การเตรียมตัวสอบศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา
การเตรียมตัวสอบศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา
คำแนะนำในการสอบศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา ศาลอาญา ศาลอุทธรณ์
ในการสอบเข้ากรม ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา ศาลอาญา ศาลอุทธรณ์
การสอบบรรจุเข้ารับราชการผู้เข้าสอบจะต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของสำนักงาน ก.พ. ก่อน แต่ถ้าสอบเป็นลูกจ้าง/พนักงานราชการ ไม่ต้องใช้ใบสอบผ่านภาค ก ของ ก.พ. การสอบเข้าศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา ศาลอาญา ศาลอุทธรณ์ จะมีการประเมินสมรรถนะอยู่ 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 โดยการสอบข้อเขียน ครั้งที่ 2 โดยการสัมภาษณ์ และจะต้องผ่านการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 1 โดยวิธีการสอบข้อเขียนก่อนและเมื่อผ่านการประเมินสรรถนะครั้งที่ 1 แล้ว จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 2 โดยวิธีสอบสัมภาษณ์ ทั้งนี้จะต้องได้คะแนนสอบข้อเขียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60
การเตรียมตัวสอบ
ในส่วนการสอบวิชาเฉพาะตำแหน่ง ควรอ่านให้มากๆ ศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาตำแหน่งให้ดี ข้อสอบจะเป็นระเบียบข้อกฏหมาย วิชากฎหมายก็อ่านฉบับเต็ม ท่องให้ได้ทุกมาตราอย่าไปอ่านเเต่ช้อย มันไม่ตรงนัก ฝึกลองวิเคราะห์ข้อสอบ หาปากกาเน้นข้อความมาขีดเพื่อจำง่าย แล้วสรุป หรือท่องให้ได้ ฝึกทำข้อสอบเก่า โดยเฉพาะในเรื่องที่เป็นจุดบกพร่องของเราทำซ้ำๆจนเข้าใจ
ควรอ่านเนื้อหาที่จะออกสอบในประกาศ และดูเวลาว่าเหลือเวลากี่วันที่จะต้องสอบ และนำเนื้อหาการสอบมาทำความเข้าใจว่าแต่ละเรื่องเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง ค้นหาเนื้อหาแต่ละเนื้อหารวบรวมทุกสิ่งอย่างที่คิดว่าเกี่ยวข้องและจำเป็น แล้วแยกใส่ในแฟ้มงานเป็นหมวดๆ เมื่อได้เนื้อหาครบหมดแล้ววิเคราะห์ว่าแต่ละเนื้อหาใช้เวลาในการอ่านเท่าไหร่ แล้วนำผลรวมออกมาเทียบกับเวลาที่เรามีในการเตรียมตัวสอบ จากนั้นนำเวลามาถัวเฉลี่ย ให้ความหนักเบากับวิชาที่จะสอบ ว่าวิชาไหนเรื่องไหนใช้เวลาเท่าไหร่ แล้วจัดทำตารางการอ่านหนังสือเป็นช่วงเวลาอาจจะแบ่งเป็นต่อสัปดาห์ หรือ 2 สัปดาห์ แล้วนำมาแปะไว้ที่ไหนก็ได้ที่เราสังเกตเห็นได้ชัด ในการอ่านแต่ละวิชาควรอ่านอย่างน้อย 2 รอบ รอบแรกเป็นการอ่านรวมๆ เพื่อหาว่าจุดไหนสำคัญบ้างให้นำปากกาเน้นคำ Mark ไว้ รอบที่สอง จดบันทึกสิ่งที่เรา Mark ไว้ สรุปเป็นภาษาของเราเองเพื่อเอาไว้อ่านก่อนสอบ 1 วัน และก่อนนอนนั่งสมาธิอย่างน้อย 5 นาที สวดมนต์ด้วยก็ยิ่งดี
นอกจากนี้ควรศึกษา
เส้นทางการสอบ ห้องสอบให้ดี พอถึงสนามสอบให้ตรวจดูห้องสอบหรือนั่งหน้าห้องสอบรอเลยก็ได้ เพื่อป้องกันความกังวลใจ หรือเรื่องรบกวนใจ เมื่อใกล้จะสอบควรงดการพูดจาเรื่อยเปื่อย คุยสนุกเรื่องอื่น กับเพื่อนที่ร่วมสอบ หรือใครก็ตามอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันสมองไปจำอย่างอื่น ให้คิดแต่เรื่องสอบอย่างเดียว
นอกจากนี้ควรหาความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานด้วย เช่น ประวัติ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ผู้บริหาร หน้าที่ความรับผิดชอบ โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
นอกจากวิชาการที่ต้องใช้ตามวุฒิที่จะรับแล้ว ยังต้องทำการบ้านด้วยว่าหน่วยงานนั้นมีการแบ่งองค์กรยังไง ผู้บริหารเป็นใครในแต่ละระดับ แต่ละส่วนขององค์กรทำงานอะไร มีหน้าที่อะไร ตำแหน่งที่เราจะบรรจุมีหน้าที่อะไร ไปที่หน่วยงานนั้น ถ้ามีห้องสมุดหรือเอกสารเผยแพร่ควรไปอ่านให้หมด ปัจจุบันมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือตำแหน่งที่จะทำหรือไม่ อย่างไร
ส่วนในการสอบสัมภาษณ์
เป็นการสอบด้วยการสนทนาหรือพูดคุยกัน ดังนั้นผู้เข้าสอบควรจะทบทวนเตรียมความรู้หรือข้อมูลในส่วนที่เป็นวิชาการหรือเนื้อหาต่าง ๆ ที่ได้เตรียมไว้แล้วในการเตรียมตัวเข้าสอบข้อเขียน ซึ่งอาจจะใช้เวลาครั้งละ 10 – 30 นาที แล้วแต่กรณี หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า การเตรียมตัวเข้ารับการสอบสัมภาษณ์จำเป็นต้องทบทวนความรู้ และข้อมูลบางประการมิใช่เข้าสอบโดยมิได้ทบทวนความรู้หรือข้อมูลอะไรเลย การสัมภาษณ์เป็นการพูดคุยกัน ไม่ต้องเครียด ต้องแสดงความจริงใจ อย่าเสแสร้ง กรรมการจะดูกริยา ลักษณะการพูดจาเป็นว่าเป็นอย่างไรบ้าง เนียมไม่เนียม สำคัญจุดแรกที่กรรมการจะพิจารณาคือการแต่งกายของผู้เข้าสัมภาษณ์ ดูดี สะอาด ผมรัดผูกให้สวยงาม แต่งหน้าแต่พองาม พูดให้เป็นธรรมชาติที่สุด อย่าพาใครไปเป็นเพื่อน
ในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ
1. ให้แนะนำตัวเอง
2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ
3. เล่าถึงประสบการณ์ในการทำงาน
หลักสูตรที่ใช้ในการสอบเป็นพนักงานราชการ/ลูกจ้าง ศาลรัฐธรรมนูญ
มีดังนี้คือ
การประเมินครั้งที่ 1 โดยวิธีสอบข้อเขียน (100 คะแนน)
- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ความรู้เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญ และสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ (50 คะแนน)
- ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ (50 คะแนน)
การประเมินครั้งที่ 2 โดยการสอบสัมภาษณ์ (100 คะแนน)
พิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางาน ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับตำแหน่ง การมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับผู้อื่น ท่วงที วาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
หลักสูตรที่ใช้ในการสอบเป็นพนักงานราชการ/ลูกจ้าง ศาลฎีกา
มีดังนี้คือ
1. ภาคคาวมรู้ความสามารถทั่วไป (50 คะแนน)
- ทดสอบความรู้ความสามารถโดยการสอบข้อเขียน (ความรู้เกี่ยวกับพรบ.ระเบียบราชการบริหารศาลยุติธรรม พ.ศ.2543 และระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 )
2. ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง (50 คะแนน)
3. ภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง (ภาค ค ) 100 คะแนน
พิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางาน ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับตำแหน่ง การมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับผู้อื่น ท่วงที วาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
วิชาที่ใช้สอบเป็นข้าราชการของศาลยุติธรรม มีดังนี้คือ
1. ความรู้ทั่วไป (ภาค ก ) 200 คะแนน (เฉพาะผู้ที่ไม่ได้สอบผ่านภาค ก ของ ก.พ.)
2. ความรู้เฉพาะตำแหน่ง (ภาค ข ) 200 คะแนน
3. ความเหมาะสมกับตำแหน่ง การสอบสัมภาษณ์ ( 100 คะแนน ) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์หรือวิธีอื่นเพื่อประเมินความเหมาะสมกับตําแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางานประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติการปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จําเป็นสําหรับตําแหน่ง
รายละเอียดวิชาที่สอบ
ช่างภาพ ศาลรัฐธรรมนูญ
1 ความรู้เกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ
2 แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป
3 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม
4 การถ่ายภาพ การถ่ายวีดีทัศน์ เครื่องมือ อุปกรณ์สมัยใหม่
5 การผลิตสื่อวีดิทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์
6 ความรู้เกี่ยวกับหลักการถ่ายภาพ
7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
8 ความหมายและความสำคัญของสื่อสิ่งพิมพ์
9 แนวข้อสอบความเข้าใจในการถ่ายภาพเบื้องต้น
10 การเตรียมตัวสอบภาค ค. และสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานศาลรัฐธรรมนูญ
ตำแหน่งที่สอบ ศาลรัฐธรรมนูญ
ช่างภาพ
ธุรการ
นักจัดการงานทั่วไป
นักทรัพยากรบุคคล
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
นิติกร
รายละเอียดวิชาที่สอบ ศาลฎีกา
1 นโยบายประธานศาลฎีกาและแผนยุทธศาสตร์ศาลยุติธรรม
2 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม 2543
3 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ.2543 และแก้ไขเพิ่มเติม
4 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม
5 ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย
6 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
7 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
8 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
9 ความรู้เรื่องการวินิจฉัยข้อกฎหมาย
10 ประมวลกฎหมายอาญา
11 แนวข้อสอบลักษณะสำคัญของกฎหมายเบื้องต้น
คำแนะนำในการสอบศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา ศาลอาญา ศาลอุทธรณ์
ในการสอบเข้ากรม ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา ศาลอาญา ศาลอุทธรณ์
การสอบบรรจุเข้ารับราชการผู้เข้าสอบจะต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) ของสำนักงาน ก.พ. ก่อน แต่ถ้าสอบเป็นลูกจ้าง/พนักงานราชการ ไม่ต้องใช้ใบสอบผ่านภาค ก ของ ก.พ. การสอบเข้าศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา ศาลอาญา ศาลอุทธรณ์ จะมีการประเมินสมรรถนะอยู่ 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 โดยการสอบข้อเขียน ครั้งที่ 2 โดยการสัมภาษณ์ และจะต้องผ่านการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 1 โดยวิธีการสอบข้อเขียนก่อนและเมื่อผ่านการประเมินสรรถนะครั้งที่ 1 แล้ว จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะครั้งที่ 2 โดยวิธีสอบสัมภาษณ์ ทั้งนี้จะต้องได้คะแนนสอบข้อเขียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60
การเตรียมตัวสอบ
ในส่วนการสอบวิชาเฉพาะตำแหน่ง ควรอ่านให้มากๆ ศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาตำแหน่งให้ดี ข้อสอบจะเป็นระเบียบข้อกฏหมาย วิชากฎหมายก็อ่านฉบับเต็ม ท่องให้ได้ทุกมาตราอย่าไปอ่านเเต่ช้อย มันไม่ตรงนัก ฝึกลองวิเคราะห์ข้อสอบ หาปากกาเน้นข้อความมาขีดเพื่อจำง่าย แล้วสรุป หรือท่องให้ได้ ฝึกทำข้อสอบเก่า โดยเฉพาะในเรื่องที่เป็นจุดบกพร่องของเราทำซ้ำๆจนเข้าใจ
ควรอ่านเนื้อหาที่จะออกสอบในประกาศ และดูเวลาว่าเหลือเวลากี่วันที่จะต้องสอบ และนำเนื้อหาการสอบมาทำความเข้าใจว่าแต่ละเรื่องเกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง ค้นหาเนื้อหาแต่ละเนื้อหารวบรวมทุกสิ่งอย่างที่คิดว่าเกี่ยวข้องและจำเป็น แล้วแยกใส่ในแฟ้มงานเป็นหมวดๆ เมื่อได้เนื้อหาครบหมดแล้ววิเคราะห์ว่าแต่ละเนื้อหาใช้เวลาในการอ่านเท่าไหร่ แล้วนำผลรวมออกมาเทียบกับเวลาที่เรามีในการเตรียมตัวสอบ จากนั้นนำเวลามาถัวเฉลี่ย ให้ความหนักเบากับวิชาที่จะสอบ ว่าวิชาไหนเรื่องไหนใช้เวลาเท่าไหร่ แล้วจัดทำตารางการอ่านหนังสือเป็นช่วงเวลาอาจจะแบ่งเป็นต่อสัปดาห์ หรือ 2 สัปดาห์ แล้วนำมาแปะไว้ที่ไหนก็ได้ที่เราสังเกตเห็นได้ชัด ในการอ่านแต่ละวิชาควรอ่านอย่างน้อย 2 รอบ รอบแรกเป็นการอ่านรวมๆ เพื่อหาว่าจุดไหนสำคัญบ้างให้นำปากกาเน้นคำ Mark ไว้ รอบที่สอง จดบันทึกสิ่งที่เรา Mark ไว้ สรุปเป็นภาษาของเราเองเพื่อเอาไว้อ่านก่อนสอบ 1 วัน และก่อนนอนนั่งสมาธิอย่างน้อย 5 นาที สวดมนต์ด้วยก็ยิ่งดี
นอกจากนี้ควรศึกษา
เส้นทางการสอบ ห้องสอบให้ดี พอถึงสนามสอบให้ตรวจดูห้องสอบหรือนั่งหน้าห้องสอบรอเลยก็ได้ เพื่อป้องกันความกังวลใจ หรือเรื่องรบกวนใจ เมื่อใกล้จะสอบควรงดการพูดจาเรื่อยเปื่อย คุยสนุกเรื่องอื่น กับเพื่อนที่ร่วมสอบ หรือใครก็ตามอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อป้องกันสมองไปจำอย่างอื่น ให้คิดแต่เรื่องสอบอย่างเดียว
นอกจากนี้ควรหาความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานด้วย เช่น ประวัติ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ผู้บริหาร หน้าที่ความรับผิดชอบ โดยการหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
นอกจากวิชาการที่ต้องใช้ตามวุฒิที่จะรับแล้ว ยังต้องทำการบ้านด้วยว่าหน่วยงานนั้นมีการแบ่งองค์กรยังไง ผู้บริหารเป็นใครในแต่ละระดับ แต่ละส่วนขององค์กรทำงานอะไร มีหน้าที่อะไร ตำแหน่งที่เราจะบรรจุมีหน้าที่อะไร ไปที่หน่วยงานนั้น ถ้ามีห้องสมุดหรือเอกสารเผยแพร่ควรไปอ่านให้หมด ปัจจุบันมีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือตำแหน่งที่จะทำหรือไม่ อย่างไร
ส่วนในการสอบสัมภาษณ์
เป็นการสอบด้วยการสนทนาหรือพูดคุยกัน ดังนั้นผู้เข้าสอบควรจะทบทวนเตรียมความรู้หรือข้อมูลในส่วนที่เป็นวิชาการหรือเนื้อหาต่าง ๆ ที่ได้เตรียมไว้แล้วในการเตรียมตัวเข้าสอบข้อเขียน ซึ่งอาจจะใช้เวลาครั้งละ 10 – 30 นาที แล้วแต่กรณี หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า การเตรียมตัวเข้ารับการสอบสัมภาษณ์จำเป็นต้องทบทวนความรู้ และข้อมูลบางประการมิใช่เข้าสอบโดยมิได้ทบทวนความรู้หรือข้อมูลอะไรเลย การสัมภาษณ์เป็นการพูดคุยกัน ไม่ต้องเครียด ต้องแสดงความจริงใจ อย่าเสแสร้ง กรรมการจะดูกริยา ลักษณะการพูดจาเป็นว่าเป็นอย่างไรบ้าง เนียมไม่เนียม สำคัญจุดแรกที่กรรมการจะพิจารณาคือการแต่งกายของผู้เข้าสัมภาษณ์ ดูดี สะอาด ผมรัดผูกให้สวยงาม แต่งหน้าแต่พองาม พูดให้เป็นธรรมชาติที่สุด อย่าพาใครไปเป็นเพื่อน
ในการสัมภาษณ์ควรทำใจให้สบาย ตอบคำถามแบบธรรมขาติ เป็นตัวของตัวเอง โดยส่วนใหญ่กรรมการจะถามคำถามต่อไปนี้ คือ
1. ให้แนะนำตัวเอง
2.เหตุผลในการตัดสินใจเข้ารับราชการ
3. เล่าถึงประสบการณ์ในการทำงาน
หลักสูตรที่ใช้ในการสอบเป็นพนักงานราชการ/ลูกจ้าง ศาลรัฐธรรมนูญ
มีดังนี้คือ
การประเมินครั้งที่ 1 โดยวิธีสอบข้อเขียน (100 คะแนน)
- ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ความรู้เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญ และสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ (50 คะแนน)
- ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ (50 คะแนน)
การประเมินครั้งที่ 2 โดยการสอบสัมภาษณ์ (100 คะแนน)
พิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางาน ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับตำแหน่ง การมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับผู้อื่น ท่วงที วาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
หลักสูตรที่ใช้ในการสอบเป็นพนักงานราชการ/ลูกจ้าง ศาลฎีกา
มีดังนี้คือ
1. ภาคคาวมรู้ความสามารถทั่วไป (50 คะแนน)
- ทดสอบความรู้ความสามารถโดยการสอบข้อเขียน (ความรู้เกี่ยวกับพรบ.ระเบียบราชการบริหารศาลยุติธรรม พ.ศ.2543 และระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 )
2. ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง (50 คะแนน)
3. ภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง (ภาค ค ) 100 คะแนน
พิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางาน ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับตำแหน่ง การมีมนุษย์สัมพันธ์ ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับผู้อื่น ท่วงที วาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
วิชาที่ใช้สอบเป็นข้าราชการของศาลยุติธรรม มีดังนี้คือ
1. ความรู้ทั่วไป (ภาค ก ) 200 คะแนน (เฉพาะผู้ที่ไม่ได้สอบผ่านภาค ก ของ ก.พ.)
2. ความรู้เฉพาะตำแหน่ง (ภาค ข ) 200 คะแนน
3. ความเหมาะสมกับตำแหน่ง การสอบสัมภาษณ์ ( 100 คะแนน ) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตําแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์หรือวิธีอื่นเพื่อประเมินความเหมาะสมกับตําแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทํางานประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติการปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคมและสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขันเพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จําเป็นสําหรับตําแหน่ง
รายละเอียดวิชาที่สอบ
ช่างภาพ ศาลรัฐธรรมนูญ
1 ความรู้เกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ
2 แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป
3 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม
4 การถ่ายภาพ การถ่ายวีดีทัศน์ เครื่องมือ อุปกรณ์สมัยใหม่
5 การผลิตสื่อวีดิทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์
6 ความรู้เกี่ยวกับหลักการถ่ายภาพ
7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
8 ความหมายและความสำคัญของสื่อสิ่งพิมพ์
9 แนวข้อสอบความเข้าใจในการถ่ายภาพเบื้องต้น
10 การเตรียมตัวสอบภาค ค. และสอบสัมภาษณ์เข้าทำงานศาลรัฐธรรมนูญ
ตำแหน่งที่สอบ ศาลรัฐธรรมนูญ
ช่างภาพ
ธุรการ
นักจัดการงานทั่วไป
นักทรัพยากรบุคคล
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
นิติกร
รายละเอียดวิชาที่สอบ ศาลฎีกา
1 นโยบายประธานศาลฎีกาและแผนยุทธศาสตร์ศาลยุติธรรม
2 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม 2543
3 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ.2543 และแก้ไขเพิ่มเติม
4 แนวข้อสอบความรู้เหตุการณ์ปัจจุบัน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม
5 ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย
6 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
7 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
8 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
9 ความรู้เรื่องการวินิจฉัยข้อกฎหมาย
10 ประมวลกฎหมายอาญา
11 แนวข้อสอบลักษณะสำคัญของกฎหมายเบื้องต้น
ไฟล์ราคา 389 เพิ่ม 100 บาท แถมฟรี ชุดติวสอบ ภาค ก แบบเข้าใจง่าย
หนังสือราคา 789 บวก แถมฟรี MP3บรรยาย และโปรแกรมฝึกทำข้อสอบ ภาค ก
>รวบรวมจากผู้สอบติดอันดับต้นๆ เจาะข้อสอบเข้างานราชการ <<
>> (Book) สรุปสาระสำคัญ อ่านกระชับเวลา ไม่สับสน เข้าใจง่าย ออกชัวร์ๆ แม่นยำ <<
>> (New) รวบรวมจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ+เจาะลึกตรงประเด็น เก็งข้อสอบ <<
>> (Pdf) แนวข้อสอบพร้อมเฉลย+เนื้อหาสรุปเรียบร้อย ประหยัดเวลาในการอ่าน <<