วิธีขับรถเกียร์กระปุก ที่ถูกต้องเป็นอย่างไร ขับง่ายหรือเปล่า
หมวดหมู่สินค้า: A119 สอนขับรถ
25 กุมภาพันธ์ 2565
ผู้ชม 163 ผู้ชม
โรงเรียนสอนขับรถ พร้อมสอบใบขับขี่ อบรมใบขับขี่ รับรองโดยกรมการขนส่งทางบก อบรมสอบใบขับขี่และอบรมต่ออายุใบอนุญาตขับขี่ เลือกเวลาได้เอง
โรงเรียนสอนขับรถ
สอนขับรถ
เรียนขับรถ
สอนขับรถพร้อมใบขับขี่
เรียนขับรถพร้อมใบขับขี่
ติดต่อสอบถาม
วิธีขับรถเกียร์กระปุก ที่ถูกต้องเป็นอย่างไร ขับง่ายหรือเปล่า
วิธีขับรถเกียร์กระปุก
เพื่อนๆเคยขับรถเกียร์กระปุกหรือเกียร์ธรรมดาไหม? เชื่อว่าหลายคนที่ชอบขับรถแล้วต้องบรรทุกของหนักๆอย่างรถกระบะหรือรถบรรทุกจะต้องใช้เกียร์กระปุกแน่นอน ในอดีตรถยนต์ส่วนมากก็เรียกว่าแทบจะทั้งหมดเลยก็ว่าได้ เป็นระบบส่งกำลังแบบ “เกียร์ธรรมดา” หรือ “เกียร์กระปุก” แต่ถ้าเป็นยุคโบราณก็ “เกียร์คอพวงมาลัย” หรือ “เกียร์คอ” ที่เรียกกันสั้นๆ ที่ตอนนี้คนเล่นรถ Retro ถวิลหากันจัง อย่างไรก็ตาม มันก็จัดอยู่ในหมวด “เกียร์ธรรมดา” หรือ “Manual Transmission” ที่คนขับจะต้องทำทุกอย่างเอง ตั้งแต่เหยียบปล่อยคลัตช์ เข้าเกียร์ เปลี่ยนเกียร์ ให้เหมาะสมกับช่วงความเร็วกับการขับขี่ มันเป็นระบบพื้นฐานของรถยนต์ทั่วไป ด้วยความที่เกียร์กระปุกสามารถเพิ่มความแรงและความมันส์ในการขับ ส่วนอีกตลาด ก็ “กระบะ” ก็ได้ทั้งใช้งานหนักและโมดิฟายหนัก หรือ คนที่ใช้รถอยู่ต่างจังหวัด ก็ไม่จำเป็นต้องใช้เกียร์ออโต้ เพราะรถไม่ติด การใช้เกียร์ธรรมดามันก็เหมาะสมดี ทนทาน ไม่มีอะไรซับซ้อน และเผื่อขับขึ้นลงเขาเป็นประจำได้ ครั้งนี้ เราขอแนะนำวิธีการขับเกียร์กระปุกอย่างถูกต้อง ซึ่งจะนำพาสิ่งดีๆนานับประการ ตั้งแต่ในด้านสมรรถนะ ความประหยัด ความนุ่มนวล และ ความทนทาน มันมาด้วยกันได้ เพียงแต่คุณเปิดใจอ่านตรงนี้ก่อน
ตำแหน่งของเกียร์กระปุก
- เกียร์ 1 อยู่ทางซ้ายด้านบน
- เกียร์ 2 อยู่ทางซ้ายด้านล่าง
- เกียร์ 3 อยู่ตรงกลางด้านบน
- เกียร์ 4 อยู่ตรงกลางด้านล่าง
- เกียร์ 5 อยู่ทางขวาด้านบน
- เกียร์ R อยู่ทางขวาด้านล่าง
เท้าด้านซ้ายใช้ในการควบคุมคลัทซ์ในการเพิ่มเกียร์หรือลดเกียร์ เท้าด้านขวาใช้ในการควบคุมเบรคคันเร่ง
การทำงานของคลัทซ์ มี 3 ระยะ
- ระยะที่ 1 ระยะฟรี คือปล่อยคลัทซ์ชนิดเดียวรถจะไม่เคลื่อน
- ระยะที่ 2 ระยะเริ่มทำงาน คือปล่อยคลัชรถเริ่มสั่น และจะเคลื่อนที่ช้าๆ
- ระยะที่ 3 ปล่อยคลัชให้หมด คราวนี้เร่งเท่าไร ก็จะเร็วขึ้นตามคันเร่ง (แต่ก็ต้องเปลี่ยนเกียร์ด้วยนะ)
ขั้นตอนการขับรถเกียร์กระปุก
1.เริ่มภาคปฏิบัติโดยการคาดเข็มขัดนิรภัยทันทีที่เข้าภายในรถ ในระหว่างการเรียนขับรถเกียร์ธรรมดา ให้คุณหมุนหน้าต่างรถลง วิธีนี้จะช่วยให้คุณได้ยินเสียงเครื่องยนต์ได้ดีขึ้น เพื่อคุณจะสามารถเปลี่ยนเกียร์ให้สัมพันธ์กับเสียงเครื่องยนต์ได้ง่ายขึ้น แป้นเหยียบซ้ายสุดคือ คลัทช์ แป้นกลาง คือเบรก และแป้นคันเร่งจะอยู่ด้านขวามือสุด การจัดวางของแป้นเหยียบนี้จะเหมือนกันทั้งในรถพวงมาลัยซ้าย และพวงมาลัยขวา
2.เรียนรู้ว่าคลัทช์มีหน้าที่ปลดกำลังเครื่องยนต์ที่กำลังหมุนจากล้อรถยนต์ที่หมุนอยู่ เพื่อยอมให้คุณเปลี่ยนเกียร์ โดยไม่ทำให้เกิดการเสียดสีของฟันเกียร์ ก่อนที่คุณจะเปลี่ยนเกียร์ (เปลี่ยนขึ้น หรือลง) คลัทช์ต้องถูกกดจนสุดพื้นรถ
3.ปรับตำแหน่งของเบาะนั่งไปด้านหน้าพอให้คุณเหยียบแป้นคลัทช์ (แป้นทางซ้าย ติดกับแป้นเบรก) ได้จนสุดพื้นรถด้วยเท้าซ้ายของคุณ
4.เหยียบแป้นคลัทช์ให้ติดพื้นรถและค้างไว้ นี่เป็นช่วงเวลาที่ดีที่จะจำไว้ว่าระยะของแป้นคลัทช์แตกต่างจากแป้นเบรก และคันเร่งอย่างไร และทำความคุ้นเคยกับการปล่อยแป้นคลัทช์อย่างช้าๆ และมั่นคง
5.โยกหัวเกียร์ไปยังตำแหน่งเกียร์ว่าง โดยปกติจะอยู่ตำแหน่งตรงกลาง ซึ่งคุณจะไม่รู้สึกสะดุดเมื่อโยกหัวเกียร์จากข้างหนึ่ง ไปอีกข้างหนึ่ง รถยนต์จะถือว่าไม่ได้ถูกเข้าเกียร์ไว้เมื่อ การเปลี่ยนเกียร์อยู่ในตำแหน่งเกียร์ว่างหรือแป้นคลัทช์ถูกเหยียบจนสุด
6.การสตาร์ทเครื่องยนต์ด้วยกุญแจ แน่ใจว่าคุณได้เหยียบแป้นคลัทช์จนสุดพื้นรถ และค้างไว้ในขณะที่คุณสตาร์ทเครื่องยนต์
7.ทันทีที่เครื่องยนต์ถูกสตาร์ท คุณสามารถถอนเท้าของคุณออกจากแป้นคลัทช์ (หากเกียร์อยู่ในตำแหน่งเกียร์ว่าง)
8.เหยียบแป้นคลัทช์ให้ติดพื้นรถอีกครั้ง และโยกหัวเกียร์ไปตำแหน่งเกียร์ 1 ซึ่งมันควรอยู่ในตำแหน่งด้านบนซ้าย และโดยทั่วไปจะมีแผนผังตำแหน่งเกียร์ปรากฏอยู่บนหัวเกียร์
9.ยกเท้าของคุณออกจากแป้นคลัทช์ช้าๆ จนกระทั่งคุณได้ยินเสียงความเร็วเครื่องเริ่มตกลง จากนั้นให้กดแป้นคลัทช์ซ้ำอีกครั้ง ทำซ้ำหลายๆครั้ง จนกระทั่งคุณสามารถจดจำเสียงนี้ได้ นี่คือจุดที่คลัทช์กดตัวลงบนล้อตุนกำลัง หรือเรียกว่าจุด Friction Point
10.การทำให้รถออกตัว ให้ยกเท้าของคุณจากแป้นคลัทช์ จนกระทั่งรอบเครื่องตกลงเล็กน้อย และเหยียบแป้นคันเร่งเบาๆ พยายามสร้างสมดุลระหว่างการเหยียบแป้นคันเร่งเบาๆ ในขณะที่ปล่อยแป้นคลัทช์ช้าๆ คุณอาจจะลองดูหลายๆ ครั้งเพื่อหาจังหวะเหยียบแป้นคันเร่ง และปล่อยแป้นคลัทช์ที่สัมพันธ์กัน อีกวิธี คือปล่อยคลัทช์จนกระทั่งถึงจังหวะที่กำลังของเครื่องยนต์ตกลงเล็กน้อย แล้วค่อยเหยียบแป้นคันเร่งเมื่อคลัทช์จับตัว ในตอนนี้รถจะเริ่มเคลื่อนที่ โดยวิธีที่ช่วยป้องกันไม่ให้รถดับได้ดีที่สุด คือการเร่งเครื่องยนต์ เมื่อปล่อยคลัทช์ กระบวนการนี้อาจยุ่งยากสักหน่อย เนื่องจากคุณพึ่งเรียนรู้การใช้รถเกียร์ธรรมดา ที่มี 3 แป้นเหยียบ ดังนั้นคุณควรเตรียมพร้อมที่จะดึงเบรกมือในกรณีฉุกเฉิน จนกระทั่งคุณมีความชำนาญในการขับขี่มากขึ้น หากคุณปล่อยคลัทช์เร็วเกินไป รถจะกระตุกและดับ หากเครื่องยนต์มีเสียงคล้ายจะดับ ให้เหยียบคลัทช์ค้างไว้ หรือกดคลัทช์ให้ลึกขึ้นอีกเล็กน้อย ความเร็วเครื่องยนต์ที่มากเกินไป ในขณะที่ไม่ได้เหยียบคลัทช์จนสุด จะทำให้ชิ้นส่วนของคลัทช์สึกหรอก่อนเวลาอันควร ส่งผลให้เกิดการลื่นไถล หรือทำให้ชิ้นส่วนคลัทช์ที่ระบบส่งกำลังไหม้
11.ในระหว่างการขับขี่รถยนต์ เมื่อรอบเครื่องของคุณถึง 2,500 – 3,000 รอบต่อนาที คุณควรเปลี่ยนเป็นเกียร์ 2 จำไว้ว่ามันจะขึ้นอยู่กับประเภทรถที่คุณขับขี่ว่าเครื่องวัดความเร็วรอบถูกตั้งให้เปลี่ยนเกียร์ที่ความเร็วรอบเท่าไหร่ เมื่อเปลี่ยนเกียร์สูงขึ้น เครื่องยนต์ของรถจะเริ่มเร็วขึ้น และคุณควรจดจำเสียงนี้ให้ได้ ให้เหยียบแป้นคลัทช์ และโยกหัวเกียร์จากเกียร์ 1 ลงมาด้านล่างซ้าย รถบางคันมี ไฟเปลี่ยนเกียร์ หรือตัวแสดงบนเครื่องวัดความเร็ว ที่จะแจ้งคุณเมื่อถึงเวลาที่ต้องเปลี่ยนเกียร์ เพื่อป้องกันไม่ให้คุณเร่งเครื่องยนต์เร็วเกินไป
12.เหยียบแป้นคันเร่งเบาๆ และค่อยๆ ปล่อยแป้นคลัทช์ช้าๆ
13.ทันทีที่เข้าเกียร์อยู่ และเหยียบแป้นคันเร่ง คุณควรถอนเท้าออกจากแป้นคลัทช์ การวางเท้าบนแป้นคลัทช์ และออกแรงกดบนกลไกของคลัทช์ในระหว่างขับขี่รถยนต์เป็นนิสัยที่ไม่ดี แรงกดที่เพิ่มขึ้นสามารถทำให้คลัทช์สึกหรอก่อนถึงเวลาอันควร
14.เมื่อคุณต้องหยุดรถ ให้ปล่อยเท้าขวาออกจากแป้นคันเร่ง แล้วเหยียบแป้นเบรกโดยออกแรงให้เพียงพอที่จะทำให้รถช้าลง และเมื่อรถลดความเร็วจนถึงระดับ 16 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คุณจะรู้สึกว่ารถเริ่มสั่น ให้คุณเหยียบแป้นคลัทช์จนสุด และโยกเกียร์ไปตำแหน่งเกียร์ว่างเพื่อไม่ให้รถดับ
15.ทันทีที่คุณมีความชำนาญ การขับรถเกียร์ธรรมดาจะเป็นเรื่องสนุก คุณสามารถเร่งเครื่องยนต์ในตำแหน่งเกียร์ใดก็ตาม เพื่อสร้างความรู้สึกถึงความแรงของรถที่เพิ่มมากขึ้น หรือหากคุณต้องการขับรถให้ประหยัดน้ำมันมากขึ้น ให้คุณเปลี่ยนเกียร์ที่รอบเครื่องยนต์ต่ำๆ
เคล็ดลับการขับรถเกียร์กระปุก
-ทุกครั้งก่อนออกจากรถ ผู้ขับรถควรจะปลอดเกียร์ให้อยู่ในตำแหน่งเกียร์ว่างเสมอพร้อมทั้งดึงเบรคมือค้างไว้ เพื่อป้องกันการหลงลืมเมื่อมีการไขกุญแจสตาร์ทเครื่องยนต์โดยเกียร์ไม่ได้อยู่ ในตำแหน่งเกียร์ว่างรถจะพุ่งไปข้างหน้า หรือถอยหลังอย่างฉับพลัน อันจะก่อให้เกิดอันตรายได้ สำหรับการปลดเกียร์ว่าง นอกจากจะปฏิบัติก่อนออกจากรถทุกครั้งแล้ว อาจปฏิบัติในขณะรถติดนานๆ ได้ด้วยโดยดึงเบรคมือ แทนการเหยียบเบรคและคลัทซ์ค้างไว้ ช่วยพักเท้าคลายอาการเมื่อยล้าได้ด้วย
-ควรเหยียบคลัทซ์ทุกครั้งที่สตาร์ทเครื่องยนต์ เพื่อป้องกันการส่งกำลังจากเครื่องยนต์ มาสู่ระบบขับเคลื่อน เพราะหากลืมปลดเกียร์มาที่ตำแหน่งเกียร์ว่าง การเหยียบคลัทซ์จะทำให้รถไม่พุ่งไปข้างหน้าด้วยเช่นกัน
-มือใหม่หัดขับ มักพยายามหลีกเลี่ยงเส้นทางที่ต้องขึ้นสะพาน แต่หากเลี่ยงไม่ได้ และต้องติดค้าง อยู่บนสะพานผู้ขับมือใหม่มักกังวลว่าจะทำอย่างไรดีเพื่อไม่ให้รถไหลไปชนคันหลังวิธีง่ายๆ ก็คือ ปลดเกียร์ว่าง พร้อมกับดึงเบรคมือ และเมื่อจะเคลื่อนตัวให้ผู้ขับเหยียบครัทซ์และเข้าเกียร์ 1 พร้อม ที่จะออกแล้วเหยียบคันเร่งข้าๆ พร้อมกับปลดเบรคมือ รถอาจจะไหลบ้างเล็กน้อยตามพื้นที่ลาดเอียง มือใหม่หัดขับไม่ต้องตกใจ ออกตัวรถไปตามปกติ
-เลือกใช้เกียร์ให้เหมาะสมกับความเร็วของรถ และเปลี่ยนเกียร์ที่ความเร็วรอบของเครื่องยนต์ไม่ต่ำ หรือสูงเกินไป (2,000 - 3,000 รอบ/นาที) จะทำให้การขับขี่นุ่มนวลยิ่งขึ้น และประหยัดน้ำมันอีกด้วย
-การชะลอรถ/หยุดรถ เมื่อขับมาด้วยความเร็ว ให้ค่อยๆแตะเบรก อย่าเพิ่งเหยียบครัทซ์ เพื่อให้กำลังของเครื่องยนต์เป็นตัวช่วยชะลอรถ (ENGINE BRAKE) จากนั้น เมื่อรถใกล้หยุดให้เหยียบครัทซ์ และเมื่อรถหยุดสนิทให้ปลดเกียร์ว่าง พร้อมทั้งดึงเบรกมือเพื่อป้องกันรถไหล
-แน่ใจว่าไม่ได้วางเท้าซ้ายไว้บนแป้นคลัทช์ในระหว่างการขับขี่
-อย่าให้สิ่งใดมารบกวน ในระหว่างขับรถ เช่น ส่งข้อความ นี่อาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บสาหัส หรือเสียชีวิต หากคุณประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์
-แน่ใจว่าคุณเหยียบแป้นคลัทช์จนสุดก่อนเปลี่ยนไปเกียร์ลำดับถัดไป หรือต่ำลง
-จดจำเสียงของเครื่องยนต์ของคุณว่าจังหวะไหนควรเปลี่ยนเกียร์ โดยไม่จำเป็นต้องพึ่งเครื่องวัดความเร็วรอบ
-หากคุณประสบปัญหาในการทำให้รถออกตัว แน่ใจว่าคุณปล่อยคลัทช์ช้าๆ ให้คุณหยุดที่จุด friction point (ตอนที่เครื่องยนต์เริ่มออกตัว) และค่อยๆ ถอนเท้าออกจากคลัทช์ช้าๆ
-ตรวจสอบรอบเครื่องยนต์ และเปลี่ยนเกียร์ให้สัมพันธ์กัน ยกตัวอย่างเช่น เปลี่ยนเป็นเกียร์ 2 ที่รอบเครื่องยนต์ 2,000 รอบต่อนาที เกียร์ 3 ที่รอบเครื่องยนต์ 3,000 รอบต่อนาที และเกียร์ 4 ที่รอบเครื่องยนต์ 4,000 รอบต่อนาที จนกระทั่งเสียงของเครื่องยนต์ไม่คำราม เพื่อรอการเปลี่ยนตำแหน่งเกียร์ให้สูงขึ้น ดังนั้นจงให้ความสนใจกับเสียงของเครื่องยนต์
-หากไม่มีแผนผังตำแหน่งเกียร์ปรากฏอยู่บนหัวเกียร์ แน่ใจว่าคุณได้ถามคนที่คุ้นเคยกับรถรุ่นนั้นๆ ว่าระบบเกียร์ถูกจัดวางไว้อย่างไร สิ่งที่คุณไม่อยากให้เกิดขึ้น คือถอยหลังชนสิ่งของ (หรือบางคน) เมื่อคุณคิดว่าคุณได้เข้าเกียร์ 1 เพื่อเดินหน้า
-เมื่อคุณต้องขับผ่านเนินหลังเต่า คุณควรเหยียบคลัทช์ค้างไว้ และเหยียบเบรกเล็กน้อยเพื่อทำให้รถชะลอตัว และเมื่อผ่านเนินให้ปล่อยคลัทช์ค่อยๆ และเหยียบแป้นคันเร่งเพื่อทำให้รถเคลื่อนตัวต่อไป
-คุณอาจต้องเข้าเกียร์ 1 เมื่อจอดรถ นอกเหนือจากการใส่เบรกมือ
-หากคุณรู้ล่วงหน้าว่าคุณจะต้องจอดรถบนทางลาด ให้คุณพกก้อนอิฐ หรือหินใส่รถไว้ เพื่อวางไว้ด้านหลังของล้อรถยนต์ (“ด้วยความระมัดระวัง”) มันไม่ใช่เรื่องแปลกที่จะทำแบบนี้ทุกครั้ง เนื่องจากเบรกมือ จะเหมือนกับชิ้นส่วนอื่นๆ ของรถยนต์ ที่จะสึกหรอตามอายุการใช้งาน และจะไม่สามารถทำให้รถของคุณหยุดนิ่งอยู่กับที่ได้ หากจอดไว้บนเนินเขาที่ชันมากๆ
-หาอุณหภูมิลดต่ำมากๆ ไม่แนะนำให้ทิ้งรถไว้เป็นเวลานานๆ โดยใส่เบรกมือไว้ ความชื้นจะทำให้เบรกจับตัวแข็ง และทำให้การปลดเบรกมือทำได้ลำบาก
-คำเรียกเหล่านี้มีความหมายเหมือนกัน ได้แก่ “เกียร์ที่ใช้มือบังคับ” “เกียร์กระปุก” และ “เกียร์ธรรมดา”
-อย่าขับรถบนถนน จนกระทั่งคุณมีความชำนาญในการเข้าเกียร์ 1 และเกียร์ถอยหลัง ให้คุณฝึกฝนการขับขี่รถยนต์โดยปราศจากการเหยียบแป้นคันเร่ง เมื่อปล่อยคลัทช์ และฝึกฝนอีก 100 ครั้ง ทั้งแบบเหยียบแป้นคันเร่ง และไม่เหยียบ โดยให้ทำเหมือนกันกับเกียร์ถอยหลัง หลังจากนั้นคุณจะพร้อมที่จะขับออกสู่ถนน
-หากรถของคุณเหมือนจะดับ หรือเครื่องยนต์มีอาการคล้ายการสะอึก ให้เหยียบคลัทช์ซ้ำอีกครั้ง และคอยจนเสียงเครื่องยนต์เป็นปกติ และทำตามขั้นตอนใหม่อีกครั้ง
-ฝึกฝนจนกระทั่งคุณสามารถเปลี่ยนเกียร์โดยไม่ต้องมองไปที่เกียร์ เพื่อคุณจะได้มีสมาธิอยู่กับถนน
คำเตือนในการขับรถเกียร์กระปุก
-สังเกตหากคุณอยู่บนพื้นที่ที่เป็นเนินเขา หรือสูงชัน. รถคุณสามารถไหลถอยหลัง และชนคน หรือวัตถุด้านหลังรถคุณ หากคุณไม่เหยียบเบรก และคลัทช์ค้างไว้
-หยุดรถให้สนิท ก่อนเปลี่ยนเกียร์ถอยหลัง ไม่สำคัญว่ารถของคุณจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางไหน การเปลี่ยนเกียร์ถอยหลัง ในขณะที่รถกำลังเคลื่อนที่ จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อชุดเกียร์ธรรมดา
-เมื่อคุณทำเครื่องดับหลายๆ ครั้ง และพยายามสตาร์ทเครื่องใหม่อีกครั้ง ให้เวลาสตาร์ทเตอร์ และแบตเตอรี่อย่างน้อย 5 – 10 นาที เพื่อหลีกเลี่ยงการทำให้เครื่องยนต์ร้อนจนเกินไป และทำให้สตาร์ทเตอร์เสียหาย และแบตเตอรี่รถยนต์หมดไฟ
-จับตาดูเครื่องวัดความเร็วรอบ จนกระทั่งคุณรู้สึกคุ้นเคยกับการใช้งาน การขับรถเกียร์ธรรมดาต้องใช้ประสบการณ์มากกว่าเกียร์อัตโนมัติ โดยการเร่งเครื่องยนต์มากเกินไป อาจทำให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อเครื่องยนต์
-การหยุดรถสนิท ก่อนเปลี่ยนตำแหน่งเกียร์จากถอยหลัง ไปเป็นเกียร์เดินหน้าเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติเป็นอย่างยิ่ง อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนเกียร์ธรรมดาจากตำแหน่งถอยหลัง ไปเกียร์ 1 หรือเกียร์ 2 สามารถทำได้ในระหว่างที่รถกำลังถอยหลังด้วยความเร็วต่ำ แต่ไม่แนะนำให้ทำ เนื่องจากมันอาจทำให้คลัทช์เกิดการสึกหรอมากเกินไป
โรงเรียนสอนขับรถเชียงราย
โรงเรียนสอนขับรถเชียงใหม่
โรงเรียนสอนขับรถน่าน
โรงเรียนสอนขับรถพะเยา
โรงเรียนสอนขับรถแพร่
โรงเรียนสอนขับรถแม่ฮ่องสอน
โรงเรียนสอนขับรถลำปาง
โรงเรียนสอนขับรถลำพูน
โรงเรียนสอนขับรถอุตรดิตถ์
โรงเรียนสอนขับรถกาฬสินธุ์
โรงเรียนสอนขับรถขอนแก่น
โรงเรียนสอนขับรถชัยภูมิ
โรงเรียนสอนขับรถนครพนม
โรงเรียนสอนขับรถนครราชสีมา
โรงเรียนสอนขับรถบึงกาฬ
โรงเรียนสอนขับรถบุรีรัมย์
โรงเรียนสอนขับรถมหาสารคาม
โรงเรียนสอนขับรถมุกดาหาร
โรงเรียนสอนขับรถยโสธร
โรงเรียนสอนขับรถร้อยเอ็ด
โรงเรียนสอนขับรถเลย
โรงเรียนสอนขับรถสกลนคร
โรงเรียนสอนขับรถสุรินทร์
โรงเรียนสอนขับรถศรีสะเกษ
โรงเรียนสอนขับรถหนองคาย
โรงเรียนสอนขับรถหนองบัวลำภู
โรงเรียนสอนขับรถอุดรธานี
โรงเรียนสอนขับรถอุบลราชธานี
โรงเรียนสอนขับรถอำนาจเจริญ
โรงเรียนสอนขับรถกำแพงเพชร
โรงเรียนสอนขับรถชัยนาท
โรงเรียนสอนขับรถนครนายก
โรงเรียนสอนขับรถนครปฐม
โรงเรียนสอนขับรถนครสวรรค์
โรงเรียนสอนขับรถนนทบุรี
โรงเรียนสอนขับรถปทุมธานี
โรงเรียนสอนขับรถพระนครศรีอยุธยา
โรงเรียนสอนขับรถพิจิตร
โรงเรียนสอนขับรถพิษณุโลก
โรงเรียนสอนขับรถเพชรบูรณ์
โรงเรียนสอนขับรถลพบุรี
โรงเรียนสอนขับรถสมุทรปราการ
โรงเรียนสอนขับรถสมุทรสงคราม
โรงเรียนสอนขับรถสมุทรสาคร
โรงเรียนสอนขับรถสิงห์บุรี
โรงเรียนสอนขับรถสุโขทัย
โรงเรียนสอนขับรถสุพรรณบุรี
โรงเรียนสอนขับรถสระบุรี
โรงเรียนสอนขับรถอ่างทอง
โรงเรียนสอนขับรถอุทัยธานี
โรงเรียนสอนขับรถจันทบุรี
โรงเรียนสอนขับรถฉะเชิงเทรา
โรงเรียนสอนขับรถชลบุรี
โรงเรียนสอนขับรถตราด
โรงเรียนสอนขับรถปราจีนบุรี
โรงเรียนสอนขับรถระยอง
โรงเรียนสอนขับรถสระแก้ว
โรงเรียนสอนขับรถกาญจนบุรี
โรงเรียนสอนขับรถตาก
โรงเรียนสอนขับรถประจวบคีรีขันธ์
โรงเรียนสอนขับรถเพชรบุรี
โรงเรียนสอนขับรถราชบุรี
โรงเรียนสอนขับรถกระบี่
โรงเรียนสอนขับรถชุมพร
โรงเรียนสอนขับรถตรัง
โรงเรียนสอนขับรถนครศรีธรรมราช
โรงเรียนสอนขับรถนราธิวาส
โรงเรียนสอนขับรถปัตตานี
โรงเรียนสอนขับรถพังงา
โรงเรียนสอนขับรถพัทลุง
โรงเรียนสอนขับรถภูเก็ต
โรงเรียนสอนขับรถระนอง
โรงเรียนสอนขับรถสตูล
โรงเรียนสอนขับรถสงขลา
โรงเรียนสอนขับรถสุราษฎร์ธานี
โรงเรียนสอนขับรถยะลา
โรงเรียนสอนขับรถกรุงเทพมหานคร
โรงเรียนสอนขับรถคลองสาน
โรงเรียนสอนขับรถคลองสามวา
โรงเรียนสอนขับรถคลองเตย
โรงเรียนสอนขับรถคันนายาว
โรงเรียนสอนขับรถจอมทอง
โรงเรียนสอนขับรถดอนเมือง
โรงเรียนสอนขับรถดินแดง
โรงเรียนสอนขับรถดุสิต
โรงเรียนสอนขับรถตลิ่งชัน
โรงเรียนสอนขับรถทวีวัฒนา
โรงเรียนสอนขับรถทุ่งครุ
โรงเรียนสอนขับรถธนบุรี
โรงเรียนสอนขับรถบางกอกน้อย
โรงเรียนสอนขับรถบางกอกใหญ่
โรงเรียนสอนขับรถบางกะปิ
โรงเรียนสอนขับรถบางคอแหลม
โรงเรียนสอนขับรถบางซื่อ
โรงเรียนสอนขับรถบางนา
โรงเรียนสอนขับรถบางพลัด
โรงเรียนสอนขับรถบางรัก
โรงเรียนสอนขับรถบางเขน
โรงเรียนสอนขับรถบางแค
โรงเรียนสอนขับรถบึงกุ่ม
โรงเรียนสอนขับรถปทุมวัน
โรงเรียนสอนขับรถประเวศ
โรงเรียนสอนขับรถป้อมปราบศัตรูพ่าย
โรงเรียนสอนขับรถพญาไท
โรงเรียนสอนขับรถพระนคร
โรงเรียนสอนขับรถพระโขนง
โรงเรียนสอนขับรถภาษีเจริญ
โรงเรียนสอนขับรถมีนบุรี
โรงเรียนสอนขับรถยานนาวา
โรงเรียนสอนขับรถราชเทวี
โรงเรียนสอนขับรถราษฎร์บูรณะ
โรงเรียนสอนขับรถลาดกระบัง
โรงเรียนสอนขับรถลาดพร้าว
โรงเรียนสอนขับรถวังทองหลาง
โรงเรียนสอนขับรถวัฒนา
โรงเรียนสอนขับรถสวนหลวง
โรงเรียนสอนขับรถสะพานสูง
โรงเรียนสอนขับรถสัมพันธวงศ์
โรงเรียนสอนขับรถสาทร
โรงเรียนสอนขับรถสายไหม
โรงเรียนสอนขับรถหนองจอก
โรงเรียนสอนขับรถหนองแขม
โรงเรียนสอนขับรถหลักสี่
โรงเรียนสอนขับรถห้วยขวาง
โรงเรียนสอนขับรถเมืองนครปฐม
โรงเรียนสอนขับรถกำแพงแสน
โรงเรียนสอนขับรถดอนตูม
โรงเรียนสอนขับรถนครชัยศรี
โรงเรียนสอนขับรถบางเลน
โรงเรียนสอนขับรถพุทธมณฑล
โรงเรียนสอนขับรถสามพราน
โรงเรียนสอนขับรถเมืองนนทบุรี
โรงเรียนสอนขับรถบางกรวย
โรงเรียนสอนขับรถบางบัวทอง
โรงเรียนสอนขับรถบางใหญ่
โรงเรียนสอนขับรถปากเกร็ด
โรงเรียนสอนขับรถไทรน้อย
โรงเรียนสอนขับรถเมืองปทุมธานี
โรงเรียนสอนขับรถคลองหลวง
โรงเรียนสอนขับรถธัญบุรี
โรงเรียนสอนขับรถลาดหลุมแก้ว
โรงเรียนสอนขับรถลำลูกกา
โรงเรียนสอนขับรถสามโคก
โรงเรียนสอนขับรถหนองเสือ
โรงเรียนสอนขับรถเมืองสมุทรปราการ
โรงเรียนสอนขับรถบางพลี
โรงเรียนสอนขับรถบางเสาธง
โรงเรียนสอนขับรถพระประแดง
โรงเรียนสอนขับรถพระสมุทรเจดีย์
โรงเรียนสอนขับรถเมืองระยอง
โรงเรียนสอนขับรถนิคมพัฒนา
โรงเรียนสอนขับรถเขาชะเมา
โรงเรียนสอนขับรถบ้านฉาง
โรงเรียนสอนขับรถปลวกแดง
โรงเรียนสอนขับรถวังจันทร์
โรงเรียนสอนขับรถแกลง
โรงเรียนสอนขับรถเมืองชลบุรี
โรงเรียนสอนขับรถเกาะจันทร์
โรงเรียนสอนขับรถบางละมุง
โรงเรียนสอนขับรถบ่อทอง
โรงเรียนสอนขับรถบ้านบึง
โรงเรียนสอนขับรถพนัสนิคม
โรงเรียนสอนขับรถพานทอง
โรงเรียนสอนขับรถศรีราชา
โรงเรียนสอนขับรถสัตหีบ
โรงเรียนสอนขับรถหนองใหญ่
โรงเรียนสอนขับรถเกาะสีชัง
โรงเรียนสอนขับรถเมืองสมุทรสาคร
โรงเรียนสอนขับรถกระทุ่มแบน
โรงเรียนสอนขับรถบ้านแพ้ว
โรงเรียนสอนขับรถมหาชัย
โรงเรียนสอนขับรถเมืองสมุทร
โรงเรียนสอนขับรถอัมพวา
โรงเรียนสอนขับรถบางคนที
โรงเรียนสอนขับรถเมืองราชบุรี
โรงเรียนสอนขับรถบ้านคา
โรงเรียนสอนขับรถจอมบึง
โรงเรียนสอนขับรถดำเนินสะดวก
โรงเรียนสอนขับรถบางแพ
โรงเรียนสอนขับรถบ้านโป่ง
โรงเรียนสอนขับรถปากท่อ
โรงเรียนสอนขับรถวัดเพลง
โรงเรียนสอนขับรถสวนผึ้ง
โรงเรียนสอนขับรถโพธาราม
โรงเรียนสอนขับรถเมืองฉะเชิงเทรา
โรงเรียนสอนขับรถคลองเขื่อน
โรงเรียนสอนขับรถท่าตะเกียบ
โรงเรียนสอนขับรถบางคล้า
โรงเรียนสอนขับรถบางน้ำเปรี้ยว
โรงเรียนสอนขับรถบางปะกง
โรงเรียนสอนขับรถบ้านโพธิ์
โรงเรียนสอนขับรถพนมสารคาม
โรงเรียนสอนขับรถราชสาส์น
โรงเรียนสอนขับรถสนามชัยเขต
โรงเรียนสอนขับรถแปลงยาว
โรงเรียนสอนขับรถเมืองนครนายก
โรงเรียนสอนขับรถปากพลี
โรงเรียนสอนขับรถบ้านนา
โรงเรียนสอนขับรถองครักษ์