ค่าจดจำนองคืออะไร ทำไมต้องจ่ายเวลาซื้อคอนโด
หมวดหมู่สินค้า: A126 จำนองที่ดิน
25 กุมภาพันธ์ 2565
ผู้ชม 267 ผู้ชม
รับจำนองบ้าน ที่ดิน จำนองอสังหาฯ จำนำโฉนด อนุมัติผลไว อันดับ 1 จำนองที่ดิน ไม่เช็คเครดิตขายฝากที่ดิน จำนองคอนโด บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ ตึกแถว ทุกชนิด ครบวงจร
ขายฝากที่ดิน
จำนองที่ดิน
จำนองโฉนดที่ดิน
รับจำนองบ้านที่ดิน
จำนองโฉนด
รับจำนองบ้าน
ค่าจดจำนองคืออะไร ทำไมต้องจ่ายเวลาซื้อคอนโด?
ช่วงนี้คอนโดต่างออกมาลดราคา อัดดีลเด็ด ๆ รวมถึงโปรโมชั่นคอนโดที่แสนจะล่อตาล่อใจกันเสียเหลือเกิน ราคาตึกเสร็จเท่าพรีเซลส์บ้างล่ะ ลดราคา 50% บ้างล่ะ ใครที่เตรียมตัวเรื่องเงินมาประมาณหนึ่งและกำลังมองหาคอนโดหลังแรกเป็นของตัวเองก็เรียกได้ว่าเป็นนาทีทองกันเลยทีเดียว แต่สิ่งหนึ่งที่หลาย ๆ คนหลงลืมไป พอเห็นราคาคอนโดที่ถูกแสนถูกแล้วก็รีบพุ่งไปซื้อไปจอง นั่นก็คือ ค่าใช้จ่ายในการซื้อคอนโดอื่น ๆ นอกเหนือจากราคาห้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ค่าจดจำนองที่ดิน โดยค่าจดจำนองที่ดิน ไม่ว่าจะซื้อบ้าน ทาวน์โฮม หรือคอนโด ก็ต้องจ่ายเหมือนกันหมด มันเคยมีกรณีหนึ่งที่ผมเคยเจอ เป็นการกู้ซื้อคอนโดที่ยอดพอดีกับราคาคอนโดนั้นเป๊ะ ๆ แบบทุกบาททุกสตางค์ พอถึงเวลาจริง ๆ รายจ่ายมันไม่ได้มีแค่นั้น ทีนี้ก็ชักหน้าไม่ถึงหลังสิคุณ วุ่นต้องหาเงินมาจ่ายส่วนต่างเหล่านั้นหลายหมื่นเลย ซึ่งเดี๋ยววันนี้เราจะมาทำความรู้จักกับเจ้าตัว ค่าจดจำนองคอนโด หรือ ค่าจดจำนองห้องชุดใหม่ กันดีกว่า ว่าเขาคิดราคากันอย่างไร และมีรายละเอียดอะไรที่เราต้องรู้บ้าง
ค่าจดจำนองคืออะไร?
อันดับแรกเราต้องมาทำความรู้จักกันก่อนว่าค่าจดจำนองคืออะไร เริ่มตั้งแต่ความหมายเลย คำว่า “จำนอง” คือ การที่บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จำนอง” เอาอสังหาริมทรัพย์ของตน เช่นที่ดิน หรือทรัพย์ที่กฎหมายอนุญาตให้จำนองได้ไปจดทะเบียนไว้กับบุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า“ผู้รับจำนอง”เพื่อเป็นหลักประกันการชำระหนี้ ทั้งนี้โดยผู้จำนองไม่ต้องส่งมอบที่ดินหรือทรัพย์สินดังกล่าวนั้นให้แก่ผู้รับจำนอง (ป.พ.พ.มาตรา 702)
ซึ่งในขั้นตอนการจดจำนองคอนโด ก็จะเป็นการนำคอนโดที่เราซื้อ ไปจดทะเบียนไว้กับธนาคาร ซึ่งเป็นผู้รับจำนอง กรณีการซื้อคอนโดที่ต้องจดจำนองนั้น จะเป็นกรณีที่ต้องกู้ซื้อกับธนาคารเท่านั้น และตลอดระยะเวลาการผ่อน ในโฉนดจะระบุว่าเราเป็นเจ้าของห้อง แต่จะเเนบท้ายชื่อธนาคารที่รับจำนองไว้ด้วยนั่นเอง เเละเมื่อเราผ่อนหมด โฉนดจึงจะถูกแก้ไขให้เราเป็นเจ้าของห้องแต่เพียงผู้เดียวครับ
ประเภทของการจำนอง
โดยหลัก ๆ แล้วการจำนองนั้นมีอยู่แค่เพียง 2 วิธีเท่านั้นซึ่งแก่นของการจำนองเหมือนกัน คือ เป็นการประกันการชำระหนี้แก้ผู้รับจำนองนั้น คิดง่าย ๆ ถ้าเรากู้เงินจากธนาคารมาซื้อคอนโด ทางธนาคารก็แค่ต้องการหลักประกันว่าเราจะชำระหนี้ตรงตามงวดที่กำหนดครบทุกบาททุกสตางค์ ซึ่งหลักในการค้ำประกันนั้นก็ต้องเป็นห้องที่เราจะซื้อนั่นเอง โดยประเภทแยกของการประกันการชำหนี้ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ครับ
1. การจำนอง “ทรัพย์ของตนเอง” เพื่อเป็นการประกัน “การชำหนี้ของตนเอง”
การจำนองประเภทนี้เนี่ยแหละครับที่เราจะเจอกันในขั้นตอนการโอนบ้าน / คอนโด ตัวอย่างเช่น นาย ก. กู้เงินจากธนาคารเพื่อซื้อคอนโด เป็นจำนวนเงิน 3 ล้านบาท นาย ก. ก็จะต้องนำคอนโดนั้นซึ่งถือว่าเป็น “ทรัพย์ของตนเอง” ไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นการ “ประกันการชำหนี้” ของนาย ก. ที่ได้กู้ไปจากธนาคารนั่นเองครับ
2. การจำนอง เพื่อเป็นการประกัน “การชำระหนี้ของบุคคลอื่น”
กรณีนี้อาจจะไม่ค่อยเกี่ยวกับค่าจดจำนองในการซื้อบ้าน / คอนโดใหม่แบบที่เรากำลังพูดถึงกันในบทความนี้มากนัก แต่ก็ขอเอามาเป็นข้อมูลประกอบเนื่องจากจัดอยู่ในหมวดหมู่เดียวกันครับ การจำนองเพื่อเป็นการประกันการชำระหนี้ของบุคคลอื่นนั้น ตัวอย่างเช่น นาย ก. ได้กู้เงินจากธนาคาร เป็นจำนวนเงิน 5 แสนลาท แต่เนื่องด้วยนาย ก. ไม่มีทรัพย์สินที่สามารถใช้ประกันได้เลย นาย ข. จึงได้นำอสังหาริมทรัพย์ของตนเอง ไปจดทะเบียนจำนองต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นหลักประกันการชำหนี้ที่ได้ ก. ได้กู้มาจากธนาคารครับ
วิธีคิดค่าจดจำนอง (แบบเก่า)
วิธีคิดค่าจดจำนองคอนโด บ้าน ทาวน์โฮม ที่ดิน หรืออสังหาริมทรัพย์อะไรก็แล้วแต่จะเหมือนกันครับ คือจะคิดค่าจดจำนองเป็น 1% จากมูลค่าทรัพย์สินที่จำนอง หรือ 1% จาดยอดเงินที่กู้ทั้งหมด สูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท ตรงนี้หลายคนสับสนว่าจริง ๆ แล้วค่าจดจำนองต้องคิดจากยอดไหน ขอย้ำให้ชัด ๆ กันอีกครั้งนะครับว่า “คิดจาก มูลค่าทรัพย์สินที่จำนอง หรือ จาดยอดเงินที่กู้ทั้งหมด ไม่เกิน 200,000 บาท”
ตัวอย่าง ผมซื้อคอนโดโครงการหนึ่ง โดยเป็นการกู้ซื้อกับธนาคาร โดยผมแจ้งยอดที่ต้องการกู้กับธนาคารไปว่า คอนโดที่ผมต้องการซื้อราคา 3,700,000 บาท แต่หลังจากธนาคารประเมินราคาคอนโดโครงการนั้นเเล้ว ปล่อยยอดกู้ออกมาที่ 3,500,000 บาท ค่าจดจำนองที่ผมจะต้องจ่ายจะคิดเป็น 1% จากยอดที่ธนาคารปล่อยกู้ที่ 3,500,000 บาท = ต้องจ่าย 35,000 บาทนั้นเองครับ
แต่ถ้าเกิดทรัพย์สินที่กู้กับธนาคารมีมูลค่าสูงกว่านั้น เช่น ผมซื้อคอนโดที่เป็นยูนิต Penthouse ราคา 90,000,000 ล้านบาท ซึ่งธนาคารก็ปล่อยกู้นะเพราะผมรวยมาก โดยปล่อยกู้มาที่ 85,000,000 บาท ถ้าคิดว่าต้องจ่ายค่าจดจำนอง 1% จากยอดกู้นั้น ผมต้องจ่าย 850,000 ใช่ไหมครับ แต่ตามกฎหมายระบุว่าค่าจดจำนอง จ่ายสูงสุดไม่เกิน 200,000 บาทเท่านั้น นั่นแปลว่าหากกู้ซื้ออสังหาริมทรัพย์ใด ๆ ก็ตามที่ราคาเกินกว่า 20,000,000 บาท ก็จ่ายค่าจดจำนองแค่ 200,000 บาท ทุกกรณีครับ
วิธีคิดค่าจดจำนอง 2563 (แบบใหม่ สำหรับอสังหาฯ มูลค่าไม่เกิน 3 ล้านบาท)
เนื่องด้วยตอนนี้หลาย ๆ คนคงเห็นว่าเศรษฐกิจนั้นไม่ค่อยจะดีเท่าไหร่ และแน่นอนว่าในภาคอสังหาริมทรัพย์เองก็ได้รับผลกระทบไม่ต่างจากภาคอุตสาหกรรมอื่น ๆ ฉะนั้นรัฐจึงมีการออกมาตรการมาเพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเกิดกำลังซื้อในตลาดอสังหาริมทรัพย์กันมากขึ้น ซึ่งวิธีที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบก็คือ การลดอัตราค่าทำเนียมการโอนและลดค่าจดจำนองนั่นเอง ซึ่งในส่วนของค่าจดจำนองนั้น จากเดิมที่คิดเป็น 1% เปลี่ยนเป็นค่าจดจำนอง 0.01% ของมูลค่าทรัพย์สินที่จำนอง หรือ ยอดเงินที่กู้ทั้งหมด โดยมีข้อแม้ว่า มูลค่าของทรัพย์สินนั้นจะต้องไม่เกิน 3 ล้านบาท และการจดจำนองจะต้องทำพร้อมกับการโอนด้วย โดยจะมีผลบังคับใช้ถึงเดือนธันวาคมปี 2563 นี้
ตัวอย่าง ถ้าผมซื้อคอนโดราคา 3 ล้านบาท ทำเรื่องขอกู้กับธนาคาร และหลังจากธนาคารทำการประเมินราคาคอนโดที่ผมต้องการซื้อ อนุมัติยอดเงินที่กู้ได้คือ 2,900,000 บาท ค่าจดจำนองที่ผมจะต้องจ่าย คิดเป็น 0.01% จาก 2,900,000 บาท = จะต้องจ่าย 290 บาท จากเดิม 29,000 บาท ซึ่งถือว่าลดไปเยอะมากครับ
ใครต้องเป็นจ่ายค่าจดจำนอง
แว่ว ๆ ว่าปัญหานี้ก็เป็นปัญหายอดฮิตของคนที่จะซื้อบ้าน / คอนโดหลังแรกเหมือนกัน คือไม่รู้ว่าค่าใช้จ่ายไหนที่ตนเองต้องรับผิดชอบบ้าง เพราะในขั้นตอนการซื้อ โอนและจดจำนอง มีค่าใช้จ่ายหลากหลายอย่างที่ผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายนั้นจะไม่ได้เป็นของเราเองทั้งหมด โดย CondoNewb รวบรวมค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ผู้ซื้อจะต้องจ่ายนอกเหนือจากราคาห้อง พร้อมระบุผู้รับผิดชอบมาให้เรียยบร้อยแล้วครับ
ค่าใช้จ่ายของผู้ขาย
ในการซื้อบ้าน หรือคอนโด ไม่ใช่ว่าตัวผู้ซื้อเองจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายอยู่ฝ่ายเดียวนะ เพราะค่าใช้จ่ายบางส่วน ผู้ขาย หรือ ทางโครงการ ก็จะเป็นคนรับผิดชอบในส่วนนั้นให้ด้วย โดยค่าใช้จ่ายที่ผู้ขาย หรือ โครงการ จะรับผิดชอบให้ในขั้นตอนการซื้อ มีดังนี้
ค่าธรรมเนียมการโอน (จ่ายคนละครึ่งกับผู้ซื้อ)
คิดเป็น 2% ของมูลค่าทรัพย์สิน (หากมูลค่าทรัพย์สินเกิน 3 ล้านบาท) หรือ คิดเป็น 0.01% ของมูลค่าทรัพย์สิน (หากมูลค่าทรัพย์สินต่ำกว่า 3 ล้านบาท ตามมาตรการรัฐปี 2563)
*การจ่ายค่าธรรมเนียมการโอน อาจขึ้นอยู่กับข้อตกลงระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย บางกรณีผู้ขายจะเป็นผู้รับผิดชอบชำระค่าธรรมเนียมการโอนทั้งหมด
ค่าอากรแสตมป์
คิดเป็น 0.5% ของราคาซื้อขาย แต่ต้องไม่ต่ำกว่าราคาประเมินที่ดิน แต่ในกรณีที่ราคาค่าอากรสแตมป์ต่ำกว่าราคาประเมินที่ดิน ให้จ่าย 0.5% ของราคาประเมินแทน
ค่าภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ค่าใช้จ่ายส่วนนี้จะถูกหัก ณ ที่จ่าย โดยคิดตามหลักเกณฑ์ของกรมสรรพากร โดยสามารถดูข้อมูลรวมถึงวิธีการคำนวนภาษีที่เกี่ยวข้องกับการขายอสังหาริมทรัพย์ ได้ที่เว็บไซต์ของกรมสรรรพากร คลิกที่นี่
ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ
ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะจะคิดเป็น 3.3% ของราคาประเมิน ผู้ขายจะต้องจ่ายค่าภาษีธุรกิจเฉพาะในกรณีที่การขายอสังหาริมทรัพย์นั้น เป็นการค้าเพื่อหากำไรซึ่งผู้ขายกระทำเป็นปกติ ซึ่งตรงนี้จะเป็นขั้นตอนที่มีความยุ่งยาก แต่ไม่ต้องกังวล เพราะทางโครงซึ่งเป็นผู้ขาย จะจัดการให้เราทั้งหมด แต่ข้อเสริมนิดนึงเพราะไหน ๆ ก็พูดถึงประเด็นนี้เเล้ว ในกรณีที่เราเป็นผู้ขายเอง เราจะต้องทำการยื่นคำขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะด้วย เว้นแต่ว่าการขายอสังหาริมทรัพย์นั้นไม่ได้เป็นทางการค้าที่ทำเป็นปกติ อันนี้จะไม่เสียธุรกิจเฉพาะครับ
“โดยอสังหาริมทรัพย์ที่จะเสียภาษีธุรกิจเฉพาะนั้น ผู้ขายจะต้องครอบครองอสังหาริมทรัพย์เป็นระยะเวลาน้อยกว่า 5 ปี ถ้าหากเกินเเล้ว ไม่จำเป็นต้องเสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะทุกกรณีครับ”
ค่าใช้จ่ายของผู้ซื้อ
ต่อไปเรามาดูในส่วนของค่าใช้จ่ายที่เป็นความรับผิดชอบของผู้ซื้อกันบ้างครับ นอกเหนือจากค่าอสังหาริมทรัพย์แล้ว ในขั้นตอนการโอนต่าง ๆ ก็ยังมีค่าใช้จ่ายอื่น ๆ อีก คือ
ค่าธรรมเนียมการโอน (จ่ายคนละครึ่งกับผู้ซื้อ)
คิดเป็น 2% ของมูลค่าทรัพย์สิน (หากมูลค่าทรัพย์สินเกิน 3 ล้านบาท)หรือ คิดเป็น 0.01% ของมูลค่าทรัพย์สิน (หากมูลค่าทรัพย์สินต่ำกว่า 3 ล้านบาท ตามมาตรการรัฐปี 2563)
*การจ่ายค่าธรรมเนียมการโอน อาจขึ้นอยู่กับข้อตกลงระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย บางกรณีผู้ขายจะเป็นผู้รับผิดชอบชำระค่าธรรมเนียมการโอนทั้งหมด
ค่าจดจำนอง
ถูกต้องแล้วครับ ค่าจดจำนอง ผู้ซื้อจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ไปนั่นเอง โดยวิธีคิดก็ตามที่ระบุไว้ในหัวข้อด้านบนเลยครับ ตรงนี้ต้องระวังให้ดี อย่าลืมเตรียมเงินเผื่อไว้สำหรับค่ายต่าจดจำนองด้วย ย้อนกลับไปดูว่ามูลค่าทรัพย์สินที่ต้องการจะซื้อนั้นมีมูลค่าเท่าใด แล้วต้องเสียค่าจดจำนองเท่าไหร่ เวลากู้จะได้เตรียมเงินสำรองเอาไว้เผื่อสำหรับค่าใช้จ่ายตรงนี้ครับ
ผลของการจดจำนอง
แน่นอนว่าการจดจำนองซึ่งเป็นการจดทะเบียนลงลายลักษณ์อักษรต่อหน้าเจ้าพนักงานนั้น ย่อมมีผลของการจดจำนองตามมาในกรณีที่มี “ผู้ผิดสัญญา” รวมถึง สิทธิที่ “ผู้รับจำนอง” พึงกระทำได้หาก “ผู้จำนอง” ผิดสัญญาการชำระหนี้ ซึ่งมันก็คือกรณีที่ บ้าน คอนโด โดนยึดโดยธนาคารนั่นแหละครับ ซึ่งผลของการจำนอง สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้
ผู้รับจำนอง มีสิทธิเรียกทรัพย์สินที่จำนองนั้นเป็นของตนได้
ข้อแรก เป็นข้อที่ผู้จำนองทุกคนต้องทราบเเละปฏิบัติตามให้ดี เพราะไม่อยากนั้นทรัพย์ที่ตนนำไปจำนองกับผู้รับจำนองไว้อาจหลุดไปได้ หากเข้าเงื่อนไขดังต่อไปนี้ครับ
1.1 ลูกหนี้ (ผู้จำนอง) ขาดส่งดอกเบี้ยมาเเล้วเป็นเวลาถึง 5 ปี
1.2 ผู้จำนองมิได้แสดงให้เป็นที่พอใจแก่ศาลว่าราคาทรัพย์สินนั้นท่วมจำนวนเงินอันค้างชำระ (หรือมีความหมายคือ มูลค่าของทรัพย์สินนั้นเพียงพอต่อจำนวนหนี้นั้นเอง)
1.3 ไม่มีการจำนองรายอื่น หรือบุริมสิทธิอื่นได้จดทะเบียนไว้เหนือทรัพย์สินอันเดียวกันนี้เอง
ตัวอย่างเช่น
นาย ก. ได้ทำการกู้เงินเพื่อซื้อคอนโดจากธนาคาร เป็นจำนวนเงิน 3 ล้านบาท โดยที่นาย ก. ได้นำคอนโดราคา 3 ล้านบาทที่จะซื้อไปจดทะเบียนจำนองไว้เป็นประกันการชำหนี้ของตน โดยมีการตกลงอัตราดอกเบี้ยที่ร้อยละ 3% ต่อปี จากนั้นหลังจากผ่านไปแล้ว 5 ปี นาย ก. ผิดนัด ไม่เคยชำระเงินต้นหรือดอกเบี้ยให้แก่ธนาคารเลย ดังนั้นเมื่อรวบยอดเงินต้น 3 ล้านบาท และดอกเบี้ย 45,000 บาท รวมเป็นเงิน 3,045,000 บาท ธนาคารมีสิทธิ์ฟ้องนาย ก. ต่อศาล ให้ศาลสั่งให้นาย ก. โอนกรรมสิทธิ์ในคอนโดดังกล่าวมาให้เป็นของธนาคารได้เลย โดยไม่ต้องมีการขายทอดตลาด
ผู้รับจำนองมีสิทธิได้รับชำระหนี้จากทรัพย์สินที่จำนองเป็นอันดับแรก
ข้อนี้ ผู้รับจำนองสามารถเคลมเอาจำนวนเงินจากทรัพย์สินที่รับจำนองได้ทันที ไม่ว่าทรัพย์สินนั้นจะถูกโอนไปยังบุคคลอื่นแล้วก็ตาม
ตัวอย่างเช่น
นาย ก. ได้กู้เงินจากธนาคารเป็นเงิน 500,000 บาท โดยนาย ก. ได้นำคอนโดไปจดทะเบียนจำนองไว้กับธนาคาร และต่อมา นาย ก. ได้ไปกู้เงินมาจากนาย ข. อีก 100,000 บาท โดยไม่ได้มีการนำคอนโดหลังดังกล่าวไปจดทะเบียนจำนองไว้แต่อย่างได้ ดังนั้น ธนาคารจึงมีสิทธิได้รับชำระหนี้จากคอนโดหลังนั้นได้ก่อนนาย ข. ในกรณีที่นาย ก. ขายคอนโดหลังนั้นเพื่อชำระหนี้ และถึงแม้ว่านาย ก. จะโอนกรรมสิทธิ์คอนโดหลังนั้นไปให้บุคคลอื่นเเล้วก็ตาม ธนาคารก็ยังมีสิทธิ์ได้รับชำระหนี้จากคอนโดห้องดังกล่าวก่อนเจ้าหนี้รายอื่นที่ไม่ได้จดทะเบียนจำนองอีกด้วย
ถ้าขายทอดตลาดทรัพย์สินที่จำนองเพื่อใช้พนี้ แต่ได้น้อยกว่าจำนวนหนี้ ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบส่วนต่างนั้น
ข้อนี้เป็นสิ่งที่ผู้รับจำนองต้องรู้ ซึ่งแน่นอนว่าถ้าหากเป็นธนาคาร เขาย่อมรู้ความเสี่ยงตรงนี้ และจะประเมินมันตั้งแต่ขั้นตอนการปล่อยกู้แล้ว แต่ถ้าหากวันใดวันหนึ่งที่เราเกิดเป็นคนรับจำนองเสียเอง เราจำเป็นต้องรู้ว่า ถ้าหากลูกหนี้เอาทรัพย์สินซึ่งจำนองหลุดและกลายเป็นของผู้รับจำนองไปขาย แต่ราคาทรัพย์นั้นต่ำกว่าจำนวนเงินที่ยังค้างชำระกันอยู่ ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบจำนวนเงินที่ยังขาดอยู่นั้น
ตัวอย่างเช่น
นาย ก. ได้น้ำคอนโดไปจำนองกับนาย ข. เป็นเงิน 1,000,000 บาท ต่อมาเมื่อนาย ข. ซึ่งเป็นเจ้าหนี้ ยังคับจำนองเอาที่ดอนออกขายทอดตลาด แต่กลับได้เงินมาเพียง 800,000 บาท นาย ข. จะไม่สามารถไปบังคับให้นาย ก. ชำระเงินที่ยังขาดอยู่อีก 200,000 บาทไม่ได้
เว้นแต่ว่า จะระบุไว้ตั้งแต่แรกในสัญญาว่าถ้าหากเกิดกรณีแบบนี้แล้วลูกหนี้จะต้องชำระส่วนต่างที่เกิดจากการขายทรัพย์สินแก่ผู้รับจำนองด้วย ซึ่งหากระบุไว้ในสัญญาก็สามารถมีผลบังคับใช้โดยไม่ผิดกฎหมาย
หากขายทอดตลาดแล้วทรัพย์มีราคาสูงกว่านี้ เงินส่วนนั้น เป็นของผู้จำนอง
ข้อสุดท้ายนี้ผู้จำนองทุกคนต้องทราบเพื่อเป็นการรักษาสิทธิ์ให้กับตนเองนะครับ ในกรณีที่มีการบังคับจำนอง และผู้จำนองได้นำทรัพย์สินออกขายทอดตลาดได้เงินสุทธิเท่าใด ให้นำเงินนั้นคืนแก่ผู้รับจำนอง แต่ถ้าหากมีเงินเหลือ ผู้รับจำนองต้องคืนเงินเหล่านั้นให้แก่ผู้จำนองทุกรณีครับ
จํานอง-ขายฝากที่ดินเชียงราย
จํานอง-ขายฝากที่ดินเชียงใหม่
จํานอง-ขายฝากที่ดินน่าน
จํานอง-ขายฝากที่ดินพะเยา
จํานอง-ขายฝากที่ดินแพร่
จํานอง-ขายฝากที่ดินแม่ฮ่องสอน
จํานอง-ขายฝากที่ดินลำปาง
จํานอง-ขายฝากที่ดินลำพูน
จํานอง-ขายฝากที่ดินอุตรดิตถ์
จํานอง-ขายฝากที่ดินกาฬสินธุ์
จํานอง-ขายฝากที่ดินขอนแก่น
จํานอง-ขายฝากที่ดินชัยภูมิ
จํานอง-ขายฝากที่ดินนครพนม
จํานอง-ขายฝากที่ดินนครราชสีมา
จํานอง-ขายฝากที่ดินบึงกาฬ
จํานอง-ขายฝากที่ดินบุรีรัมย์
จํานอง-ขายฝากที่ดินมหาสารคาม
จํานอง-ขายฝากที่ดินมุกดาหาร
จํานอง-ขายฝากที่ดินยโสธร
จํานอง-ขายฝากที่ดินร้อยเอ็ด
จํานอง-ขายฝากที่ดินเลย
จํานอง-ขายฝากที่ดินสกลนคร
จํานอง-ขายฝากที่ดินสุรินทร์
จํานอง-ขายฝากที่ดินศรีสะเกษ
จํานอง-ขายฝากที่ดินหนองคาย
จํานอง-ขายฝากที่ดินหนองบัวลำภู
จํานอง-ขายฝากที่ดินอุดรธานี
จํานอง-ขายฝากที่ดินอุบลราชธานี
จํานอง-ขายฝากที่ดินอำนาจเจริญ
จํานอง-ขายฝากที่ดินกำแพงเพชร
จํานอง-ขายฝากที่ดินชัยนาท
จํานอง-ขายฝากที่ดินนครนายก
จํานอง-ขายฝากที่ดินนครปฐม
จํานอง-ขายฝากที่ดินนครสวรรค์
จํานอง-ขายฝากที่ดินนนทบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินปทุมธานี
จํานอง-ขายฝากที่ดินพระนครศรีอยุธยา
จํานอง-ขายฝากที่ดินพิจิตร
จํานอง-ขายฝากที่ดินพิษณุโลก
จํานอง-ขายฝากที่ดินเพชรบูรณ์
จํานอง-ขายฝากที่ดินลพบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินสมุทรปราการ
จํานอง-ขายฝากที่ดินสมุทรสงคราม
จํานอง-ขายฝากที่ดินสมุทรสาคร
จํานอง-ขายฝากที่ดินสิงห์บุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินสุโขทัย
จํานอง-ขายฝากที่ดินสุพรรณบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินสระบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินอ่างทอง
จํานอง-ขายฝากที่ดินอุทัยธานี
จํานอง-ขายฝากที่ดินจันทบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินฉะเชิงเทรา
จํานอง-ขายฝากที่ดินชลบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินตราด
จํานอง-ขายฝากที่ดินปราจีนบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินระยอง
จํานอง-ขายฝากที่ดินสระแก้ว
จํานอง-ขายฝากที่ดินกาญจนบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินตาก
จํานอง-ขายฝากที่ดินประจวบคีรีขันธ์
จํานอง-ขายฝากที่ดินเพชรบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินราชบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินกระบี่
จํานอง-ขายฝากที่ดินชุมพร
จํานอง-ขายฝากที่ดินตรัง
จํานอง-ขายฝากที่ดินนครศรีธรรมราช
จํานอง-ขายฝากที่ดินนราธิวาส
จํานอง-ขายฝากที่ดินปัตตานี
จํานอง-ขายฝากที่ดินพังงา
จํานอง-ขายฝากที่ดินพัทลุง
จํานอง-ขายฝากที่ดินภูเก็ต
จํานอง-ขายฝากที่ดินระนอง
จํานอง-ขายฝากที่ดินสตูล
จํานอง-ขายฝากที่ดินสงขลา
จํานอง-ขายฝากที่ดินสุราษฎร์ธานี
จํานอง-ขายฝากที่ดินยะลา
จํานอง-ขายฝากที่ดินกรุงเทพมหานคร
จํานอง-ขายฝากที่ดินคลองสาน
จํานอง-ขายฝากที่ดินคลองสามวา
จํานอง-ขายฝากที่ดินคลองเตย
จํานอง-ขายฝากที่ดินคันนายาว
จํานอง-ขายฝากที่ดินจอมทอง
จํานอง-ขายฝากที่ดินดอนเมือง
จํานอง-ขายฝากที่ดินดินแดง
จํานอง-ขายฝากที่ดินดุสิต
จํานอง-ขายฝากที่ดินตลิ่งชัน
จํานอง-ขายฝากที่ดินทวีวัฒนา
จํานอง-ขายฝากที่ดินทุ่งครุ
จํานอง-ขายฝากที่ดินธนบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางกอกน้อย
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางกอกใหญ่
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางกะปิ
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางคอแหลม
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางซื่อ
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางนา
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางพลัด
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางรัก
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางเขน
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางแค
จํานอง-ขายฝากที่ดินบึงกุ่ม
จํานอง-ขายฝากที่ดินปทุมวัน
จํานอง-ขายฝากที่ดินประเวศ
จํานอง-ขายฝากที่ดินป้อมปราบศัตรูพ่าย
จํานอง-ขายฝากที่ดินพญาไท
จํานอง-ขายฝากที่ดินพระนคร
จํานอง-ขายฝากที่ดินพระโขนง
จํานอง-ขายฝากที่ดินภาษีเจริญ
จํานอง-ขายฝากที่ดินมีนบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินยานนาวา
จํานอง-ขายฝากที่ดินราชเทวี
จํานอง-ขายฝากที่ดินราษฎร์บูรณะ
จํานอง-ขายฝากที่ดินลาดกระบัง
จํานอง-ขายฝากที่ดินลาดพร้าว
จํานอง-ขายฝากที่ดินวังทองหลาง
จํานอง-ขายฝากที่ดินวัฒนา
จํานอง-ขายฝากที่ดินสวนหลวง
จํานอง-ขายฝากที่ดินสะพานสูง
จํานอง-ขายฝากที่ดินสัมพันธวงศ์
จํานอง-ขายฝากที่ดินสาทร
จํานอง-ขายฝากที่ดินสายไหม
จํานอง-ขายฝากที่ดินหนองจอก
จํานอง-ขายฝากที่ดินหนองแขม
จํานอง-ขายฝากที่ดินหลักสี่
จํานอง-ขายฝากที่ดินห้วยขวาง
จํานอง-ขายฝากที่ดินเมืองนครปฐม
จํานอง-ขายฝากที่ดินกำแพงแสน
จํานอง-ขายฝากที่ดินดอนตูม
จํานอง-ขายฝากที่ดินนครชัยศรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางเลน
จํานอง-ขายฝากที่ดินพุทธมณฑล
จํานอง-ขายฝากที่ดินสามพราน
จํานอง-ขายฝากที่ดินเมืองนนทบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางกรวย
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางบัวทอง
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางใหญ่
จํานอง-ขายฝากที่ดินปากเกร็ด
จํานอง-ขายฝากที่ดินไทรน้อย
จํานอง-ขายฝากที่ดินเมืองปทุมธานี
จํานอง-ขายฝากที่ดินคลองหลวง
จํานอง-ขายฝากที่ดินธัญบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินลาดหลุมแก้ว
จํานอง-ขายฝากที่ดินลำลูกกา
จํานอง-ขายฝากที่ดินสามโคก
จํานอง-ขายฝากที่ดินหนองเสือ
จํานอง-ขายฝากที่ดินเมืองสมุทรปราการ
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางพลี
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางเสาธง
จํานอง-ขายฝากที่ดินพระประแดง
จํานอง-ขายฝากที่ดินพระสมุทรเจดีย์
จํานอง-ขายฝากที่ดินเมืองระยอง
จํานอง-ขายฝากที่ดินนิคมพัฒนา
จํานอง-ขายฝากที่ดินเขาชะเมา
จํานอง-ขายฝากที่ดินบ้านฉาง
จํานอง-ขายฝากที่ดินปลวกแดง
จํานอง-ขายฝากที่ดินวังจันทร์
จํานอง-ขายฝากที่ดินแกลง
จํานอง-ขายฝากที่ดินเมืองชลบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินเกาะจันทร์
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางละมุง
จํานอง-ขายฝากที่ดินบ่อทอง
จํานอง-ขายฝากที่ดินบ้านบึง
จํานอง-ขายฝากที่ดินพนัสนิคม
จํานอง-ขายฝากที่ดินพานทอง
จํานอง-ขายฝากที่ดินศรีราชา
จํานอง-ขายฝากที่ดินสัตหีบ
จํานอง-ขายฝากที่ดินหนองใหญ่
จํานอง-ขายฝากที่ดินเกาะสีชัง
จํานอง-ขายฝากที่ดินเมืองสมุทรสาคร
จํานอง-ขายฝากที่ดินกระทุ่มแบน
จํานอง-ขายฝากที่ดินบ้านแพ้ว
จํานอง-ขายฝากที่ดินมหาชัย
จํานอง-ขายฝากที่ดินเมืองสมุทร
จํานอง-ขายฝากที่ดินอัมพวา
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางคนที
จํานอง-ขายฝากที่ดินเมืองราชบุรี
จํานอง-ขายฝากที่ดินบ้านคา
จํานอง-ขายฝากที่ดินจอมบึง
จํานอง-ขายฝากที่ดินดำเนินสะดวก
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางแพ
จํานอง-ขายฝากที่ดินบ้านโป่ง
จํานอง-ขายฝากที่ดินปากท่อ
จํานอง-ขายฝากที่ดินวัดเพลง
จํานอง-ขายฝากที่ดินสวนผึ้ง
จํานอง-ขายฝากที่ดินโพธาราม
จํานอง-ขายฝากที่ดินเมืองฉะเชิงเทรา
จํานอง-ขายฝากที่ดินคลองเขื่อน
จํานอง-ขายฝากที่ดินท่าตะเกียบ
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางคล้า
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางน้ำเปรี้ยว
จํานอง-ขายฝากที่ดินบางปะกง
จํานอง-ขายฝากที่ดินบ้านโพธิ์
จํานอง-ขายฝากที่ดินพนมสารคาม
จํานอง-ขายฝากที่ดินราชสาส์น
จํานอง-ขายฝากที่ดินสนามชัยเขต
จํานอง-ขายฝากที่ดินแปลงยาว
จํานอง-ขายฝากที่ดินเมืองนครนายก
จํานอง-ขายฝากที่ดินปากพลี
จํานอง-ขายฝากที่ดินบ้านนา
จํานอง-ขายฝากที่ดินองครักษ์