เขตปทุมวันเนื้อย่างชั่งกิโล โทร 095-6525186
หมวดหมู่สินค้า: rtd85 หมุกระทะ
26 เมษายน 2565
ผู้ชม 138 ผู้ชม
มีเงินแต่ไม่รู้จะขายอะไรดี? มองหาแฟรนไชส์ไม่ซ้ำใคร เริ่มง่าย น่าลงทุน กำไรสูงรูปแบบการทำธุรกิจ เปิดร้าน ขายตามตลาดนัด สนใจแฟรนไชส์ หมูกะทะชั่งกิโล และหมูกะทะวิ่งส่งตามบ้าน แฟรนไชส์จัดหาอุปกรณ์ทุกอย่างให้ และให้คำปรึกษา รายละเอียดแฟรนไชส์หมูกระทะชั่งกิโล
เขตปทุมวันเนื้อย่างชั่งกิโล
แฟรนไชส์เขตปทุมวัน
เขตปทุมวันหมูกระทะชั่งกิโลลงทุน
เนื้อย่างเกาหลีเขตปทุมวัน
แฟรนไชส์หมูกระทะชั่งกิโลเขตปทุมวัน
เขตปทุมวันหมูกระทะตักเอง
เขตปทุมวันบุฟเฟ่ต์หมูกระทะตักเอง
เขตปทุมวันแฟรนไชส์หมูกะทะชั่งกิโล
โรงงานขายส่งวัตถุดิบหมูกระทะเขตปทุมวัน
เขตปทุมวันหมูกะทะชั่งกิโลตลาดนัดใกล้ฉัน
เขตปทุมวันหมูกระทะชั่งกิโล pantip
เขตปทุมวันขายหมูกระทะชั่งกิโล ลงทุนเท่าไร
เขตปทุมวันหมูกะทะชั่งกิโลใกล้ฉัน
เขตปทุมวันขายส่งวัตถุดิบหมูกะทะมหาชัย
รูปแบบจ๊วด100 แฟรนไชส์หมูกระทะ
1. เปิดร้านหมูกระทะชั่งกิโลแบบมีหน้าร้าน สำหรับคนที่มีทำเล ในย่านชุมชน ใกล้ตลาด
2. หมูกะทะชั่งกิโลตลาดนัด แบบขายตามตลาดนัด สำหรับอยากมีธุรกิจของตัวเอง ใช้ทุนใหญ่
3. หมูกะทะวิ่งส่งตามบ้าน สำหรับท่านที่ต้องการหารายได้เสริมหลังเลิกงาน วิ่งส่งในชุมชน
เทคนิคเปิดร้านหมูกระทะ (แบบไม่ต้องซื้อแฟรนไชส์)
ถ้าถามหาร้านยอดฮิตชนิดขวัญใจวัยรุ่น วัยเรียน ร้านที่เหมาะกับการเลี้ยงสังสรรค์หมู่ญาติพี่น้อง เพื่อนฝูง คำตอบส่วนใหญ่บอกว่าให้ไป “ ร้านหมูกระทะ ” หลายคนบอกว่าเปิดร้านหมูกระทะไม่ใช่เรื่องง่ายๆ กว่าที่ร้านหมูกระทะสักแห่งจะประสบความสำเร็จได้มีสูตรเด็ดเคล็ดลับที่ใครอยากลงทุนเปิดร้านควรศึกษาให้เข้าใจ
เปิดร้านหมูกระทะ 1 ร้านต้องเตรียมอุปกรณ์อะไรบ้าง
นิยามคำว่าร้านหมูกระทะ สิ่งที่ต้องเตรียมคือวัตถุดิบ เช่น เนื้อหมู เนื้อหมู หมูสามชั้น คอหมูหมักงา ไก่ ตับหมู เซี่ยงจี๊ ปลาหมึกสด ปลาหมึกหลอด ลูกชิ้นหมู ลูกชิ้นปลา ลูกชิ้นไก่ เนื้อปลาสด ฯลฯ ซึ่งต้นทุนของร้านหมูกระทะจะแปรผันกับขนาดของร้าน คำว่าร้านขนาดเล็กประมาณ 10 โต๊ะ , ร้านขนาดกลางประมาณ 20-30 โต๊ะ , ร้านขนาดใหญ่ประมาณ 30 โต๊ะขึ้นไป งบการลงทุนในส่วนของร้านแตกต่างกันไปตามการตกแต่ง
ทีนี้ลองมาดูอุปกรณ์เบื้องต้นและราคาอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องมี เช่น
กระทะย่าง ราคาประมาณ 160 บาท/ใบ
เตาอั้งโล่หมูกระทะ ราคาประมาณ 210 บาท/ใบ
ที่คีบถ่าน ราคาประมาณ 15 บาท/ชิ้น
ไม้คีบยกเตาถ่าน ราคาประมาณ 105 บาท/ชิ้น
ตะแกรงรองเตา ราคาประมาณ 65 บาท/ชิ้น โ
ต๊ะ เก้าอี้-เตา กระทะ (แบบสั่งทำ) ราคาตามแต่แบบที่ต้องการ
โต๊ะยาวตั้งอาหาร
จาน ช้อน ถ้วยน้ำจิ้ม
ตะกร้าใส่ผัก ถาดลึกใส่อาหาร
โถใส่น้ำจิ้ม ตะเกียบ
หม้อขนาดใหญ่สำหรับใส่น้ำจิ้ม และต้มน้ำซุป
เปิดร้านหมูกระทะ 1 ร้านลงทุนเท่าไหร่?
เราคำนวณจากการเปิดร้านขนาดเล็กไม่เกิน 10 โต๊ะคนสนใจลงทุนต้องเตรียมอุปกรณ์เบื้องต้นตามที่กล่าวไปซึ่งเงินทุนสำหรับค่าอุปกรณ์ประมาณ 30,000 – 40,000 บาท (ตามคุณภาพสินค้า) เป็นต้นทุนที่ยังไม่รวมค่าเช่า ค่าปลูกสร้างร้าน – ที่ดิน และควรมีทุนหมุนเวียนประมาณ 7,000 – 10,000 บาท/วัน โดยควรจะมีการจ้างแรงงานประมาณ 3 – 4 คนหากเป็นร้านขนาดเล็ก นอกจากนี้สิ่งสำคัญที่ต้องมีคือวัตถุดิบที่หลากหลายและวัตถุดิบนี่เองที่จะเป็นตัวแปรสำคัญของกำไรร้านหมูกระทะ ต้นทุนวัตถุดิบเฉลี่ยต่อวันในแต่ละร้านนั้นไม่เท่ากัน บางร้านมีวัตถุดิบเดิมเหลือมากก็ซื้อเติมน้อยต้นทุนในวันนั้นก็จะน้อย ซึ่งหลักการที่ทำให้ร้านหมูกระทะมีกำไรควรให้ต้นทุนอาหารควรอยู่ที่ 25-30% และต้นทุนด้านแรงงานควรอยู่ที่ 15-20% นอกจากนี้ยังมีเรื่องต้นทุนคงที่ได้แก่ ค่าเช่า เงินเดือนพนักงาน เฉลี่ยแล้วควรอยู่ที่ 15-20% รวมถึงต้นทุนผันแปร เช่นค่าแก๊ส ค่าน้ำ ค่าไฟ จิปาถะในแต่ละเดือนควรอยู่ที่ 10-15% ซึ่งร้านหมูกระทะหลายร้านนิยมให้บริการแบบ “บุฟเฟ่ต์” ก็ยิ่งต้องระวังเรื่อง “ต้นทุนอาหาร” และต้องควบคุมในเรื่องวัตถุดิบเหล่านี้ให้ดี เพราะคือตัวชี้วัดกำไรของร้านค้า และหากเป็นบุฟเฟ่ต์ก็ต้องมีเมนูอาหารที่หลากหลาย เช่น ข้าวผัด ส้มตำ ยำต่างๆ ฯลฯ ต้นทุนค่าอาหารในแต่ละวันก็จะสูงขึ้นได้อีกด้วย เราจึงควรคำนวณได้ว่าปริมาณลูกค้าในแต่ละวันที่แท้จริงของเราอยู่ที่เท่าไหร่จะได้ควบคุมต้นทุนวัตถุดิบได้อย่างมีคุณภาพ
รู้ต้นทุนเบื้องต้นแล้วมีวิธีขายอย่างไรร้านหมูกระทะมีกำไร?
ยอดขายในแต่ละวันก็ขึ้นอยู่กับขนาดร้านเป็นสำคัญ การตั้งเป้ายอดขายในแต่ละวันขั้นต่ำต้องประมาณ 10,000 บาท ซึ่งยอดขายนี้ หากนำมาหักลบกับต้นทุนเมื่อคิดเปอร์เซ็นต์จะพบว่า ยอดขาย 10,0000
ต้นทุนอาหารควรอยู่ที่ 2,500 – 3,0000 บาท
ต้นทุนแรงงานควรอยู่ที่ 1,500 – 2,500 บาท
ต้นทุนคงที่ ควรอยู่ที่ 1,500 – 2,500 บาท
ต้นทุนผันแปร ควรอยู่ที่ 1,000 – 1,500 บาท
ซึ่งการตั้งเป้า “ยอดขาย” จะทำให้ประมาณการได้ว่าเราจะมีกำไรต่อวันเท่าไหร่ ซึ่งการจะฟันธงว่าให้กำหนดราคาขายต่อหัวของลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการควรเป็นเท่าไหร่ต้องคำนึงถึง ค่าเช่าสถานที่ ค่าตกแต่งร้าน ค่าการตลาด ค่าราคาวัตถุดิบในแต่ละวัน รวมถึงคู่แข่งที่อยู่โดยรอบ สิ่งเหล่านี้ผู้ลงทุนต้องอาศัยความชำนาญในการหาเทคนิคลดต้นทุนตัวเองให้ได้มากที่สุดเพื่อโอกาสในการมีกำไรที่มากขึ้น
7 แนวทางทำร้านหมูกระทะให้คนฮิตติดใจ!
1. ทำให้ลูกค้ารู้สึกคุ้มค่า
ลูกค้าส่วนใหญ่อาจไม่ได้สนใจว่าราคาของเราจะถูกหรือแพงแต่เขาสนใจแค่ว่าคุ้มหรือไม่คุ้มมากกว่า ฉะนั้นไม่ว่าเราจะตั้งราคาต่อคนต่อหัวเท่าไหร่ จะ 99 บาท 299 บาท หรือ 399 บาท จงมั่นใจว่าทุกเมนูที่เสิร์ฟให้ลูกค้า จะทำให้เขารู้สึกคุ้มค่ากับเงินที่เสียไป
2. บริหารจัดการต้นทุนให้ดี
เราต้องรู้ก่อนว่าในแต่ละเมนูมีต้นทุนเท่าไหร่ มีส่วนประกอบอะไรบ้าง อย่างละกี่กรัม เมนูไหนออกมากหรือออกน้อย การรู้ความต้องการของลูกค้าที่สัมพันธ์กับเมนูสามารถลด food costs ได้
3. บริหารของเสียให้เหลือน้อยที่สุด
หนึ่งในรูปแบบที่น่าสนใจคือลดขนาดของอาหารให้น้อยลง ก็อาจลดโอกาสที่ลูกค้าจะกินเหลือให้น้อยลงได้ เนื่องจากพฤติกรรมของคนกินมักชอบลองอะไรหลายๆ อย่าง การที่แต่ละเมนูมีขนาดไม่ใหญ่นัก จะทำให้ลูกค้ามีโอกาสลองเมนูอื่นๆ มากขึ้น
4. คิดให้ดีก่อนทำโปรโมชั่น
โดยเฉพาะพวกโปรลดราคา หรือมา 3 จ่าย 2 อะไรพวกนี้แม้จะดึงดูดลูกค้าได้แต่โอกาสเสี่ยงเจ๊งก็มีสูง วิธิที่ดีที่สุดคือเราต้องรู้ตัวเองว่าขายอะไรและขายใคร โปรโมชั่นอาจทำให้ได้ลูกค้าใหม่แต่ก็อาจเสียฐานลูกค้าเก่าได้เช่นกัน ดังนั้นโปรโมชั่นจึงต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วนและไม่ควรมีบ่อยมากจนเกินไป
5. ใส่ใจความสะอาดของร้านและอาหารให้ดี
ร้านหมูกระทะส่วนใหญ่เป็นแบบบุฟเฟ่ต์ คือ ร้านอาหารแนวบริการตัวเอง จุดอ่อนสำคัญที่ไม่ควรมองข้ามคือเรื่องของความสะอาดไม่ว่าจะเป็นตัวสถานที่ หรืออาหารทั้งอาหารสดและปรุงสำเร็จมันมีกรณีเกิดขึ้นมากมายเกี่ยวกับการไม่สนใจเรื่องความสะอาดและท้ายที่สุดก็จบไม่สวยแน่ๆ
6. เตรียมพร้อมรับมือกับปัญหาจากลูกค้า
สิ่งที่ต้องเจอแน่ๆ คือปัญหาจากลูกค้า เพราะแต่ละคนที่มาใช้บริการมีความคิดและนิสัยที่แตกต่าง ลูกค้าบางคนก็มีกลโกงร้านค้า เช่น มากิน 3 คน แต่ตอนจ่ายบอกว่ามา 2 คน หรือบางคนกินเหลือกินทิ้ง และก็ไม่ยอมจ่ายค่าปรับให้กับร้านตามกติตาที่กำหนด และอีกหลากหลายรูปแบบปัญหาที่คนเปิดร้านหมกระทะต้องเจอ แต่ไม่ว่าจะเจอเหตุการณ์แบบไหนอย่างไรในฐานะงานบริการเราต้องแก้ปัญหาอย่างใจเย็น ซึ่งการอารมณ์ร้อนไปกับลูกค้าบางคนอาจทำให้ร้านของเราเสียชื่อเสียงได้ยิ่งในยุคโซเชี่ยลแบบนี้ต้องระวังให้มาก
7. ปรับปรุงและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
การที่ร้านหมูกระทะเป็นการลงทุนยอดฮิตเราย่อมหนีไม่พ้นคู่แข่ง สิ่งสำคัญคือเราต้องพัฒนาร้านค้า พัฒนาการบริการ พัฒนาสินค้า เช่น มีเมนูใหม่ๆ บริการใหม่ๆ โปรโมชั่นใหม่ๆ และมีการตลาดยุคใหม่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเปิดร้านให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย
เทคนิคเปิดร้านหมูกระทะ (แบบไม่ต้องซื้อแฟรนไชส์)
ถ้าถามหาร้านยอดฮิตชนิดขวัญใจวัยรุ่น วัยเรียน ร้านที่เหมาะกับการเลี้ยงสังสรรค์หมู่ญาติพี่น้อง เพื่อนฝูง คำตอบส่วนใหญ่บอกว่าให้ไป “ ร้านหมูกระทะ ” หลายคนบอกว่าเปิดร้านหมูกระทะไม่ใช่เรื่องง่ายๆ กว่าที่ร้านหมูกระทะสักแห่งจะประสบความสำเร็จได้มีสูตรเด็ดเคล็ดลับที่ใครอยากลงทุนเปิดร้านควรศึกษาให้เข้าใจ
เปิดร้านหมูกระทะ 1 ร้านต้องเตรียมอุปกรณ์อะไรบ้าง
นิยามคำว่าร้านหมูกระทะ สิ่งที่ต้องเตรียมคือวัตถุดิบ เช่น เนื้อหมู เนื้อหมู หมูสามชั้น คอหมูหมักงา ไก่ ตับหมู เซี่ยงจี๊ ปลาหมึกสด ปลาหมึกหลอด ลูกชิ้นหมู ลูกชิ้นปลา ลูกชิ้นไก่ เนื้อปลาสด ฯลฯ ซึ่งต้นทุนของร้านหมูกระทะจะแปรผันกับขนาดของร้าน คำว่าร้านขนาดเล็กประมาณ 10 โต๊ะ , ร้านขนาดกลางประมาณ 20-30 โต๊ะ , ร้านขนาดใหญ่ประมาณ 30 โต๊ะขึ้นไป งบการลงทุนในส่วนของร้านแตกต่างกันไปตามการตกแต่ง
ทีนี้ลองมาดูอุปกรณ์เบื้องต้นและราคาอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องมี เช่น
กระทะย่าง ราคาประมาณ 160 บาท/ใบ
เตาอั้งโล่หมูกระทะ ราคาประมาณ 210 บาท/ใบ
ที่คีบถ่าน ราคาประมาณ 15 บาท/ชิ้น
ไม้คีบยกเตาถ่าน ราคาประมาณ 105 บาท/ชิ้น
ตะแกรงรองเตา ราคาประมาณ 65 บาท/ชิ้น โ
ต๊ะ เก้าอี้-เตา กระทะ (แบบสั่งทำ) ราคาตามแต่แบบที่ต้องการ
โต๊ะยาวตั้งอาหาร
จาน ช้อน ถ้วยน้ำจิ้ม
ตะกร้าใส่ผัก ถาดลึกใส่อาหาร
โถใส่น้ำจิ้ม ตะเกียบ
หม้อขนาดใหญ่สำหรับใส่น้ำจิ้ม และต้มน้ำซุป
เปิดร้านหมูกระทะ 1 ร้านลงทุนเท่าไหร่?
เราคำนวณจากการเปิดร้านขนาดเล็กไม่เกิน 10 โต๊ะคนสนใจลงทุนต้องเตรียมอุปกรณ์เบื้องต้นตามที่กล่าวไปซึ่งเงินทุนสำหรับค่าอุปกรณ์ประมาณ 30,000 – 40,000 บาท (ตามคุณภาพสินค้า) เป็นต้นทุนที่ยังไม่รวมค่าเช่า ค่าปลูกสร้างร้าน – ที่ดิน และควรมีทุนหมุนเวียนประมาณ 7,000 – 10,000 บาท/วัน โดยควรจะมีการจ้างแรงงานประมาณ 3 – 4 คนหากเป็นร้านขนาดเล็ก นอกจากนี้สิ่งสำคัญที่ต้องมีคือวัตถุดิบที่หลากหลายและวัตถุดิบนี่เองที่จะเป็นตัวแปรสำคัญของกำไรร้านหมูกระทะ ต้นทุนวัตถุดิบเฉลี่ยต่อวันในแต่ละร้านนั้นไม่เท่ากัน บางร้านมีวัตถุดิบเดิมเหลือมากก็ซื้อเติมน้อยต้นทุนในวันนั้นก็จะน้อย ซึ่งหลักการที่ทำให้ร้านหมูกระทะมีกำไรควรให้ต้นทุนอาหารควรอยู่ที่ 25-30% และต้นทุนด้านแรงงานควรอยู่ที่ 15-20% นอกจากนี้ยังมีเรื่องต้นทุนคงที่ได้แก่ ค่าเช่า เงินเดือนพนักงาน เฉลี่ยแล้วควรอยู่ที่ 15-20% รวมถึงต้นทุนผันแปร เช่นค่าแก๊ส ค่าน้ำ ค่าไฟ จิปาถะในแต่ละเดือนควรอยู่ที่ 10-15% ซึ่งร้านหมูกระทะหลายร้านนิยมให้บริการแบบ “บุฟเฟ่ต์” ก็ยิ่งต้องระวังเรื่อง “ต้นทุนอาหาร” และต้องควบคุมในเรื่องวัตถุดิบเหล่านี้ให้ดี เพราะคือตัวชี้วัดกำไรของร้านค้า และหากเป็นบุฟเฟ่ต์ก็ต้องมีเมนูอาหารที่หลากหลาย เช่น ข้าวผัด ส้มตำ ยำต่างๆ ฯลฯ ต้นทุนค่าอาหารในแต่ละวันก็จะสูงขึ้นได้อีกด้วย เราจึงควรคำนวณได้ว่าปริมาณลูกค้าในแต่ละวันที่แท้จริงของเราอยู่ที่เท่าไหร่จะได้ควบคุมต้นทุนวัตถุดิบได้อย่างมีคุณภาพ
รู้ต้นทุนเบื้องต้นแล้วมีวิธีขายอย่างไรร้านหมูกระทะมีกำไร?
ยอดขายในแต่ละวันก็ขึ้นอยู่กับขนาดร้านเป็นสำคัญ การตั้งเป้ายอดขายในแต่ละวันขั้นต่ำต้องประมาณ 10,000 บาท ซึ่งยอดขายนี้ หากนำมาหักลบกับต้นทุนเมื่อคิดเปอร์เซ็นต์จะพบว่า ยอดขาย 10,0000
ต้นทุนอาหารควรอยู่ที่ 2,500 – 3,0000 บาท
ต้นทุนแรงงานควรอยู่ที่ 1,500 – 2,500 บาท
ต้นทุนคงที่ ควรอยู่ที่ 1,500 – 2,500 บาท
ต้นทุนผันแปร ควรอยู่ที่ 1,000 – 1,500 บาท
ซึ่งการตั้งเป้า “ยอดขาย” จะทำให้ประมาณการได้ว่าเราจะมีกำไรต่อวันเท่าไหร่ ซึ่งการจะฟันธงว่าให้กำหนดราคาขายต่อหัวของลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการควรเป็นเท่าไหร่ต้องคำนึงถึง ค่าเช่าสถานที่ ค่าตกแต่งร้าน ค่าการตลาด ค่าราคาวัตถุดิบในแต่ละวัน รวมถึงคู่แข่งที่อยู่โดยรอบ สิ่งเหล่านี้ผู้ลงทุนต้องอาศัยความชำนาญในการหาเทคนิคลดต้นทุนตัวเองให้ได้มากที่สุดเพื่อโอกาสในการมีกำไรที่มากขึ้น
7 แนวทางทำร้านหมูกระทะให้คนฮิตติดใจ!
1. ทำให้ลูกค้ารู้สึกคุ้มค่า
ลูกค้าส่วนใหญ่อาจไม่ได้สนใจว่าราคาของเราจะถูกหรือแพงแต่เขาสนใจแค่ว่าคุ้มหรือไม่คุ้มมากกว่า ฉะนั้นไม่ว่าเราจะตั้งราคาต่อคนต่อหัวเท่าไหร่ จะ 99 บาท 299 บาท หรือ 399 บาท จงมั่นใจว่าทุกเมนูที่เสิร์ฟให้ลูกค้า จะทำให้เขารู้สึกคุ้มค่ากับเงินที่เสียไป
2. บริหารจัดการต้นทุนให้ดี
เราต้องรู้ก่อนว่าในแต่ละเมนูมีต้นทุนเท่าไหร่ มีส่วนประกอบอะไรบ้าง อย่างละกี่กรัม เมนูไหนออกมากหรือออกน้อย การรู้ความต้องการของลูกค้าที่สัมพันธ์กับเมนูสามารถลด food costs ได้
3. บริหารของเสียให้เหลือน้อยที่สุด
หนึ่งในรูปแบบที่น่าสนใจคือลดขนาดของอาหารให้น้อยลง ก็อาจลดโอกาสที่ลูกค้าจะกินเหลือให้น้อยลงได้ เนื่องจากพฤติกรรมของคนกินมักชอบลองอะไรหลายๆ อย่าง การที่แต่ละเมนูมีขนาดไม่ใหญ่นัก จะทำให้ลูกค้ามีโอกาสลองเมนูอื่นๆ มากขึ้น
4. คิดให้ดีก่อนทำโปรโมชั่น
โดยเฉพาะพวกโปรลดราคา หรือมา 3 จ่าย 2 อะไรพวกนี้แม้จะดึงดูดลูกค้าได้แต่โอกาสเสี่ยงเจ๊งก็มีสูง วิธิที่ดีที่สุดคือเราต้องรู้ตัวเองว่าขายอะไรและขายใคร โปรโมชั่นอาจทำให้ได้ลูกค้าใหม่แต่ก็อาจเสียฐานลูกค้าเก่าได้เช่นกัน ดังนั้นโปรโมชั่นจึงต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วนและไม่ควรมีบ่อยมากจนเกินไป
5. ใส่ใจความสะอาดของร้านและอาหารให้ดี
ร้านหมูกระทะส่วนใหญ่เป็นแบบบุฟเฟ่ต์ คือ ร้านอาหารแนวบริการตัวเอง จุดอ่อนสำคัญที่ไม่ควรมองข้ามคือเรื่องของความสะอาดไม่ว่าจะเป็นตัวสถานที่ หรืออาหารทั้งอาหารสดและปรุงสำเร็จมันมีกรณีเกิดขึ้นมากมายเกี่ยวกับการไม่สนใจเรื่องความสะอาดและท้ายที่สุดก็จบไม่สวยแน่ๆ
6. เตรียมพร้อมรับมือกับปัญหาจากลูกค้า
สิ่งที่ต้องเจอแน่ๆ คือปัญหาจากลูกค้า เพราะแต่ละคนที่มาใช้บริการมีความคิดและนิสัยที่แตกต่าง ลูกค้าบางคนก็มีกลโกงร้านค้า เช่น มากิน 3 คน แต่ตอนจ่ายบอกว่ามา 2 คน หรือบางคนกินเหลือกินทิ้ง และก็ไม่ยอมจ่ายค่าปรับให้กับร้านตามกติตาที่กำหนด และอีกหลากหลายรูปแบบปัญหาที่คนเปิดร้านหมกระทะต้องเจอ แต่ไม่ว่าจะเจอเหตุการณ์แบบไหนอย่างไรในฐานะงานบริการเราต้องแก้ปัญหาอย่างใจเย็น ซึ่งการอารมณ์ร้อนไปกับลูกค้าบางคนอาจทำให้ร้านของเราเสียชื่อเสียงได้ยิ่งในยุคโซเชี่ยลแบบนี้ต้องระวังให้มาก
7. ปรับปรุงและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
การที่ร้านหมูกระทะเป็นการลงทุนยอดฮิตเราย่อมหนีไม่พ้นคู่แข่ง สิ่งสำคัญคือเราต้องพัฒนาร้านค้า พัฒนาการบริการ พัฒนาสินค้า เช่น มีเมนูใหม่ๆ บริการใหม่ๆ โปรโมชั่นใหม่ๆ และมีการตลาดยุคใหม่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการเปิดร้านให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย