รับติดตั้งรางน้ำฝนและทำกันสาดหน้าบ้าน
ล่องดูดควัน ลูกหมุนระบายอากาศ รางน้ำฝน สังกะสี แตนเลส ทำโครงเหล็ก ต่อบ้าน ทำโรงรถ กันสาด ผ้าใบกันฝนโดยช่างมืออาชีพ
รางน้ำฝนสังกะสีเขตบางซื่อ
รางน้ำฝนสแตนเลสเขตบางซื่อ
รางน้ำฝนไวนิลเขตบางซื่อ
รางสั่งพับตามแบบเขตบางซื่อ
ติดตั้งปล่องดูดควันเขตบางซื่อ
ลูกหมุนระบายอากาศเขตบางซื่อ
ช่างกันสาดโครงหลังคาเขตบางซื่อ
สนใจติดตั้งรางน้ำฝนติดต่อสอบถามได้คับ ประเมินหน้างานฟรี
ต่อเติมกันสาดหน้าบ้านเขตบางซื่อต่อเติมโครงหลังคาเมทัลชีท ต่อเติมบ้าน รับงานหลังคาโรงรถ ต่อเติมระเบียง ห้องนอน ห้องครัว ผลงานของเรา
ช่างติดตั้งกันสาดเขตบางซื่อ
ช่างติดหลังคาไวนิลเขตบางซื่อ
ผ้าใบกันแดดเขตบางซื่อ
ช่างรางน้ำฝนใกล้ฉันเขตบางซื่อ
หลังคากันสาดเขตบางซื่อ
รางน้ำฝนไวนิลเขตบางซื่อ
ติดตั้งปล่องดูดควันเขตบางซื่อ
ช่างติดกันสาดเมทัลชีทเขตบางซื่อ
ช่างติดหลังคาโปร่งแสงเขตบางซื่อ
ช่างทำหลังคาโรงรถเขตบางซื่อ
ต่อเติมหลังคาเมทัลชีทเขตบางซื่อ
รับติดตั้งกันสาดเขตบางซื่อหลังคาโรงรถ พร้อมรับประกันความประทับใจโดยช่างมืออาชีพมากประสบการณ์ ช่างรับเหมา ต่อเติมโรงรถ รับเหมา ต่อเติมโรงรถ ข้อมูลช่างรับเหมางานต่อเติมโรงรถ ผลงานของเรา
หลังคาโรงรถราคาเขตบางซื่อ
หลังคาโปร่งแสงเขตบางซื่อ
แบบหลังคาโรงรถเขตบางซื่อ
หลังคาโพลีคาร์บอเนตเขตบางซื่อ
หลังคาไวนิลราคาเขตบางซื่อ
เขตบางซื่อหลังคาไวนิลยี่ห้อไหนดี
หากถามว่า การมีช่างชุมชน หรือช่างในชุมชน มีความจำเป็นหรือไม่
คำตอบที่ได้จากพี่น้องในชุมชนส่วนใหญ่ก็จะบอกว่า จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีช่างชุมชน ทั้งนี้ ช่างชุมชนนั้นมีความหมายทั้งคนในชุมชนเองที่สามารถทำงานก่อสร้างได้ มีทักษะงานฝีมือ งานช่างและรวมหมายถึง คนที่มีความรู้ในการก่อสร้างและผ่านการอบรมช่างชุมชน จากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(องค์การมหาชน) ทำบทบาทหน้าที่ในฐานะผู้สนับสนุนให้งานการก่อสร้างบ้านมั่นคงในชุมชนดำเนินลุล่วง
ดังนั้น ในการริเริ่มงานบ้านมั่นคงจึงควรอย่างยิ่งที่จะต้องมีช่างชุมชนร่วมอยู่ในขบวนด้วย นับตั้งแต่การวางผังและการออกแบบการวางระบบสาธารณูปโภคชุมชน การก่อสร้างจนกระทั่งแล้วเสร็จและรวมทั้งตรวจรับงาน
ขณะเดียวกัน ต้องยอมรับว่างานของท้องถิ่น เช่น เทศบาลนั้นมีมาก ในขณะที่คนทำงานในเทศบาลเองนั้นมีจำนวนน้อย การดูแล การจัดการงานอาจไม่ทั่วถึง ยิ่งในการก่อสร้างบ้านมั่นคงที่จำเป็นต้องร่วมมือการทำงานกับท้องถิ่นด้วยแล้ว งานอาจจะล่าช้าเพราะคนของท้องถิ่นไม่สามารถเข้ามาร่วมจัดการได้ ดังนั้นการมีช่างชุมชนจึงเป็นทางออกในแนวทางสร้างความร่วมมืออย่างหนึ่งทั้งนี้เพื่อทำให้การร่วมมือกับท้องถิ่นเกิดขึ้นได้เร็วโดยผ่านกลไกจัดการอย่างช่างชุมชน แล้วก็ยังทำให้งานการก่อสร้างบ้านของชุมชนดำเนินไปได้อย่างสบายใจ เพราะชุมชนเองก็จะมีช่างที่เป็นคนในชุมชนคอยดูแล เป็นหูเป็นตาในการควบคุมการก่อสร้างให้เป็นไปตามแบบที่ต้องการอีกด้วย
“แล้วช่างชุมชนมาจากไหน”
คำตอบ คือ ชาวบ้านนั่นแหล่ะที่เป็นช่างชุมชน ชาวบ้านพี่น้องในชุมชนที่มีความรู้ ทักษะในงานช่าง การก่อสร้าง แล้วชาวชุมชนเองก็เลือกสรรช่างเหล่านี้จากสมาชิกในชุมชน จนได้กลุ่มคนที่เรียกได้ว่าเป็น “ช่างชุมชน” ที่ให้ความช่วยเหลือชาวชุมชนด้วยกันเองในเรื่องการก่อสร้างบ้าน โดยที่มีสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) และภาคี สถาบันการศึกษา เข้ามาหนุนเสริมอบรมให้อีกแรงหนึ่ง
ชมรมช่างชุมชน คือ ชมรมของช่างชุมชนที่เราตั้งขึ้นมา เพื่อเข้ามาทำหน้าที่ในการช่วยเหลือ ดูแลในกรณีที่ผู้รับเหมานั้นรับเหมาในราคาสูง ชมรมจึงมุ่งให้ความรู้แก่ชาวบ้านและช่วยชาวบ้านช่วยพี่น้องคนจนในชุมชนด้วยกันจากไม่รู้ก็กลายเป็นผู้รู้ กลายเป็นขบวนของช่างชุมชน ที่ขับเคลื่อนงานในรูปของชมรมช่างชุมชน
ช่างชุมชน...ต่างจากช่างภายในชุมชนอย่างไร
แท้จริงแล้ว คนที่อยู่ในชุมชนแล้วมีทักษะงานช่าง งานก่อสร้าง เขาเหล่านั้นก็ล้วนแล้วแต่เป็นช่างชุมชนทั้งสิ้น หากแต่..ในกระบวนการสร้างบ้านมั่นคงนั้น ช่างชุมชนมีส่วนสำคัญอย่างมากในการก่อสร้างบ้าน ทั้งในงานการวางผัง ออกแบบ การตรวจรับงานการตรวจสอบงาน ดังนั้นช่างชุมชนจึงมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเป็นไปของโครงการ
ดังนั้น ช่างชุมชน ผู้ทำหน้าที่เช่นนี้จึงไม่สามารถที่จะลงมาเป็นผู้ปฎิบัติ ก่อสร้างเองได้ เพราะเมื่อไหร่ก็ตามที่ช่างชุมชนลงมือก่อสร้างเองแล้วล่ะก็ เขาจะไม่สามารถตรวจรับงานได้ ทำให้ต้องแยกบทบาทออกให้ชัดเจน การจัดบทบาทเช่นนี้ก็เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการทำงาน เพื่อที่จะทำให้เกิดการลงมือปฏิบัติและการตรวจรับที่เป็นธรรม และถูกต้องนั่นเอง
บทบาทช่างชุมชน
- สิ่งสำคัญ คือ ช่างชุมชนนั้นควรที่จะสร้างความเข้าใจเรื่องการก่อสร้างบ้านในชุมชน ร่วมวางแผนในการก่อสร้างร่วมกับชุมชนรวมทั้งร่วมกำหนดค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงานร่วมกับสมาชิกในชุมชน
- มุ่งให้ความรู้เรื่องการใช้วัสดุ การนำวัสดุเก่ามาใช้ประโยชน์การลดต้นทุนการสร้างบ้าน การวิเคราะห์งบประมาณการก่อสร้างช่วยคนในชุมชนในการควบคุมและการก่อสร้างให้ได้มาตรฐาน ช่วยเหลือดูแลระบบการทำงาน การตรวจสอบ และควบคุมดูแลการทำงานร่วมกันในการใช้วัสดุ ระหว่างช่างและเจ้าของบ้าน
- ดูแลเรื่องระบบการเบิกจ่ายงบประมาณ และระบบช่างชุมชนส่งเสริมให้เกิดการจัดการระบบชุมชน ให้ความรู้การวางแผนการออกแบบก่อสร้าง และการประมาณค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน การติดตามประเมินผล การพัฒนาคนที่จะทำงานในชุมชน
- ทำให้เกิดการช่วยเหลือกันและการเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายในแต่ละชุมชน เช่น การตรวจทาน การตรวจโครงการร่วมกัน
- สร้างมาตรฐานด้านราคาค่าแรงร่วมกันของแรงงานในเครือข่าย ทำให้ต้นทุนด้านการก่อสร้างที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อยลดลง
- ขบวนการช่างชุมชนช่วยเหลือกันในการก่อสร้างในโครงการที่มีความเร่งด่วน ตัวอย่างกรณีที่ไฟไหม้ น้ำท่วม ช่างชุมชนจะร่วมกันลงพื้นที่เพื่อช่วยเหลือและก่อสร้างบ้านให้ทันกับปัญหาและความต้องการ และเกิดระบบการช่วยเหลือกันและกัน และทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้เรื่องการก่อสร้างบ้านและทำให้เกิดการพัฒนาตนเองของช่างชุมชน ทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ช่างชุมชนร่วมก่อสร้างมีกระจายตัวอยู่ตามโครงการต่างๆ
ช่างชุมชนทำให้เกิดประโยชน์ ดังนี้
- ดูแลเงินกองทุนวัสดุ
- พัฒนาคนในชุมชนให้มีความรู้เรื่องอาชีพช่าง
- ลดต้นทุนการผลิต /โปร่งใส
- รู้ราคาวัสดุ รู้ราคา ไม่ถูกโกง
- บริหารจัดการวัสดุก่อสร้าง
- ได้ช่วยเหลือคนจนด้วยกัน
- เรียนรู้การทำงานจากการปฏิบัติจริง
- การสร้างช่างชุมชน รู้มาตรฐานการทำงานก่อสร้าง
บทเรียนเรื่องช่างชุมชนและการก่อสร้างบ้านมั่นคง
- ประโยชน์ของการดำเนินการก่อสร้างที่อยู่อาศัยโดยช่างชุมชน
- ช่วยลดต้นทุนการก่อสร้างของเจ้าของบ้าน
- พัฒนาคนในชุมชนให้มีความรู้ความชำนาญเรื่องการก่อสร้าง สามารถนำไปประกอบอาชีพได้ในอนาคต ยกระดับการทำงานของผู้ที่เป็นช่างอยู่แล้ว เช่น เรื่องการถอดแบบ การประเมินราคาการวางแผนก่อสร้าง ความรู้เรื่องวัสดุ การลดต้นทุนการก่อสร้างเป็นต้น
- สร้างอาชีพและกระจายรายได้ให้คนในชุมชน ทำเงินให้หมุนเวียนอยู่ในชุมชน
- ให้คนจนได้ช่วยเหลือคนจนด้วยกันเอง สร้างการพึ่งตนเองของชุมชนทางด้านเทคนิคการก่อสร้าง
- เป็นการพัฒนาระบบการบริหารการจัดการงานก่อสร้างของชุมชนให้มีความโปร่งใส ถูกต้อง ประหยัด มีประสิทธิภาพ สามารถติดตามตรวจสอบ ประเมินความก้าวหน้าและปรับปรุงการทำงานได้อย่างต่อเนื่อง