกัน เพื่อให้เกิดเป็นผืนผ้า โดยด้ายเส้น พุ่งและเส้นยืนอาจเป็นด้ายสีเดียวกัน หรือต่างสีกัน หรือนำเอาเส้นด้ายที่เป็นดิ้นเงินหรือดิ้นทองมาทอควบด้าย เพื่อให้ผ้า มีความมันระยับ สวยงามยิ่งขึ้น
 
    เทคนิคพิเศษที่ใช้ในการทอผ้า 
    -การขิด
ขิด หมายถึง กรรมวิธีในการทอผ้าเพื่อให้เกิดลวดลายต่างๆ ขึ้นมา โดยวิธีการเพิ่มเส้นด้ายพุ่งพิเศษในระหว่างการ ทอ 4เพื่อให้เกิดลวดลายที่โดดเด่นกว่าสีพื้น วิธีการทำคือ ใช้ไม้เขี่ยหรือสะกิด เพื่อช้อนเส้นด้ายยืนขึ้น แล้วสอดเส้นด้ายพุ่ง ไปตามแนวที่ถูกจัดช้อน จังหวะการสอดเส้นด้ายพุ่งนี่เอง ที่ทำให้เกิดเป็นลวดลายต่าง ๆ 
    -การจก 
เป็นเทคนิคการทอผ้าเพื่อให้เกิดลวดลายต่างๆ โดยเพิ่มเส้นด้ายพุ่งพิเศษสอดขึ้นลง วิธีการคือ ใช้ขนเม่น ไม้ หรือนิ้ว สอดเส้นด้ายยืนขึ้น แล้วสอดเส้นด้ายพุ่งพิเศษเข้าไป ซึ่งจะทำให้เกิดเป็นลวดลายเป็นช่วง ๆ สามารถทำสลับสีลวดลายได้หลากสี ซึ่งจะแตกต่างจากการขิดตรงที่ขิดที่เป็นการใช้เส้นด้ายพุ่งพิเศษเพียงสีเดียว การทอผ้าวิธีจกใช้เวลานานมากมักทำ เป็นผืนผ้าหน้าแคบใช้ต่อกับตัวซิ่น เรียกว่า “ซิ่นตีนจก”
 
    -ขั้นตอนในการทอผ้า 
 
    1. สืบเส้นด้ายยืนเข้ากับแกนม้วนด้ายยืน และร้อยปลายด้ายแต่ละเส้นเข้าในตะ กอแต่ละชุดและฟันหวี ดึงปลายเส้นด้ายยืนทั้งหมดม้วนเข้ากับแกนม้วนผ้าอีกด้านหนึ่ง ปรับความตึงหย่อนให้พอเหมาะ กรอด้ายเข้ากระสวยเพื่อใช้เป็นด้ายพุ่ง
    2. เริ่มการทอโดยกดเครื่องแยกหมู่ตะกอ เส้นด้ายยืนชุดที่ 1 จะถูกแยก ออกและเกิดช่องว่าง สอดกระสวยด้ายพุ่งผ่าน สลับตะกอชุดที่ 1 ยกตะกอชุดที่ 2 สอดกระสวยด้ายพุ่งกลับ ทำสลับกันไปเรื่อย ๆ 
    3. การกระทบฟันหวี (ฟืม) เมื่อสอดกระสวยด้ายพุ่งกลับก็จะกระทบ ฟันหวี เพื่อให้ด้ายพุ่งแนบติดกัน ได้เนื้อผ้าที่แน่นหนา 
    4. การเก็บหรือม้วนผ้า เมื่อทอผ้าได้พอประมาณแล้วก็จะม้วนเก็บใน แกนม้วนผ้า โดยผ่อนแกนด้ายยืนให้คลายออกและปรับความตึงหย่อนใหม่ ่ให้พอเหมาะ
 
     -การทอมัดหมี่
 
    ผ้ามัดหมี่มีกรรมวิธีการทอผ้าที่ใช้เทคนิคการมัดและการย้อม เริ่มจากนำเส้นด้ายหรือไหมมาย้อมสีแล้วมัดบริเวณที่ ต้องการเก็บไว้ เมื่อนำไปย้อมสีอื่นจะได้ไม่ติดสี เพียงซึมเข้ามาบางส่วน โดยย้อมเรียงลำดับจากสีอ่อนไปหาสีเข้มจนครบ ตามลวดลายที่กำหนด หลังจากนั้นจึงนำด้ายกรอเข้าหลอดตามลำดับ แล้วนำไปทอจะเกิดลวดลายบนผืนผ้าที่มีลักษณะคลาดเคลื่อนเหลื่อมล้ำ อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของมัดหมี่ การทอผ้าชนิดนี้จึงต้องอาศัยความชำนาญในการมัดย้อมและทอเป็นอย่างมาก ผ้ามัดหมี่มีอยู่หลายชนิด ได้แก่ 
   1. มัดหมี่เส้นพุ่ง
   2. มัดหมี่เส้นยืน
   3. มัดหมี่เส้นพุ่งและเส้นยืน
 
   -การทอผ้ายก 
เป็นกรรมวิธีการทอให้เกิดลวดลายโดยการยกตะกอแยกด้ายเส้นยืน และในบางครั้งการยกดอกจะมีการเพิ่มด้ายเส้น พุ่งจำนวนสองเส้น หรือมากกว่านั้นเข้าไปในผืนผ้า ลวดลายที่ทอจะเป็นลายที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต สิ่งแวดล้อม และความเชื่อทางศาสนา ซึ่งได้แก่ ลายปราสาท ลานธรรมาสน์ ลายสัตว์ ลายพืช ลายจากสิ่งของเครื่องใช้ และลายเรขาคณิต
 
ผ้ามัดหมี่มีกรรมวิธีการทอผ้าที่ใช้เทคนิคการมัดและการย้อม เริ่มจากนำเส้นด้ายหรือไหมมาย้อมสีแล้วมัดบริเวณที่ ต้องการเก็บไว้ เมื่อนำไปย้อมสีอื่นจะได้ไม่ติดสี เพียงซึมเข้ามาบางส่วน โดยย้อมเรียงลำดับจากสีอ่อนไปหาสีเข้มจนครบ ตามลวดลายที่กำหนด หลังจากนั้นจึงนำด้ายกรอเข้าหลอดตามลำดับ แล้วนำไปทอจะเกิดลวดลายบนผืนผ้าที่มีลักษณะคลาดเคลื่อนเหลื่อมล้ำ อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของมัดหมี่ การทอผ้าชนิดนี้จึงต้องอาศัยความชำนาญในการมัดย้อมและทอเป็นอย่างมาก ผ้ามัดหมี่มีอยู่หลายชนิด ได้แก่ 
   1. มัดหมี่เส้นพุ่ง
   2. มัดหมี่เส้นยืน
   3. มัดหมี่เส้นพุ่งและเส้นยืน

ผลิตออกแบบผ้าไทยเชียงราย 
ผลิตออกแบบผ้าไทยเชียงใหม่ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยน่าน 
ผลิตออกแบบผ้าไทยพะเยา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยแพร่ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยแม่ฮ่องสอน 
ผลิตออกแบบผ้าไทยลำปาง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยลำพูน 
ผลิตออกแบบผ้าไทยอุตรดิตถ์
ผลิตออกแบบผ้าไทยกาฬสินธุ์ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยขอนแก่น 
ผลิตออกแบบผ้าไทยชัยภูมิ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยนครพนม 
ผลิตออกแบบผ้าไทยนครราชสีมา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบึงกาฬ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบุรีรัมย์ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยมหาสารคาม 
ผลิตออกแบบผ้าไทยมุกดาหาร 
ผลิตออกแบบผ้าไทยยโสธร 
ผลิตออกแบบผ้าไทยร้อยเอ็ด 
ผลิตออกแบบผ้าไทยเลย 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสกลนคร 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสุรินทร์ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยศรีสะเกษ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยหนองคาย 
ผลิตออกแบบผ้าไทยหนองบัวลำภู 
ผลิตออกแบบผ้าไทยอุดรธานี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยอุบลราชธานี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยอำนาจเจริญ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยกำแพงเพชร 
ผลิตออกแบบผ้าไทยชัยนาท 
ผลิตออกแบบผ้าไทยนครนายก 
ผลิตออกแบบผ้าไทยนครปฐม 
ผลิตออกแบบผ้าไทยนครสวรรค์ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยนนทบุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยปทุมธานี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยพระนครศรีอยุธยา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยพิจิตร 
ผลิตออกแบบผ้าไทยพิษณุโลก 
ผลิตออกแบบผ้าไทยเพชรบูรณ์ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยลพบุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสมุทรปราการ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสมุทรสงคราม 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสมุทรสาคร 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสิงห์บุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสุโขทัย 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสุพรรณบุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสระบุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยอ่างทอง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยอุทัยธานี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยจันทบุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยฉะเชิงเทรา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยชลบุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยตราด 
ผลิตออกแบบผ้าไทยปราจีนบุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยระยอง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสระแก้ว 
ผลิตออกแบบผ้าไทยกาญจนบุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยตาก 
ผลิตออกแบบผ้าไทยประจวบคีรีขันธ์ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยเพชรบุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยราชบุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยกระบี่ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยชุมพร 
ผลิตออกแบบผ้าไทยตรัง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยนครศรีธรรมราช 
ผลิตออกแบบผ้าไทยนราธิวาส 
ผลิตออกแบบผ้าไทยปัตตานี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยพังงา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยพัทลุง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยภูเก็ต 
ผลิตออกแบบผ้าไทยระนอง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสตูล 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสงขลา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสุราษฎร์ธานี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยยะลา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยกรุงเทพมหานคร
 
ผลิตออกแบบผ้าไทยคลองสาน 
ผลิตออกแบบผ้าไทยคลองสามวา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยคลองเตย
ผลิตออกแบบผ้าไทยคันนายาว 
ผลิตออกแบบผ้าไทยจอมทอง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยดอนเมือง
ผลิตออกแบบผ้าไทยดินแดง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยดุสิต 
ผลิตออกแบบผ้าไทยตลิ่งชัน 
ผลิตออกแบบผ้าไทยทวีวัฒนา
ผลิตออกแบบผ้าไทยทุ่งครุ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยธนบุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางกอกน้อย
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางกอกใหญ่ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางกะปิ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางคอแหลม
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางซื่อ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางนา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางพลัด 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางรัก
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางเขน 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางแค 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบึงกุ่ม 
ผลิตออกแบบผ้าไทยปทุมวัน
ผลิตออกแบบผ้าไทยประเวศ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยป้อมปราบศัตรูพ่าย 
ผลิตออกแบบผ้าไทยพญาไท
ผลิตออกแบบผ้าไทยพระนคร 
ผลิตออกแบบผ้าไทยพระโขนง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยภาษีเจริญ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยมีนบุรี
ผลิตออกแบบผ้าไทยยานนาวา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยราชเทวี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยราษฎร์บูรณะ
ผลิตออกแบบผ้าไทยลาดกระบัง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยลาดพร้าว 
ผลิตออกแบบผ้าไทยวังทองหลาง
ผลิตออกแบบผ้าไทยวัฒนา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสวนหลวง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสะพานสูง
ผลิตออกแบบผ้าไทยสัมพันธวงศ์ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสาทร 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสายไหม
ผลิตออกแบบผ้าไทยหนองจอก 
ผลิตออกแบบผ้าไทยหนองแขม 
ผลิตออกแบบผ้าไทยหลักสี่ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยห้วยขวาง
ผลิตออกแบบผ้าไทยเมืองนครปฐม 
ผลิตออกแบบผ้าไทยกำแพงแสน 
ผลิตออกแบบผ้าไทยดอนตูม
ผลิตออกแบบผ้าไทยนครชัยศรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางเลน 
ผลิตออกแบบผ้าไทยพุทธมณฑล 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสามพราน
ผลิตออกแบบผ้าไทยเมืองนนทบุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางกรวย 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางบัวทอง
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางใหญ่ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยปากเกร็ด 
ผลิตออกแบบผ้าไทยไทรน้อย
ผลิตออกแบบผ้าไทยเมืองปทุมธานี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยคลองหลวง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยธัญบุรี
ผลิตออกแบบผ้าไทยลาดหลุมแก้ว 
ผลิตออกแบบผ้าไทยลำลูกกา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสามโคก 
ผลิตออกแบบผ้าไทยหนองเสือ
ผลิตออกแบบผ้าไทยเมืองสมุทรปราการ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางพลี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางเสาธง
ผลิตออกแบบผ้าไทยพระประแดง
 ผลิตออกแบบผ้าไทยพระสมุทรเจดีย์
ผลิตออกแบบผ้าไทยเมืองระยอง
ผลิตออกแบบผ้าไทยนิคมพัฒนา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยเขาชะเมา
ผลิตออกแบบผ้าไทยบ้านฉาง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยปลวกแดง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยวังจันทร์ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยแกลง
ผลิตออกแบบผ้าไทยเมืองชลบุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยเกาะจันทร์ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางละมุง
ผลิตออกแบบผ้าไทยบ่อทอง  
ผลิตออกแบบผ้าไทยบ้านบึง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยพนัสนิคม
ผลิตออกแบบผ้าไทยพานทอง
ผลิตออกแบบผ้าไทยศรีราชา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสัตหีบ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยหนองใหญ่ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยเกาะสีชัง
ผลิตออกแบบผ้าไทยเมืองสมุทรสาคร 
ผลิตออกแบบผ้าไทยกระทุ่มแบน 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบ้านแพ้ว 
ผลิตออกแบบผ้าไทยมหาชัย
ผลิตออกแบบผ้าไทยเมืองสมุทร
ผลิตออกแบบผ้าไทยอัมพวา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางคนที
ผลิตออกแบบผ้าไทยเมืองราชบุรี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบ้านคา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยจอมบึง
ผลิตออกแบบผ้าไทยดำเนินสะดวก 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางแพ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบ้านโป่ง
ผลิตออกแบบผ้าไทยปากท่อ
ผลิตออกแบบผ้าไทยวัดเพลง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสวนผึ้ง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยโพธาราม
ผลิตออกแบบผ้าไทยเมืองฉะเชิงเทรา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยคลองเขื่อน 
ผลิตออกแบบผ้าไทยท่าตะเกียบ 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางคล้า
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางน้ำเปรี้ยว 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบางปะกง 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบ้านโพธิ์
ผลิตออกแบบผ้าไทยพนมสารคาม
ผลิตออกแบบผ้าไทยราชสาส์น 
ผลิตออกแบบผ้าไทยสนามชัยเขต 
ผลิตออกแบบผ้าไทยแปลงยาว
ผลิตออกแบบผ้าไทยเมืองนครนายก 
ผลิตออกแบบผ้าไทยปากพลี 
ผลิตออกแบบผ้าไทยบ้านนา 
ผลิตออกแบบผ้าไทยองครักษ์
 
Engine by shopup.com