9411405

เข็มเจาะนครปฐม โทร: 084-2986894

หมวดหมู่สินค้า: rtd7 ตอกเสาเข็ม

16 มีนาคม 2565

ผู้ชม 81 ผู้ชม

 
 
บริษัทรับเหมาตอกเสาเข็ม ไมโครไพล์ เสาเข็มเจาะ เสาเข็มสปัน เน้นคุณภาพ รวดเร็วทันเวลา ราคาโรงงานกดเข็มไฮโดรลิคไมโครไพล์ แก้ปัญหาบ้านทรุดตัว เข้าพื้นที่แคบได้ ดูหน้างานฟรี ผลงานของเรา
เสาเข็มเจาะนครปฐม
บริษัทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์นครปฐม
เสาเข็มตอกนครปฐม
รับตอกเสาไมโครไพล์นครปฐม
รับตอกเสาเข็มนครปฐม
นครปฐม ตอกเสาเข็ม Micropile
ปั้นจั่นตอกเสาเข็มนครปฐม
รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์นครปฐม
ราคาเข็มเจาะนครปฐม
ลงเสาเข็มราคานครปฐม
 
                                ติดต่อสอบถาม     

 
รับเจาะเสาเข็ม รับทำเสาเข็มเจาะนครปฐม รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มสปัน
รับเจาะเสาเข็ม รับทำเสาเข็มเจาะนครปฐม รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มสปัน
บริษัทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์นครปฐม บริษัทรับทำเสาเข็มเจาะ คุณภาพเสาเข็มถูกต้องตามมาตรฐานสากล มีผลงานรับทำเสาเข็มเจาะ รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์
ไมโครไพล์นครปฐม
เสาเข็มไมโครไพล์นครปฐม
เสาเข็มสปันไมโครไพล์นครปฐม
เข็มเจาะนครปฐม
ราคาเข็มเจาะนครปฐม
ราคาเสาเข็มเจาะนครปฐม
 
ประเภทของเสาเข็ม
 
1. เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กปัจจุบันไม่นิยมมากนักเนื่องจากไม่ประหยัด จึงใช้เข็มคอนกรีตอัดแรงแทน เสาเข็มเสริมเหล็กนิยมหล่อในหน่วยงาน โดยออกแบบเหล็กเสริม
ตามยาวให้เพียงเพื่อรับโมเมนต์ดัดจากการเคลื่อนย้าย และการตอก ผลงานของเรา

 
เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงหรือเสาเข็มตอก
 
ทาง PPB เป็นตัวแทนจำหน่ายเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง ทั้งเสาเข็มสีเหลี่ยมตัน และเสาเข็มไอ ที่มีคุณภาพ ได้ผ่านการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.)
ซึ่งมีเสาเข็มหลากหลายรูปแบบในขนาดที่เหมาะสมกับการใช้งานครบทุกประเภท พร้อมบริการปั้นจั่นตอกเสาเข็มราคาพิเศษ
 
 
1. ตรวจสอบตำแหน่งของเสาเข็มที่จะตอก แล้วจึงเคลื่อนย้ายปั้นจั่นตอกเสาเข็ม มาประกอบในสถานที่ก่อสร้าง เพื่อเตรียมการตอกเสาเข็ม
 
2. วิศวกรควบคุมงานควรวางแผนในการตอกและเคลื่อนย้ายเสาเข็มโดยให้มีการตอกเสาเข็มได้อย่างต่อเนื่องและเคลื่อนที่ปั้นจั่นตอกให้น้อยที่สุด
 
3. เมื่อติดตั้งปั้นจั่นเรียบร้อยแล้ว จึงทำการยกเสาเข็มขึ้นเพื่อเตรียมตอก ในขั้นตอนนี้ต้องระวังเพราะเสาเข็มอาจเสียหายได้
 
4. ก่อนจะลงมือตอกเสาเข็ม ต้องตรวจสอบความได้ดิ่งของเสาเข็มทั้งสองด้านของเสาเข็มว่าได้ดิ่งและตั้งตรงกับตำแหน่งการตอกเสาเข็มหรือไม่
    เมื่อเสาเข็มได้ดิ่งแล้วให้ทำเครื่องหมายในแนวราบเพื่อไว้ตรวจสอบการเยื้องศูนย์ของเสาเข็มระหว่างตอก
 
5. ทำการตอกเสาเข็มโดยใช้ลูกตุ้มแบบปล่อยตก (Drop Hammer) ลูกตุ้มมีขนาดตั้งแต่ 2.5-7 ตัน การเลือกใช้ลุกตุ้มอยู่ระหว่าง 0.70-2.5 เท่า
    ของน้ำหนักเสาเข็ม ระยะยกลูกตุ้มโดยทั่วไปมีระยะ 30-80 ซม. ในการตอกเสาเข็มต้องมีหมวกเสาเข็มเพื่อป้องกันการแตกร้าว และเพิ่มประสิทธิภาพ
    ในการส่งถ่ายแรงในกรณีที่เสาเข็มมีความยาวมากๆ ต้องมีการต่อเสาเข็มโดยใช้แผ่นเหล็กเชื่อมรอบให้แข็งแรง
 
6. การนับจำนวนครั้งในการตอกเสาเข็ม (Blow Count) เพื่อหาความหนาแน่นของชั้นดินหรือชั้นดินที่รับน้ำหนักบรรทุกของบ้านหรืออาคารได้
    และจะทำการหยุดการตอกเสาเข็มแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ
 
    6.1 การนับการตอก 10 ครั้งสุดท้าย (Last Ten Blow) เป็นการตรวจสอบระยะจมของเสาเข็ม 10 ครั้งสุดท้ายว่าจมลงไปไม่มากกว่าหรือเท่ากับค่า
          ที่คำนวณได้ โดยคำนวณจากสูตรในตารางที่ หากได้ตามที่คำนวณก็ให้ยุติการตอก ในกรณีนี้ผู้ควบคุมงานต้องคอยดูการปล่อยลูกตุ้มต้องปล่อย
          อย่างเสรีโดยสังเกตจากเชือกเวลาลูกตุ้มกระทบหัวเสาเข็ม เชือกจะหย่อน ถ้าเชือกตึงแสดงว่าไม่ปล่อยลูกตุ้มอย่างเสรี ให้ทำการนับใหม่จนได้
 
    6.2 Blow Count เป็นการนับจำนวนครั้งที่ตอกเสาเข็มจมลง 0.30 ม. หรือ 1 ฟุต ซึ่งจะทำระยะในการนับ Blow Count ในกรณีที่ตอกเสาเข็มได้
          โดยไม่ต้องใช้เสาส่งให้ทำเครื่องหมายทุกระยะ 1 ฟุต ในช่วง 3 เมตรสุดท้ายของโคนเสาเข็ม ถ้าต้องใช้เสาส่งให้ทำเครื่องหมายทุกระยะ 1 ฟุต
          ในช่วง 1.5 เมตรสุดท้ายของโคนเสาเข็ม หรือขึ้นอยู่กับเสาเข็มที่จะส่งลงไป หากเห็นว่าจำนวนครั้งในการตอกสูงเกินไปอาจทำให้เสาเข็มเสียหายได้
          อาจสั่งให้ตรวจสอบ Last Ten Blow หากการจมลงของเสาเข็มได้ตามค่าที่คำนวณได้ก็ยุติการตอก บางครั้งจำนวนครั้งในการตอกในช่วง 0.30 ม.
          อาจลดลงผิดปกติ อาจจะเป็นเพราะเสาเข็มหักหรือเสาเข็มทะลุลงไปถึงชั้นดินอ่อน ในกรณีเหล่านี้ผู้ควบคุมงานจะต้องทำการบันทึก
          แล้วจึงรายงานให้วิศวกรผู้รับผิดชอบทราบทันที
 
7. เมื่อตรวจสอบ Blow Counts เรียบร้อยแล้ว แสดงว่าเสาเข็มอยู่ที่ความลึกที่สามารถรับน้ำหนักบรรทุกได้ เป็นการเสร็จสิ้นการตอกเสาเข็ม
 
ข้อควรปฏิบัติในการตอกเสาเข็มทุกชนิด
ข้อควรปฏิบัติในการตอกเสาเข็มทุกชนิดการตอกเสาเข็มไม่ว่าจะเป็นเสาเข็มชนิดใดก็ตาม สำหรับผู้ตอกเสาเข็มจะต้องมีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับการตอกเสาเข็มได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังคงสามารถระบุจุดที่จะทำการตอกเสาเข็มได้อย่างชัดเจน เพื่อที่จะสามารถปฏิบัติการ และทำการตอกเสาเข็มได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการตอกเสาเข็มนั้น จำเป็นจะต้องมีข้อปฏิบัติดังนี้1.จะต้องมีการครอบหัวเสาเข็มก่อน พร้อมทั้งหมอนรองรับหัวเสาเข็มที่จะทำการตอก เพื่อที่จะสามารถกันไม่ให้เสาเข็มแตกหักได้2.ในส่วนของการกระแทกของลูกตุ้ม ที่จะทำกาตอกบนหัวของเสาเข็มนั้น จำเป็นจะต้องลงเต็มหน้า และจะต้องได้ฉากกับแกนของเสาเข็มโดยตรงด้วย3.การตอกเสาเข็มในแต่ละครั้ง จะต้องหยุดการตอกเสาเข็มทันที ก่อนที่เสาเข็มจะเสียหายเนื่องจาก Overdriving4.ในกระบวนการตอกเสาเข็มนั้น จะต้องหยุดการตอกทันที ที่มีการทรุดตัวของเสาเข็ม ซึ่งแสดงถึงความต้านทานในการตอกสูงพอกับความต้องการ เมื่อผลของการตอกเสาเข็มมีลักษณะดังนี้-เสาเข็มไม้ 4 – 5 blows ต่อนิ้วเท่านั้น- เสาเข็มคอนกรีต 6 – 8 blows ต่อนิ้วเท่านั้น-ในส่วนของเสาเข็มเหล็ก 12 – 15 blows ต่อนิ้ว5.ในส่วนของลักษณะของเสาเข็มที่จะทำการตอก หากมีการแสดงให้เห็นว่าเสามีอาการชำรุดเสียหายอยู่แล้ว หรือมีลักษณะอาการให้เห็นว่า มีการทรุดตัวของเสาเข็มขณะที่ตอก และ เสาเข็มเปลี่ยนทิศทางทันทีทันใด6.การตอกเสาเข็มในปริมาณหรือจำนวนมาก ๆ ภายในบริเวณที่ทำการก่อสร้าง โดยเฉพาะห้องใต้ดิน เมื่อทำการตอกเสาเข็มเสร็จใหม่ ๆ ไม่ควรขุดดินทันที ควรที่จะปล่อยเอาไว้ประมาณ 1 เดือนก่อน เป็นเพราะดินเมื่อถูกเสาเข็มตอกจะถูกรบกวน การขุดดินทันทีหลังจากตอกเสาเข็ม จะทำให้เกิดการเลื่อนไถลของตัวดิน ส่งผลทำให้เสาเข็มที่ตอกเอาไว้แล้ว เกิดอาการเสียหายได้7.การตอกเสาเข็มกลุ่ม จะต้องตอกเสาเข็มจากต้นกลางกลุ่มออกไปเท่านั้นในส่วนของข้อควรปฏิบัติในการตอกเสาเข็ม เปรียบเสมือนเป็นกฎหรือข้อบังคับ เพื่อให้ผู้ตอกเสาเข็มได้ตระหนักและกระทำตาม เนื่องจากข้อควรปฏิบัติต่าง ๆ เหล่านี้ ประหนึ่งเป็นสูตรเพื่อให้เกิดการตอกเสาเข็มที่มีคุณภาพนั่นเอง
 
Engine by shopup.com