9412892

แก้ปัญาบ้านเอียงร้อยเอ็ด โทร 065-8030205

หมวดหมู่สินค้า: rtd67 ช่างดีดบ้าน

13 เมษายน 2565

ผู้ชม 77 ผู้ชม

 
 
ยกบ้าน ดีดบ้าน ซ่อมบ้านทรุด เสริมฐานราก นวัตกรรมไมโครไพล์ ลดผลกระทบการก่อสร้าง  ย้ายบ้าน เคลื่อนย้ายบ้าน หมุนบ้าน โดยผู้เชี่ยวชาญ ผลงานช่างดีดบ้าน แก้ปัญหาบ้านทรุด แก้ปัญาบ้านเอียง รับยกบ้านต่ำทำให้สูง หมุนบ้านทั้งหลัง 
แก้ปัญหาบ้านทรุดร้อยเอ็ด 
เสริมฐานรากร้อยเอ็ด 
ดีดปรับระดับบ้านร้อยเอ็ด 
แก้ปัญาบ้านเอียงร้อยเอ็ด 
ดีดโครงหลังคาร้อยเอ็ด 
ดีดบ้านให้สูงขึ้นร้อยเอ็ด 
ยกบ้านทั้งหลังร้อยเอ็ด 
ค่าแรงเปลี่ยนเสาบ้านร้อยเอ็ด 
 
    สอบถามช่างดีดบ้าน




บริการช่างเคลื่อนย้าย โบสถ์ เมรุ ศาลาวัด อาคาร โรงเรียน
โครงสร้างโรงงาน ดีดบ้าน ยกบ้าน เสริมฐานราก ซ่อมและแก้ไขบ้าน อาคาร ส่วนต่อเติมแตกร้าว 
รับดีดบ้าน เลื่อนบ้าน ยกบ้าน - ด้วยเครื่องมือทันสมัย ราคาถูก บ้านไม้ บ้านปูน ศาลา โรงเรียน โรงงาน บิด เลื่อน หมุน ตีเข็มไม้ เข็มปูน ปลอดภัย รวดเร็ว
ดีดบ้านปูนร้อยเอ็ด 
ราคาดีดบ้านร้อยเอ็ด 
ดีดบ้านถมดินร้อยเอ็ด 
รับดีดบ้านปูนร้อยเอ็ด 
โรงงงานทรุดเอียงร้อยเอ็ด 
ราคาดีดบ้านครึ่งปูนครึ่งไม้ร้อยเอ็ด 
บริการเคลื่อนย้ายศาลาวัดร้อยเอ็ด 
บริการเคลื่อนย้ายโบสถ์เมรุร้อยเอ็ด 
รับเคลื่อนย้ายอาคารโรงเรียนร้อยเอ็ด 
 


แก้บ้านทรุด อาคาร โรงงานทรุด - จบปัญหาอาคารทรุดตัว ไม่ต้องทุบ
ซ่อมฐานรากทรุดตัว เสาแตกร้าว ผนังแตกร้าว บ้านพัง แก้บ้านทรุดด้วยเสาเข็มเสริมระบบไฮดรอลิค แก้ปัญหาถูกจุด รับประกันซ่อมแล้วหายขาด 100%โดยวิศวกรมืออาชีพ
บ้านทรุดผนังแยกร้อยเอ็ด 
บ้านทรุดเอียงร้อยเอ็ด 
ซ่อมบ้านทรุดร้อยเอ็ด 
ร้อยเอ็ดพื้นทรุดแก้ไขอย่างไร
ช่างซ่อมบ้านทรุดร้อยเอ็ด 
ยกบ้านทรุดร้อยเอ็ด 
ร้อยเอ็ดแก้ไขบ้านทรุดราคา
แก้ไขบ้านทรุดร้อยเอ็ด 


รู้ก่อนสร้าง...เตรียมพื้นที่อย่างไร ป้องกันโพรงใต้บ้านระยะยาว
 
สร้างบ้านหนึ่งหลัง มีปัจจัยต่างๆ ที่ต้องคำนึงถึงมากมาย ทั้งปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในระยะสั้นและระยะยาว รวมถึงปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาด้วยเช่นกัน อาทิ ปัญหาดินทรุดจนโพรงใต้บ้าน ซึ่งสามารถป้องกันได้เมื่อมีการเตรียมพื้นที่ให้พร้อมอย่างดีก่อนเริ่มก่อสร้างบ้าน
 
การป้องกันโพรงที่มีโอกาสเกิดขึ้นภายหลังการสร้างบ้านนั้น เจ้าของบ้านอาจเตรียมการตั้งแต่ขั้นตอนการถมดิน หรือการวางเสาเข็มก่อนสร้างบ้าน โดย 2 วิธีนี้มีข้อควรรู้ที่แตกต่างกัน
 
1. การถมดินก่อนสร้าง ป้องกันโพรงใต้บ้าน
การถมดินนอกจากจะเป็นการยกระดับความสูงของพื้นที่เพื่อป้องกันน้ำท่วม หรือการวางท่อระบายน้ำภายในบ้านให้อยู่สูงกว่าถนนแล้ว ยังเป็นการช่วยเร่งการทรุดตัวของพื้นดินเดิม เนื่องจากมีน้ำหนักไปกดทับพื้นดินเดิมที่ยังไม่แน่นดีให้ยุบตัวลงไปเร็วขึ้น
 
ทั้งนี้การสร้างบ้านบนที่ดินเปล่า จะลดปัญหาการเคลียร์พื้นที่ และมีขั้นตอนที่ไม่ยุ่งยาก ซึ่งเจ้าของบ้านควรให้ความสำคัญกับการปรับระดับพื้นที่ โดยคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ คือ
 
1.1 ลักษณะพื้นที่ที่จะถมดิน
ควรตรวจสอบลักษณะพื้นที่เบื้องต้น เพื่อประกอบการกำหนดระดับความสูงของดินที่จะถม
 
สังเกตต้นไม้ที่ขึ้นในที่ดินแปลงนั้น
 
ต้นกระถินหรือมะขามเทศ แสดงว่าพื้นดินบริเวณนั้นแห้ง
ต้นกก อ้อ ธุปฤาษี แสดงว่าเป็นพื้นที่บริเวณนั้นมีความชื้นแฉะสูง สภาพดินมีความอ่อนตัว
สอบถามสภาพพื้นที่จากผู้อยู่อาศัยบริเวณนั้น เช่น การเกิดน้ำท่วม มีความสูงเท่าไร ใช้เวลาแห้งนานแค่ไหน หรือพื้นที่มีน้ำท่วมขังตลอดหรือไม่ เพราะจะส่งผลให้ดินมีความอ่อนตัวสูง และแปรสภาพเป็นดินโคลนหรือเลน หากเป็นเช่นนั้นจะทำให้มีค่าถมที่สูง ใช้เวลาให้ดินแน่นนาน เพราะการเผื่อค่ายุบตัวของดินก็จะถูกประเมินสูงกว่าที่ดินที่มีสภาพแห้งกว่า
 
1.2 ความสูงของพื้นที่ที่จะถม
การถมที่ดินนั้นจะต้องมีการกำหนดระยะความสูงของดินที่จะถม ซึ่งควรพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ เช่น ระดับของพื้นถนน ระดับของพื้นที่ปกติที่น้ำท่วมถึง ความสูงของบ้านหลังอื่นๆ หรือพื้นที่ดินเปล่า ซึ่งในอนาคตอาจมีสิ่งก่อสร้างเกิดขึ้น ซึ่งแน่นอนว่าจะถูกถมที่ให้สูงกว่าเดิมด้วย
 
โดยทั่วไป การถมที่ดินจะให้มีความสูงกว่าถนนประมาณ 50-80 เซ็นติเมตร หรือบางพื้นที่ที่อาจต้องถมดินให้สูงถึง 1 เมตร เพื่อเผื่อไว้สำหรับการยุบตัวของดินในอนาคต
 
1.3 ระยะเวลาการทิ้งพื้นที่ไว้
สำหรับบ้านที่ถมดินเรียบร้อยแล้ว ไม่ควรดำเนินการสร้างบ้านทันที ทิ้งระยะเวลาให้ผ่านไประยะหนึ่ง เพื่อให้หน้าดินมีการเซตตัวและไม่เกิดการทรุดตัวมากในระยะยาว
 
การถมดินยิ่งสูงจากระดับเดิมมากเท่าไร ก็ยิ่งมีโอกาสทรุดตัวได้มากเท่านั้น ดังนั้นจึงควรถมทิ้งไว้ก่อนสร้างบ้าน 6 – 12 เดือน หรือหากมีเวลาน้อยอาจใช้ใช้รถบดอัดดินช่วยร่นเวลา หรือจะทั้งทิ้งระยะเวลา และบดอัดไปด้วยก็ยิ่งได้ผลดี
 
ข้อควรคำนึงในการถมที่ดิน
สำหรับบ้านที่สร้างจากพื้นที่เดิมที่อาจมีการทุบหลังเก่าสร้างหลังใหม่ เมื่อมีการถมที่เพิ่มเติมอาจมีการใช้เศษอิฐ เศษคอนกรีต จากการทุบหลังเก่ามาถมที่ดิน ซึ่งกรณีนี้จะทำให้เกิดปัญหาการทรุดตัวของดินมากกว่าปกติ เนื่องจากเศษวัสดุเหล่านั้นจะไม่ผสมเป็นเนื้อเดียวกับดิน มีการเกยกันเป็นเป็นช่องว่าง และเมื่อระยะเวลาผ่านไปหากมีน้ำซึมผ่านจะพาดินไหลลงมาแทนที่ช่องว่าง ทำให้เกิดการทรุดตัวเป็นหลุมหรือโพรงใต้บ้านได้
การถมดินหากเลือกระยะเวลาได้ ควรดำเนินการในช่วงหน้าฝน เพราะน้ำฝนที่ไหลแทรกระหว่างเนื้อดินจะเป็นตัวช่วยให้ดินยุบตัวและแน่นขึ้น
 
2. การวางฐานโครงสร้างตั้งแต่เริ่มต้น
การป้องกันดินทรุดตัวจนเกิดโพรงใต้บ้านนั้น วิธีที่ดีที่สุดคือการมีเสาเข็มรองรับน้ำหนัก ซึ่งโดยทั่วไปโครงสร้างบ้านจะถูกกำหนดให้มีเสาเข็มยาวลึกลงไปถึงชั้นดินดานหรือชั้นทรายเฉลี่ยประมาณ 18 - 21 เมตร ขึ้นอยู่กับการวิเคราะห์หาค่าสมบัติทางวิศวกรรมของชั้นดิน ซึ่งจะถูกนำมา คำนวณออกแบบความสามารถการรับน้ำหนักบรรทุกของชั้นดินได้อย่างถูกต้องตามหลักวิศวกรรมมากที่สุด เพื่อรองรับน้ำหนักตัวบ้านไว้
 
ข้อควรคำนึงในการวางเสาเข็ม
พื้นที่ดินบางแปลงอาจเคยเป็นบ่อ หนอง คลอง บึง หรือบ่อทิ้งขยะเก่า การก่อสร้างบ้านบริเวณนี้ควรมีการเจาะสำรวจชั้นดิน ไม่ควรใช้วิธีเทียบเคียงจากพื้นที่ข้างๆ เนื่องจากความลึกของเสาเข็มอาจไปอยู่ตำแหน่งตรงกับบ่อขยะเก่านั้น เมื่อเวลาผ่านไปขยะมีการย่อยสลาย จะทำให้เสาเข็มทรุดตัวได้
 
การเตรียมพื้นที่ให้พร้อมก่อนสร้างบ้านเป็นสิ่งสำคัญ หากเจ้าของบ้านมีการเตรียมพร้อมในส่วนของที่ดินตั้งแต่เนิ่นๆ และมีผู้เชี่ยวชาญคอยให้คำปรึกษา และแนะนำอย่างใกล้ชิด ไม่ว่าจะเป็นวิศวกร สถาปนิก หรือผู้ให้บริการบริษัทรับสร้างบ้าน จะช่วยให้การวางรากฐานสำหรับการสร้างบ้านนั้นมีมาตรฐานและแข็งแรงยิ่งขึ้น
 
Engine by shopup.com