ถมที่ดิน เคลียร์ริ่งพื้นที่; รับเหมาขุดลอกสระ ขุดลอกคลอง บึง ทำบ่อเลี้ยงปลา; รับงานรื้อถอน ทุบตึก อาคาร โครงสร้างขนาดใหญ่ โรงงาน บ้านที่พักอาศัย ฯลฯ
ขุดสระโคกหนองนาแพรกษา
แบคโฮขุดบ่อน้ำแพรกษา
แบคโฮขุดสระเก็บน้ำแพรกษา
ถมดินสร้างบ้านแพรกษา
ขุดบ่อถมที่แพรกษา
รับถมที่แพรกษา
รับถมที่ถมลูกรัง
รับถมที่ดินดาน
รับถมที่หินคลุก
รับถมที่ถมลูกรัง
รับถมที่ดินดาน
รับถมที่หินคลุก
รับการเคลื่อนย้ายดินแพรกษา
เรามุ่งมั่นจะสร้างพื้นที่เก็บน้ำ แหล่งผลิตอาหารอย่างยั่งยืนโดยให้บริการราคาถูกช่วยกัน รับงานขุดออกแบบ
โมเดลโคกหนองนา รับขุดบ่อถมที่ ขนย้ายเครื่องจักร ราคาถูก
รับขุดโคกหนองนาแพรกษา
ราคาขุดโคกหนองนาแพรกษา
ราคาขุดโคกหนองนา1ไร่แพรกษา
งบประมาณโคกหนองนาแพรกษา
โคกหนองนา2ไร่ราคาแพรกษา
แพรกษาแบคโฮขุดสระเก็บน้ำ สร้างฝันในจินตนาการสำหรับผืนนาของคุณ ในราคาที่จับต้องได้ เราพร้อมให้คำปรึกษาและคำนวนราคา ยังไม่พร้อมจ้างไม่เป็นไรครับ เพราะเรารู้ดีว่า คุณต้องใช้ข้อมูลทั้งหมดเพื่อปรึกษาครอบครัวในการตัดสินใจ
แพรกษาขุดสระน้ำแบบธรรมดารูปทรงสี่เหลี่ยม ราคาถูกที่สุดในแพรกษา
แพรกษาขุดสระขั้นบันไดมีตะพัก หรือ สระฟรีฟอร์มรูปทรงอิสระ ราคาสูงกว่าเล็กน้อย
ถมที่ดิน เรื่องต้องรู้ก่อนสร้างบ้าน
ถมที่ดิน สิ่งที่เจ้าของที่ดินต้องรู้เป็นอันดับต้น ๆ ก่อนจะสร้างบ้านใหม่ เนื่องจากเป็นรากฐานที่สร้างความมั่นคงให้กับบ้าน แต่การถมที่ดินถือเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน เพราะมีเรื่องกฎหมาย ประวัติที่ดิน และผู้รับเหมามาเกี่ยวข้อง หากใครคิดที่จะสร้างบ้านจึงจำเป็นต้องศึกษาให้เข้าใจก่อนที่จะทำการถมที่ดิน
ก่อนถมที่ดินใหม่ ระวังไว้เรื่องกฎหมาย
ก่อนทิ่คิดจะปลูกบ้านบนที่ดินของตนเอง สิ่งแรกที่จำเป็นจะต้องศึกษาก็คือเรื่องกฎหมายสำหรับการถมที่ดิน ซึ่งถือเป็นส่วนประกอบหลักในการสร้างบ้าน หากไม่ทำการศึกษาอาจทำให้การถมที่ดินส่งผลกระทบไปสู่ที่ดินข้างเคียงของผู้อื่นให้เสียหายได้
ดังนั้น การถมที่ดินจึงมีข้อบังคับให้อยู่ภายใต้ประมวลกฎหมายพระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. 2543 จะมีประเด็นหลักที่ต้องดูด้วยกัน 3 ข้อ คือ
1. หากเจ้าของที่ดินจำเป็นต้องทำการขุดดิน
โดยมีความลึกจากระดับพื้นดินเกิน 3 เมตร จะต้องแจ้งเจ้าหน้าที่พนักงานท้องถิ่น (ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สำหรับในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ นายกเทศมนตรี สำหรับในเขตเทศบาล) และทำการขุดตามแบบที่เจ้าหน้าที่พนักงานท้องถิ่นกำหนด
2. หากพื้นที่ที่ขุดดินมีความลึกจากระดับพื้นดินไม่เกิน 3 เมตร
แต่อยู่ใกล้แนวเขตที่ดินของผู้อื่นในระยะน้อยกว่าสองเท่าของความลึกของบ่อดินที่จะขุด ต้องจัดการป้องกันการพังทลายของดินตามวิสัยที่ควรกระทำ เพื่อป้องกันดินทลายลงสู่พื้นที่ข้างเคียง
3. การถมที่ดินสูงกว่าพื้นที่ใกล้เคียง
หากจะทำการถมดินโดยมีความสูงของเนินดินเกินกว่าระดับที่ดินต่างเจ้าของที่อยู่ใกล้เคียง และมีพื้นที่ของเนินดินไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร ต้องจัดให้มีการระบายน้ำเพียงพอที่จะไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่เจ้าของที่ดินที่อยู่ข้างเคียง
ป้องกันปัญหาหลังการถมดิน ด้วยการเช็กประวัติที่ดิน
สิ่งต่อไปหลังจากรู้กฎหมายเบื้องต้นในการถมที่ดินแล้ว คือตรวจเช็กประวัติที่ดินที่ตัวเองกำลังสนใจหรือถือครองไว้อยู่ ซึ่งในแง่ของคนที่กำลังคิดจะซื้อที่ดินนั้น จำเป็นจะต้องตรวจเช็กประวัติที่ดินนั้นๆ อยู่แล้วเป็นประเด็นสำคัญ
แต่บางคนมีที่ดินเก็บไว้เป็นเวลานานแล้ว ก็ต้องกลับมาตรวจเช็กที่ดินของตัวเองกันใหม่ก่อนจะถมที่ดินหรือสร้างบ้าน เนื่องจากการเอาที่ดินเก่าเก็บมาสร้างบ้านนั้นจะมีปัจจัยของระยะเวลามาเกี่ยวข้อง ซึ่งที่ผ่านมาที่ดินของคุณอาจได้รับผลกระทบจากปัญหาน้ำท่วม การพังทลายของดินมาก่อน ดังนั้นก่อนที่จะถมดินก็ต้องมาทำความรู้จักที่ดินของตัวเองใหม่
1. ตรวจสอบประวัติการเกิดอุทกภัย
สิ่งแรกที่ควรจะตรวจสอบเลยก็คือประวัติน้ำถ่วมบนพื้นที่โดยพิจารณาจากก่อนย้อนไปดูข่าวเก่า หรือสอบถามจากคนพื้นที่ เพื่อเช็กระดับสูงสุดที่น้ำเคยท่วมถึง รวมไปถึงเช็กระดับน้ำในท่อระบายน้ำสาธารณะ โดยติดต่อหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบ เพื่อจะประมาณการถมดินให้สูงกว่าระดับดังกล่าว เพื่อป้องกันอุทกภัย และให้น้ำระบายออกมาจากพื้นที่ดินในบ้านได้
2. เช็กระดับดินพื้นที่ดินบริเวณค้างเขียง และถนนหน้าบ้าน
เพื่อจะได้ทำการถมดินให้สูงกว่า โดยส่วนใหญ่จะมักจะถมให้สูงกว่าถนนหน้าบ้านประมาณ 50-80 ซม. แต่จะอยู่ระดับที่ใกล้เคียงกับที่ดินเพื่อนบ้าน จะไม่นิยมถมที่ดินให้สูงเกินกว่านี้ เนื่องจากพื้นที่ระหว่างที่ดินของบ้านกับถนนสาธารณะจะมีความลาดชันมากเกินไป และอาจเกิดปัญหาน้ำท่วมที่ดินข้างเคียง โดยเฉพาะที่สำคัญการถมที่ดินสูงกว่า 80 ซม. ก็มีค่าใช้จ่ายสูง และอาจเกิดแรงดันจนรั้วบ้านเสียหายได้
ถมที่ดิน อย่าลืมพิจารณาประเภทของดิน
การถมที่ดินต้องตกลงกันให้เรียบร้อยว่าจะใช้ดินอะไรในการถม โดยดินมีหลายประเภท ดังนี้
1. ดินถมทั่วไป ดินทั่วไปที่มีราคาถูกกว่าดินประเภทอื่น จึงได้รับความนิยมมาก เนื้อดินแน่น แต่ความอุดมสมบูรณ์ของดินน้อย ไม่เหมาะกับการนำไปใช้เพาะปลูก
2. ดินดาน มีลักษณะแห้ง บดอัดได้ดี นิยมใช้สำหรับถมที่ดินที่ต้องการปลูกสร้างทันที เช่น การถมพื้นถนน หรือที่ดินริมน้ำ
3. ดินลูกรัง แม้จะเป็นดินที่บดอัดได้ดี แต่มีความอุดมสมบูรณ์ของดินน้อย ไม่เหมาะกับการนำไปใช้เพาะปลูก
4. ดินทราย แม้จะราคาถูก แต่มีลักษณะไม่อุ้มน้ำ ถูกกัดกร่อนได้ง่าย ต้องมีการป้องกันดินไหล และบดอัดอย่างดี เพื่อป้องกันการทรุดตัวในอนาคต
5. หน้าดิน มีลักษณะร่วนพรุน เนื้อดินค่อนข้างละเอียด ระบายน้ำได้ดี เหมาะกับการถมที่ดิน
ถมที่ดิน เรื่องต้องรู้ก่อนสร้างบ้าน
29 มีนาคม 2564 • 1 นาที
ก่อนถมที่ดิน มีเรื่องต้องรู้หลายด้าน
ถมที่ดิน สิ่งที่เจ้าของที่ดินต้องรู้เป็นอันดับต้น ๆ ก่อนจะสร้างบ้านใหม่ เนื่องจากเป็นรากฐานที่สร้างความมั่นคงให้กับบ้าน แต่การถมที่ดินถือเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน เพราะมีเรื่องกฎหมาย ประวัติที่ดิน และผู้รับเหมามาเกี่ยวข้อง หากใครคิดที่จะสร้างบ้านจึงจำเป็นต้องศึกษาให้เข้าใจก่อนที่จะทำการถมที่ดิน
ก่อนถมที่ดินใหม่ ระวังไว้เรื่องกฎหมาย
ก่อนทิ่คิดจะปลูกบ้านบนที่ดินของตนเอง สิ่งแรกที่จำเป็นจะต้องศึกษาก็คือเรื่องกฎหมายสำหรับการถมที่ดิน ซึ่งถือเป็นส่วนประกอบหลักในการสร้างบ้าน หากไม่ทำการศึกษาอาจทำให้การถมที่ดินส่งผลกระทบไปสู่ที่ดินข้างเคียงของผู้อื่นให้เสียหายได้
ดังนั้น การถมที่ดินจึงมีข้อบังคับให้อยู่ภายใต้ประมวลกฎหมายพระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. 2543 จะมีประเด็นหลักที่ต้องดูด้วยกัน 3 ข้อ คือ
1. หากเจ้าของที่ดินจำเป็นต้องทำการขุดดิน
โดยมีความลึกจากระดับพื้นดินเกิน 3 เมตร จะต้องแจ้งเจ้าหน้าที่พนักงานท้องถิ่น (ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สำหรับในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ นายกเทศมนตรี สำหรับในเขตเทศบาล) และทำการขุดตามแบบที่เจ้าหน้าที่พนักงานท้องถิ่นกำหนด
2. หากพื้นที่ที่ขุดดินมีความลึกจากระดับพื้นดินไม่เกิน 3 เมตร
แต่อยู่ใกล้แนวเขตที่ดินของผู้อื่นในระยะน้อยกว่าสองเท่าของความลึกของบ่อดินที่จะขุด ต้องจัดการป้องกันการพังทลายของดินตามวิสัยที่ควรกระทำ เพื่อป้องกันดินทลายลงสู่พื้นที่ข้างเคียง
3. การถมที่ดินสูงกว่าพื้นที่ใกล้เคียง
หากจะทำการถมดินโดยมีความสูงของเนินดินเกินกว่าระดับที่ดินต่างเจ้าของที่อยู่ใกล้เคียง และมีพื้นที่ของเนินดินไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร ต้องจัดให้มีการระบายน้ำเพียงพอที่จะไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่เจ้าของที่ดินที่อยู่ข้างเคียง
ข้อกฎหมายควรรู้ก่อนสร้างบ้านใหม่บนที่ดินของตัวเอง
Guide
ข้อกฎหมายควรรู้ก่อนสร้างบ้านใหม่บนที่ดินของตัวเอง
การถมที่ดิน ซึ่งถือเป็นสิ่งสำคัญที่ควรทราบไว้
ป้องกันปัญหาหลังการถมดิน ด้วยการเช็กประวัติที่ดิน
สิ่งต่อไปหลังจากรู้กฎหมายเบื้องต้นในการถมที่ดินแล้ว คือตรวจเช็กประวัติที่ดินที่ตัวเองกำลังสนใจหรือถือครองไว้อยู่ ซึ่งในแง่ของคนที่กำลังคิดจะซื้อที่ดินนั้น จำเป็นจะต้องตรวจเช็กประวัติที่ดินนั้นๆ อยู่แล้วเป็นประเด็นสำคัญ
แต่บางคนมีที่ดินเก็บไว้เป็นเวลานานแล้ว ก็ต้องกลับมาตรวจเช็กที่ดินของตัวเองกันใหม่ก่อนจะถมที่ดินหรือสร้างบ้าน เนื่องจากการเอาที่ดินเก่าเก็บมาสร้างบ้านนั้นจะมีปัจจัยของระยะเวลามาเกี่ยวข้อง ซึ่งที่ผ่านมาที่ดินของคุณอาจได้รับผลกระทบจากปัญหาน้ำท่วม การพังทลายของดินมาก่อน ดังนั้นก่อนที่จะถมดินก็ต้องมาทำความรู้จักที่ดินของตัวเองใหม่
1. ตรวจสอบประวัติการเกิดอุทกภัย
สิ่งแรกที่ควรจะตรวจสอบเลยก็คือประวัติน้ำถ่วมบนพื้นที่โดยพิจารณาจากก่อนย้อนไปดูข่าวเก่า หรือสอบถามจากคนพื้นที่ เพื่อเช็กระดับสูงสุดที่น้ำเคยท่วมถึง รวมไปถึงเช็กระดับน้ำในท่อระบายน้ำสาธารณะ โดยติดต่อหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบ เพื่อจะประมาณการถมดินให้สูงกว่าระดับดังกล่าว เพื่อป้องกันอุทกภัย และให้น้ำระบายออกมาจากพื้นที่ดินในบ้านได้
2. เช็กระดับดินพื้นที่ดินบริเวณค้างเขียง และถนนหน้าบ้าน
เพื่อจะได้ทำการถมดินให้สูงกว่า โดยส่วนใหญ่จะมักจะถมให้สูงกว่าถนนหน้าบ้านประมาณ 50-80 ซม. แต่จะอยู่ระดับที่ใกล้เคียงกับที่ดินเพื่อนบ้าน จะไม่นิยมถมที่ดินให้สูงเกินกว่านี้ เนื่องจากพื้นที่ระหว่างที่ดินของบ้านกับถนนสาธารณะจะมีความลาดชันมากเกินไป และอาจเกิดปัญหาน้ำท่วมที่ดินข้างเคียง โดยเฉพาะที่สำคัญการถมที่ดินสูงกว่า 80 ซม. ก็มีค่าใช้จ่ายสูง และอาจเกิดแรงดันจนรั้วบ้านเสียหายได้
ถมที่ดิน อย่าลืมพิจารณาประเภทของดิน
การถมที่ดินต้องตกลงกันให้เรียบร้อยว่าจะใช้ดินอะไรในการถม โดยดินมีหลายประเภท ดังนี้
1. ดินถมทั่วไป ดินทั่วไปที่มีราคาถูกกว่าดินประเภทอื่น จึงได้รับความนิยมมาก เนื้อดินแน่น แต่ความอุดมสมบูรณ์ของดินน้อย ไม่เหมาะกับการนำไปใช้เพาะปลูก
2. ดินดาน มีลักษณะแห้ง บดอัดได้ดี นิยมใช้สำหรับถมที่ดินที่ต้องการปลูกสร้างทันที เช่น การถมพื้นถนน หรือที่ดินริมน้ำ
3. ดินลูกรัง แม้จะเป็นดินที่บดอัดได้ดี แต่มีความอุดมสมบูรณ์ของดินน้อย ไม่เหมาะกับการนำไปใช้เพาะปลูก
4. ดินทราย แม้จะราคาถูก แต่มีลักษณะไม่อุ้มน้ำ ถูกกัดกร่อนได้ง่าย ต้องมีการป้องกันดินไหล และบดอัดอย่างดี เพื่อป้องกันการทรุดตัวในอนาคต
5. หน้าดิน มีลักษณะร่วนพรุน เนื้อดินค่อนข้างละเอียด ระบายน้ำได้ดี เหมาะกับการถมที่ดินที่ต้องการทำสวน หรือทำสนามหญ้า
เช็กราคาการถมที่ดินเบื้องต้น ระวังผู้รับเหมาปล้นโดยไม่รู้ตัว
เช็กราคาการถมที่ดินเบื้องต้น ระวังผู้รับเหมาปล้นโดยไม่รู้ตัว
เมื่อรู้ข้อกฎหมายการถมที่ดิน รู้ประวัติที่ดินของตนเอง ทีนี้ก็มาดูค่าใช้จ่ายในการถมที่ดินกัน ซึ่งโดยทั่วไปการถมที่ดินนั้นจะมีราคาไม่ตายตัว ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขหลายๆ อย่าง อาทิ ระยะทางในการขนส่ง ขนาดพื้นที่ สภาพที่ดิน เป็นต้น ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยที่ควบคุมได้ยาก
ดังนั้น เจ้าของที่ดินที่อยากจะสร้างบ้านในราคาที่ประหยัด อยู่ในงบประมาณก็ควรเริ่มต้นศึกษาข้อมูลค่าใช้จ่ายตั้งแต่การถมที่ดินเลย เนื่องจากผู้รับเหมาส่วนใหญ่จะคิดราคาการถมที่ดินไม่เหมือนกัน บางรายคิดเป็นคันรถ บางรายคิดเป็นคิว แต่จะคิดราคาเหมารวมกับค่าบดอัด
ทั้งนี้ เจ้าของที่ดินสามารถเปรียบเทียบและคำนวณหาผู้รับเหมาที่ถูกที่สุดได้โดยการแปลงพื้นที่ดินจากตารางวาให้เป็นตารางเมตร โดยใช้สูตร
ขนาดพื้นที่ดิน (ตารางวา) x 4 = พื้นที่ตารางเมตร
ตัวอย่าง ที่ดิน 50 ตารางวา x 4 = 200 ตารางเมตร
พอได้ผลลัพธ์ที่เป็นขนาดที่ดินแบบตารางเมตรแล้วก็มาคำนวณความสูงของดินที่จะถม โดยนำ
ความสูงในการถมที่ดิน (เมตร) x พื้นที่ตารางเมตร = ปริมาณดินที่ต้องการใช้ (คิว)
ตัวอย่าง ต้องการถมที่ดินสูง 2 เมตร X 200 ตารางเมตร = ดิน 400 คิว
โดยต้องเผื่อค่าบดอัดดินที่จะยุบตัวลงไปด้วยประมาณ 20-30%
ปริมาณดินที่ต้องการใช้ (คิว) x 30% = 400 x 30% = 400 + 120 = 520 คิว
ที่ดินของคุณต้องการใช้ดินสำหรับถมที่ดินประมาณ 520 คิว
จากนั้นก็ลองเอาตัวเลขที่ได้ตรงนี้ไปเปรียบเทียบกับราคาที่ผู้รับเหมาแจ้งมา ระหว่างการคิดราคาเป็นคันรถ (ขึ้นอยู่กับว่ารถบรรทุกดินได้กี่คิว) กับราคาที่คิดเป็นคิว (ดินถมทั่วไปจะอยู่ที่ประมาณ 280-350 บาท/คิว) ว่าการคิดราคาแบบไหนจะถูกกว่ากัน
เมื่อรู้วิถีการถมดินที่ดินเบื้องต้นแล้ว เมื่อมีการปลูกสร้างบ้านก็จะไม่ทำให้เกิดปัญหาภายหลัง แถมยังช่วยประหยัดงบในการปรับปรุงซ่อมแซมบ้านอันเป็นปัญหาที่เกิดจากดินทรุดตัวในอนาคตด้วย ดังนั้นก่อนจะสร้างบ้านนอกจากการศึกษาโครงสร้างตัวบ้าน กฎหมายอาคาร เรื่องของที่ดินก็เป็นส่วนสำคัญมากที่ไม่ควรมองข้ามเพราะเป็นรากฐานที่สำคัญสำหรับการสร้างบ้าน