ดีดปรับระดับบ้านรัตนาธิเบศร์ โทร 065-8030205
หมวดหมู่สินค้า: rtd67 ช่างดีดบ้าน
13 เมษายน 2565
ผู้ชม 78 ผู้ชม
ยกบ้าน ดีดบ้าน ซ่อมบ้านทรุด เสริมฐานราก นวัตกรรมไมโครไพล์ ลดผลกระทบการก่อสร้าง ย้ายบ้าน เคลื่อนย้ายบ้าน หมุนบ้าน โดยผู้เชี่ยวชาญ ผลงานช่างดีดบ้าน แก้ปัญหาบ้านทรุด แก้ปัญาบ้านเอียง รับยกบ้านต่ำทำให้สูง หมุนบ้านทั้งหลัง
แก้ปัญหาบ้านทรุดรัตนาธิเบศร์
เสริมฐานรากรัตนาธิเบศร์
ดีดปรับระดับบ้านรัตนาธิเบศร์
แก้ปัญาบ้านเอียงรัตนาธิเบศร์
ดีดโครงหลังคารัตนาธิเบศร์
ดีดบ้านให้สูงขึ้นรัตนาธิเบศร์
ยกบ้านทั้งหลังรัตนาธิเบศร์
ค่าแรงเปลี่ยนเสาบ้านรัตนาธิเบศร์
บริการช่างเคลื่อนย้าย โบสถ์ เมรุ ศาลาวัด อาคาร โรงเรียน
โครงสร้างโรงงาน ดีดบ้าน ยกบ้าน เสริมฐานราก ซ่อมและแก้ไขบ้าน อาคาร ส่วนต่อเติมแตกร้าว รับดีดบ้าน เลื่อนบ้าน ยกบ้าน - ด้วยเครื่องมือทันสมัย ราคาถูก บ้านไม้ บ้านปูน ศาลา โรงเรียน โรงงาน บิด เลื่อน หมุน ตีเข็มไม้ เข็มปูน ปลอดภัย รวดเร็ว
ดีดบ้านปูนรัตนาธิเบศร์
ราคาดีดบ้านรัตนาธิเบศร์
ดีดบ้านถมดินรัตนาธิเบศร์
รับดีดบ้านปูนรัตนาธิเบศร์
โรงงงานทรุดเอียงรัตนาธิเบศร์
ราคาดีดบ้านครึ่งปูนครึ่งไม้รัตนาธิเบศร์
บริการเคลื่อนย้ายศาลาวัดรัตนาธิเบศร์
บริการเคลื่อนย้ายโบสถ์เมรุรัตนาธิเบศร์
รับเคลื่อนย้ายอาคารโรงเรียนรัตนาธิเบศร์
แก้บ้านทรุด อาคาร โรงงานทรุด - จบปัญหาอาคารทรุดตัว ไม่ต้องทุบ
ซ่อมฐานรากทรุดตัว เสาแตกร้าว ผนังแตกร้าว บ้านพัง แก้บ้านทรุดด้วยเสาเข็มเสริมระบบไฮดรอลิค แก้ปัญหาถูกจุด รับประกันซ่อมแล้วหายขาด 100%โดยวิศวกรมืออาชีพ
บ้านทรุดผนังแยกรัตนาธิเบศร์
บ้านทรุดเอียงรัตนาธิเบศร์
ซ่อมบ้านทรุดรัตนาธิเบศร์
รัตนาธิเบศร์พื้นทรุดแก้ไขอย่างไร
ช่างซ่อมบ้านทรุดรัตนาธิเบศร์
ยกบ้านทรุดรัตนาธิเบศร์
รัตนาธิเบศร์แก้ไขบ้านทรุดราคา
แก้ไขบ้านทรุดรัตนาธิเบศร์
คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่
คานคอดิน (Ground Beam) คือส่วนประกอบโครงสร้างบนดินที่รับน้ำหนักพื้น ผนัง และสิ่งที่อยู่เหนือคานคอดินขึ้นไป แล้วจึงถ่ายน้ำหนักไปยังตอม่อและฐานรากต่อไป
การก่อสร้างคานคอดิน แบ่งจากระดับความสูงจากพื้นดินได้ 2 แบบ
คานคอดินวางอยู่บนระดับดิน เนื่องจากระดับพื้นชั้นล่างอยู่สูงจากระดับดินไม่มากนัก ในการก่อสร้างจึงมักทำเนินดินให้สูงเสมอท้องคานคอดิน และเทลีน (Lean) เพื่อใช้เป็นแบบหล่อท้องคานแทนการใช้ไม้แบบ และใช้ไม้แบบเฉพาะด้านข้างคานทั้งสองด้าน
คานคอดินอยู่สูงจากระดับดินมากกว่า 1 เมตร ระดับท้องคานคอดินจะสูงจากระดับดินค่อนข้างมาก การก่อสร้างจะต้องใช้ไม้แบบในการหล่อท้องคานคอดิน นอกเหนือจากการใช้ไม้แบบที่ด้านข้างคาน ซึ่งส่งผลเรื่องเวลาในการก่อสร้างรวมถึงค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นด้วย
ทั้งนี้พื้นบ้านควรจะยกสูงขึ้นเท่าไหร่ พิจารณาได้จากพื้นที่รอบข้าง เช่น ถนนหน้าบ้านเป็นแบบเก่าหรือใหม่ และถ้าหากมีการยกพื้นถนน ที่ดินในจุดที่สร้างบ้านอยู่สูงกว่าพื้นถนนไหม กับอีกเรื่องก็คือน้ำท่วมถนนในบริเวณนั้นหรือไม่
คานคอดินที่พื้นคานอยู่สูงกว่าระดับพื้นดินจะช่วยให้ระดับพื้นบ้านอยู่สูงขึ้นด้วย ถึงแม้ว่าค่าใช้จ่ายตอนก่อสร้างจะเพิ่มขึ้น แต่ถ้าพิจารณาในหลายๆ ด้านแล้วจะถือว่าคุ้มค่ากว่า เช่นการวางระบบท่อใต้พื้นชั้นล่าง การแก้ปัญหาเรื่องปลวกที่อาจจะเกิดขึ้นภายหลัง รวมไปถึงปัญหาน้ำท่วมขัง การยกพื้นถนนหน้าบ้านที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตด้วย ถ้าจะให้ดีที่สุด ระดับพื้นชั้นล่างควรอยู่สูงกว่าระดับถนนอย่างน้อย 1 เมตร
วิธียกพื้นบ้านเตรียมรอ น้ำท่วม น้ำลด ไม่เป็นเชื้อรา เมื่อบ้านต่ำกว่าถนน
1.ยกพื้นบ้านให้สูงกว่าถนน
ถ้าหากรู้อยู่แล้วว่า บ้านอยู่ในพื้นที่น้ำท่วมขัง และต่ำกว่าระดับถนนมาก ควรสร้างฐานยกพื้นบ้านให้สูงขึ้น อย่าเพิ่งคิดว่าเป็นงานหนัก เพราะสามารถต่อเติมเพิ่มได้ง่าย ๆ (ยกพื้นวันนี้ ดีกว่าเสียหายสูงในวันหน้า) โดยประเมินว่าจะสร้างให้สูงกว่าถนนเท่าไหร่ดี? ด้วยวิธีศึกษาระดับน้ำในดินจากแหล่งน้ำในท้องที่ หรือฟังคำเล่าลือจากคนเฒ่าคนแก่ เพื่อสอบถามถึงระดับน้ำที่สูงที่สุดเท่าที่เคยมีมาแต่อดีต เพราะส่วนใหญ่จะมีน้ำท่วมสูงเกินปกติในรอบ 4 – 30 ปี
2.ใช้ผลิตภัณฑ์กันซึมปูพื้น
หากคุณไม่ใช่ช่างก่อสร้างมืออาชีพ ก็อาจจะยังไม่รู้ว่า มีซีเมนต์ประเภทหนึ่ง ที่ใช้กันน้ำไม่ให้ซึมเข้าสู่ตัวบ้านได้ แม้กระทั่งทารอบกล่องกระดาษ ก็ทำให้กระดาษกลายเป็นถังใส่น้ำได้อย่างกับมีเวทมนต์ แต่เป็นเพราะปฏิกิริยาการเซ็ตตัวของซีเมนต์ ที่ทำให้น้ำไม่สามารถลอดผ่านอนุภาคได้ แนะนำให้ทาพื้นและผนังของชั้นล่างที่คาดว่าจะได้รับความเสียหายจากน้ำ เพื่อป้องกันส่วนโครงสร้าง
3.เลือกกระเบื้องไม่อุ้มน้ำ
กระเบื้องเซรามิกซ์ เป็นกระเบื้องที่อุ้มน้ำมากที่สุด เมื่อน้ำท่วมผ่านพ้นไป ทำให้เกิดเป็นเชื้อราได้ ควรเลือกกาวปูกระเบื้องที่มีสารป้องกันเชื้อรา (หรือที่เรียกว่า Microban) และเลือกกระเบื้องที่ไม่อุ้มน้ำ อย่างแกรนิต หรือหินอ่อน ไว้สำหรับพื้นชั้นล่างในส่วนที่ต้องพบกับน้ำบ่อย ๆ
4.ต่อเติม หรือ ก่อสร้างชั้นสูง ๆ
ถ้าคิดว่ายกพื้นสูงกว่าถนนอาจจะไม่พอ และมีงบประมาณเหลือพอที่จะสร้างบ้านให้สูงขึ้นไว้ ในพื้นที่น้ำท่วม ก็ต้องศึกษาโครงสร้างดินที่ตั้งของบ้านคุณก่อนว่า แข็งแรงพอไหม? เลือกการตอกเสาเข็มที่แข็งแรง และตรวจสอบโครงสร้างเดิมให้ดีก่อนที่จะต่อเติมให้สูงขึ้นไป
5เดินสายไฟชั้นล่างให้น้อย หรือ มีระบบตัดไฟ
ชั้นล่างที่เสี่ยงต่อน้ำท่วม หรือบริเวณระเบียงรอบบ้านไม่ควรเดินสายไฟที่มีเต้ารับ และสายไฟที่สำคัญ และควรติดตั้งระบบตัดไฟ เพื่อป้องกันไฟรั่วขณะน้ำท่วม หรือฝน
แม้ว่าน้ำท่วมเป็นเรื่องที่เราไม่อยากให้เกิด แต่ก็เป็นเหตุการณ์ธรรมชาติที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ คนสมัยก่อนมีวิธีอยู่กับน้ำด้วยการสร้างบ้านใต้ถุนสูง ๆ และหลีกเลี่ยงการก่อสร้างบนพื้นที่รับน้ำโดยเฉพาะ แต่ทุกวันนี้มีเทคโนโลยีใหม่ ๆ จากผลิตภัณฑ์ซีเมนต์ ทำให้คุณสามารถอยู่ร่วมกับน้ำได้แม้ว่าบ้านจะแช่น้ำอยู่เป็นเดือน ๆ แต่ก็ต้องเลือกผลิตภัณฑ์ที่ป้องกันโครงสร้างจากเชื้อรา และคืนตัวเร็วเมื่อมีความชื้นขัง