9361891

รับเจาะน้ำบาดาล.................... โทร 090-9218474 บ่อบาดาล เจาะน้ำบาดาล รับเจาะน้าบาดาลราคาถูก
ช่างเจาะบาดาล.................... ,  น้ำบาดาล....................บ่อบาดาล.................... ,  เจาะบาดาล....................
รับเจาะบาดาล.................... รับสำรวจหาแหล่งน้ำบาดาล ขุดเจาะบ่อน้ำบาดาล  การขอรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล

 

 ติดต่อช่างเจาะบาดาล                   



ขั้นตอนการขอรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล
ขั้นตอนที่ 1 ผู้ประสงค์จะเจาะน้ำบาดาลดำเนินการดังนี้

1. ยื่นคำขอรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล ( ตามแบบ นบ.1 ) ณ ที่ทำการ อบต./เทศบาล นั้นๆ
2. แนบหลักฐานประกอบการขอรับใบอนุญาตเจาะ ดังนี้
ผู้ขอรับใบอนุญาตกรณีบุคคลธรรมดา    
     1. สำเนาทะเบียนบ้าน หรือ สำเนาบัตรประชาชนของผู้ขอ ผู้รับมอบอำนาจ และหรือ ผู้ให้ความยินยอม
     2. หนังสือมอบอำนาจปิดอากรแสตมป์ 30 บาท (กรณีไม่ได้มายื่นขอด้วยตนเอง)
     3. สำเนาหลักฐานการมีกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิครอบครอง เช่น โฉนดที่ดิน น.ส.
 
3 หนังสือยินยอมให้ใช้ที่ดิน หนังสือครอบครองสิทธิ์ที่จะเจาะบ่อน้ำบาดาลในที่ดิน หรือลงชื่อรับรองว่าเป็นผู้มีสิทธิ์ ในที่ดินในคำขอรับใบอนุญาตเจาะบ่อน้ำบาดาล กรณีมอบอำนาจต้องมีสำเนาบัตรของผู้รับมอบด้วย
 
4. สำเนาใบอนุญาตประกอบกิจการ โรงงงาน หรือใบอนุญาตขยายโรงงาน (กรณีเป็นโรงงานอุตสาหกรรม)
 
5. แบบแปลนจัดสรร (กรณีเป็นหมู่บ้านจัดสรร หรือที่ดินจัดสรร)
 
6. สำเนาหนังสือรับรองช่างเจาะ ในกรณีที่ระบุบริษัทเจาะหรือผู้รับเหมาเจาะ (สำหรับบ่อน้ำบาดาลที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตอนบนตั้งแต่ 4 นิ้ว (100 มิลลิเมตร) ขึ้นไป และสำเนาหนังสือรับรอง นักธรณีวิทยา หรือ วิศวกร ในกรณีที่ระบุบริษัทเจาะ หรือ ผู้รับเหมาเจาะ สำหรับบ่อน้ำบาดาลขนาด 6 นิ้ว (150 มิลลิเมตร) ขึ้นไป ในเขตวิกฤตน้ำบาดาล และบ่อน้ำบาดาลขนาด 8 นิ้ว (200 มิลลิเมตร) ขึ้นไป นอกเขตวิกฤตการณ์น้ำบาดาล 69 จังหวัด)
 
7. แผนที่สังเขปแสดงเส้นทางและสถานที่ที่จะเจาะบ่อน้ำบาดาล
 
8. เอกสารอื่นตามที่เจ้าหน้าที่กำหนด
ผู้ขอรับใบอนุญาตกรณีเป็นนิติบุคคล
     1. สำเนารับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลแสดงรายนามผู้มีอำนาจลงนาม , สำเนาทะเบียนบ้านหรือสำเนาบัตรประชาชนของกรรมการผู้มีอำนาจลงลายมือชื่อผู้รับมอบอ้านาจ และหรือผู้ให้ความยินยอม
 
     2. หนังสือมอบอ้านาจปิดอากรแสตมป์ 30 บาท (กรณีกรรมการผู้จัดการไม่ได้มายื่นคำขอด้วยตนเอง)
 
     3. สำเนาหลักฐานการมีกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิครอบครอง เช่น โฉนดที่ดิน น.ส.3 หนังสือยินยอมให้ใช้ที่ดิน หนังสือครอบครองสิทธิ์ที่จะเจาะบ่อน้ำบาดาลในที่ดิน หรือลงชื่อรับรองว่าเป็นผู้มีสิทธิ์ ในที่ดินในคำขอรับใบอนุญาตเจาะบ่อน้ำบาดาล กรณีมอบอำนาจต้องมีสำเนาบัตรของผู้รับมอบด้วย
 
     4. สำเนาใบอนุญาตประกอบกิจการ โรงงงาน หรือใบอนุญาตขยายโรงงาน (กรณีเป็นโรงงานอุตสาหกรรม)
 
     5. แบบแปลนจัดสรร (กรณีเป็นหมู่บ้านจัดสรร หรือที่ดินจัดสรร)
 
     6. สำเนาหนังสือรับรองช่างเจาะ ในกรณีที่ระบุบริษัทเจาะหรือผู้รับเหมาเจาะ (สำหรับบ่อน้ำบาดาลที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตอนบนตั้งแต่ 4 นิ้ว (100 มิลลิเมตร) ขึ้นไป และสำเนาหนังสือรับรอง นักธรณีวิทยา หรือ วิศวกร ในกรณีที่ระบุบริษัทเจาะ หรือ ผู้รับเหมาเจาะ สำหรับบ่อน้ำบาดาลขนาด 6 นิ้ว (150 มิลลิเมตร) ขึ้นไป ในเขตวิกฤตน้ำบาดาล และบ่อน้ำบาดาลขนาด 8 นิ้ว (200 มิลลิเมตร) ขึ้นไป นอกเขตวิกฤตการณ์น้ำบาดาล 69 จังหวัด)
 
     7. แผนที่สังเขปแสดงเส้นทางและสถานที่ที่จะเจาะบ่อน้ำบาดาล
 
     8. เอกสารอื่นตามที่เจ้าหน้าที่กำหนด
ขั้นนตอนที่ 2ให้พนักงานน้ำบาดาลประจำท้องที่ดำเนินการดังนี้
 
1. ตรวจสอบคำขอและเอกสารประกอบการขอรับใบอนุญาตเจาะ โดยมีระยะเวลาดำเนินงาน 1 วัน ทำการ
 
2. รับคำขอ ลงทะเบียนรับ และรับช้าระค่าธรรมเนียมค้าขอตามอัตราที่กำหนด
 
ขั้นตอนที่ 3 - 4 1. ตรวจสอบแหล่งน้ำจากแผนที่น้ำบาดาล โดยมีระยะเวลาดำเนินงาน 1 วันทำการ หรือ ตรวจสอบสถานที่โดยมีระยะเวลาการดำเนินงาน 2 วันทำการ
 
ขั้นตอนที่ 5 1. พิจารณาค้าขอรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล           
 
     1.1 คำขอรับใบอนุญาตเจาะที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อกรุบ่อตอนบนสุดน้อยกว่า 4 นิ้ว ( 100 มิลลิเมตร )           
     1.2 คำขอรับใบอนุญาตเจาะที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อกรุบ่อตอนบนสุดเท่ากับหรือมากกว่า 4 นิ้ว ( 100 มิลลิเมตร ) และด้าเนินเรื่องส่ง สำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขต โดยมีระยะเวลาดำเนินงาน 1 วันทำการ เพื่อพิจารณาหลักเกณฑ์การขอรับใบอนุญาตฯ
 
ขั้นตอนที่ 6 1. การพิจารณาออกอนุญาต/ไม่อนุญาตออกใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาลที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อกรุบ่อตอนบนสุดน้อยกว่า 4 นิ้ว ( 100 มิลลิเมตร )    
 
     1.1 นายก อบต./เทศบาล ในฐานะพนักงานน้ำบาดาลประจำท้องที่พิจารณาการอนุญาตหรือไม่อนุญาตการเจาะน้ำบาดาลโดยต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 2 วันทำการ      
     1.2 ดำเนินการแจ้งผู้ขอรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล
          1.2.1 กรณีพิจารณาอนุญาตออกใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล ให้ดำเนินการแจ้งผู้มาขอรับใบอนุญาตให้มาชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล
          1.2.2 กรณีพิจารณาไม่อนุญาตออกใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล ให้ดำเนินการแจ้งผู้มาขอรับใบอนุญาตให้รับทราบ 
 
ขั้นตอนที่ 7 1. การพิจารณาออกอนุญาต/ไม่อนุญาตออกใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อกรุบ่อตอนบนสุดเท่ากับหรือมากกว่า 4 นิ้ว ( 100 มิลลิเมตร ) แต่ไม่มากกว่าหรือเท่ากับ 8 นิ้ว ( 200 มิลลิเมตร )      
     1.1 ผู้อำนวยการสำนักทรัพยากรน้ำบาดาลเขตในฐานะพนักงานเจ้าหน้าที่น้ำบาดาลประจำท้องที่จัดให้มีการประชุม อกก.เขต เพื่อดำเนินพิจารณาอนุญาตหรือไม่อนุญาตการเจาะน้ำบาดาลโดยต้องมีการจัดประชุมภายใน 20 วันทำการ       
     1.2 ดำเนินการพิจารณาออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล ตามมติ อกก.เขตโดยมีระยะเวลาดำเนินงาน 1 วันทำการ และดำเนินการส่งใบอนุญาตให้ อบต./เทศบาล      
     1.3 ดำเนินการแจ้งผู้ขอรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล
          1.3.1 กรณีพิจารณาอนุญาตออกใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล ให้ อบต.ดำเนินการแจ้งผู้มาขอรับใบอนุญาตให้มาชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล
          1.3.2 กรณีพิจารณาอนุญาตออกใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล ให้ อบต.ดำเนินการแจ้งผู้มาขอรับใบอนุญาตให้มาชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล
 
ขั้นตอนที่ 8 1. ผู้มายื่นขอรับอนุญาตเจาะน้ำบาดาล      
     1.1 กรณีได้รับใบอนุญาตให้มาช้าระค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาลและรับใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล      
     1.2 กรณีไม่ได้รับใบอนุญาตให้มารับทราบถึงการไม่อนุญาตออกใบอนุญาตเจาะน้ำบาดาล
 
 

บริการยกบ้าน.................... เลื่อนบ้าน หมุนบ้าน ย้ายบ้าน เปลี่ยนเสา แก้ไขปัญหาบ้าน-อาคาร-โรงงานทรุดเอียง ดีดบ้านปูนโดยใช้แม่แรงไฮโดรลิคไฟฟ้าเข้าทำงาน แก้ไขปัญหาบ้านต่ำ หนีน้ำท่วม ผลงานช่างดีดบ้าน
ยกบ้าน2ชั้น....................
ราคาดีดบ้าน....................
อุปกรณ์ยกบ้าน....................
ดีดบ้านราคา....................
ยกบ้าน....................
รับดีดบ้านปูน....................
ดีดบ้านทรุด....................
 

 

การพัฒนาน้ำบาดาล

การพัฒนาน้ำบาดาล หมายถึง วิธีการที่จะนำน้ำบาดาลจากชั้นหินกักเก็บน้ำที่อยู่ภายใต้ผิวดิน ขึ้นมาใช้ประโยชน์ ขั้นตอนของการพัฒนาน้ำบาดาล ประกอบด้วย

1. การสำรวจน้ำบาดาล

โดยทั่วไปมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบว่าในบริเวณพื้นที่สำรวจมีน้ำบาดาลอยู่หรือไม่ มีปริมาณมากน้อยเท่าใด จะสามารถพัฒนาน้ำขึ้นมาใช้ได้เท่าไหร่ คุณภาพน้ำบาดาลเป็นอย่างไร

การสำรวจแบ่งออกได้เป็น 2 แบบใหญ่ ๆ คือ

การสำรวจทางด้านธรณีวิทยาและอุทกธรณีวิทยา
การสำรวจทางด้านธรณีฟิสิกส์ เช่น การสำรวจความต้านทานไฟฟ้าจำเพาะ
การสำรวจความต้านทานไฟฟ้าจำเพาะ (Resistivity Method) คุณสมบัติทางกายภาพที่วัดคือ ความต้านทานไฟฟ้า ซึ่งเป็นส่วนกลับของการนำไฟฟ้า โดยปกติแล้วชั้นดิน ชั้นหิน จะไม่นำไฟฟ้า ยกเว้นมีน้ำแทรกอยู่ตามช่องว่าง หรือตามรอยแตกรอยแยก

2. การเจาะบ่อ

การเจาะบ่อ (Well Drilling) มีวิธีการหลายๆ แบบที่ใช้เครื่องมือ แตกต่างกันออกไป ซึ่งการเลือกวิธีการเจาะบ่อ โดยทั่วไปจะขึ้นอยู่กับ ชนิดของหินที่อยู่ภายใต้ผิวดินและความลึกที่ต้องการเจาะเป็นสำคัญ วิธีการที่นิยมใช้ได้แก่

การเจาะแบบกระแทก
การเจาะแบบหมุน
การเจาะแบบใช้ลม

3. การปรับปรุงและพัฒนาบ่อ

การปรับปรุงบ่อ (Well completion) การปรับปรุงบ่อหรือการทำบ่อ ได้แก่ การทำรูเจาะให้เป็นบ่อน้ำ เพื่อพัฒนานำน้ำบาดาลขึ้นมาใช้ประโยชน์ และเพื่อป้องกันการพังทลายของบ่อ การปรับปรุง ประกอบด้วย การออกแบบบ่อ การใส่ท่อกรุ การกรุกรวด

การพัฒนาบ่อ (Well Development) วัตถุประสงค์ เพื่อทำให้บ่อมีน้ำเพิ่มมากขึ้น ป้องกันไม่ให้ทรายไหลเข้าบ่อ ทำให้บ่อมีอายุ การใช้งานได้นาน หลักการ คือ ทำให้เม็ดกรวดทรายที่อยู่รอบบ่อเรียงตัวอย่างเป็น ระเบียบ ทำให้มีความพรุนและความซึมได้สูง วิธีการที่นิยม คือการเป่าล้างด้วยลม

4. การสูบทดสอบ

การสูบทดสอบ (Pumping Test) เป็นสิ่งที่จำเป็น ต้องกระทำภายหลังจากการปรับปรุงและพัฒนาบ่อเสร็จแล้ว ทำเพื่อ ให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณน้ำที่จะสามารถสูบขึ้นมา ใช้ โดยข้อมูลเหล่านี้จะใช้เพื่อการเลือกเครื่องสูบน้ำให้ถูกต้อง และเหมาะสม

5. การตรวจสอบและปรับปรุงคุณภาพน้ำ

การตรวจสอบคุณภาพน้ำ (Water Quality Test) คุณภาพน้ำบาดาล มีความสำคัญต่อการพัฒนาบ่อบาดาลมาก เนื่องจากคุณภาพของน้ำบาดาลจะเป็นตัวบ่งชี้ถึงความสามารถในการนำไปใช้ประโยชน์ โดยทั่วไปอาจจำแนกการใช้ น้ำบาดาลได้เป็น 3 ประเภท คือ การใช้เพื่ออุปโภค-บริโภค การใช้เพื่อการเกษตรกรรม หรือการชลประทาน และการใช้ เพื่อการอุตสาหกรรม ซึ่งในการใช้งานแต่ละประเภท จะมีมาตรฐานคุณภาพน้ำที่แตกต่างกันออกไป

การปรับปรุงคุณภาพน้ำ (Water Treatment) บางครั้งคุณภาพน้ำบาดาลที่พัฒนาขึ้นมาได้ ไม่เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ อาทิ น้ำมีปริมาณสารละลายเหล็กสูง ไม่สามารถบริโภคได้ หรือน้ำมีปริมาณความกระด้าง ไม่สามารถใช้เพื่อการซักล้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเหตุผลเหล่านี้ จึงจำเป็นต้องมีการปรับปรุงคุณภาพน้ำ ได้แก่ การกำจัดสิ่งเจือปนในน้ำ การกำจัดเหล็กและแมงกานิส การกำจัดความกระด้าง การกำจัดน้ำกร่อยหรือน้ำเค็ม การฆ่าเชื้อโรค เป็นต้น

6. การบำรุงรักษา

ในการพัฒนาน้ำบาดาลขึ้นมาใช้ประโยชน์ เมื่อได้ปริมาณ และคุณภาพน้ำตามที่ต้องการเแล้ว เมื่อใช้ไปในระยะเวลาที่นานหรือต้องการให้ใช้งานได้นาน ควรมีการบำรุงรักษาทั้งในแง่ของการบำรุงรักษาบ่อบาดาล และการบำรุงรักษาอุปกรณ์เครื่องสูบ
โดยทั่วไปบ่อบาดาลจะมีประสิทธิภาพลดลง เนื่องจากปัจจัยหลายประการ อาทิ ระดับน้ำบาดาลหรือระดับแรงดันของน้ำ ลดลง การอุดตันของท่อเซาะร่องหรือท่อกรอง รวมทั้งประสิทธิภาพที่ลดลงของเครื่องสูบ ซึ่งบ่อบาดาลที่มีการออกแบบไว้ดี ตั้งแต่เริ่มต้น และมีการใช้งานอย่างเหมาะสมจะมีอายุการใช้งานได้นาน

 

 
รับซื้อโครงเหล็ก.................... รื้อถอนอาคาร ทุบบ้าน
รับซื้อโครงสร้างเหล็ก. รับซื้อโครงสร้างเหล็ก โรงงาน ซื้อโครงเหล็ก โครงหลังคาเหล็ก โกดังสินค้า บริการรับซื้อถึงที่ ผลงานของเรา
ต้องการขายโครงหลังคา....................
รับซื้อโครงเหล็ก....................
รับซื้อโครงสร้างเหล็ก....................
รับรื้อโครงเหล็ก....................
รับซื้อโครงป้าย....................
รับรื้อถอนโครงเหล็ก....................
โครงเหล็กเก่า....................
รื้อโครงสร้างเหล็ก....................




....................รับขุดออกแบบโมเดลโคกหนองนา ขุดโคกหนองนา เกษตรทฤษฏีใหม่
รับงานขุดออกแบบ โมเดลโคกหนองนา 
รับขุดสระถมที่.................... วางผังสวนเกษตร
รับออกแบบฟาร์มสเตย์.................... รับออกแบบสวนเกษตรทฤษฎีใหม่


ผลงานของเรา


รับออกแบบวางผังสวนต่างๆ
รับขุดออกแบบโคกหนองนาโมเดล....................
การตรวจหาแหล่งน้ำบาดาล....................
รับออแบบเกษตรทฤษฎีใหม่....................
ออกแบบเศรษฐกิจพอเพียง....................
รับขุดสระเก็บกักน้ำ....................



ช่างเจาะบาดาล  ตำบล ถนน  กทม

เรียงตาม :
Engine by shopup.com