รับตอกเสาไมโครไพล์แบริ่ง โทร: 084-2986894
หมวดหมู่สินค้า: rtd7 ตอกเสาเข็ม
16 มีนาคม 2565
ผู้ชม 78 ผู้ชม
บริษัทรับเหมาตอกเสาเข็ม ไมโครไพล์ เสาเข็มเจาะ เสาเข็มสปัน เน้นคุณภาพ รวดเร็วทันเวลา ราคาโรงงานกดเข็มไฮโดรลิคไมโครไพล์ แก้ปัญหาบ้านทรุดตัว เข้าพื้นที่แคบได้ ดูหน้างานฟรี ผลงานของเรา
เสาเข็มเจาะแบริ่ง
บริษัทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์แบริ่ง
บริษัทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์แบริ่ง
เสาเข็มตอกแบริ่ง
รับตอกเสาไมโครไพล์แบริ่ง
รับตอกเสาเข็มแบริ่ง
แบริ่ง ตอกเสาเข็ม Micropile
ปั้นจั่นตอกเสาเข็มแบริ่ง
รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์แบริ่ง
ราคาเข็มเจาะแบริ่ง
ลงเสาเข็มราคาแบริ่ง
รับเจาะเสาเข็ม รับทำเสาเข็มเจาะแบริ่ง รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มสปัน
รับเจาะเสาเข็ม รับทำเสาเข็มเจาะแบริ่ง รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มสปัน
บริษัทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์แบริ่ง บริษัทรับทำเสาเข็มเจาะ คุณภาพเสาเข็มถูกต้องตามมาตรฐานสากล มีผลงานรับทำเสาเข็มเจาะ รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์
ไมโครไพล์แบริ่ง
เสาเข็มไมโครไพล์แบริ่ง
เสาเข็มสปันไมโครไพล์แบริ่ง
เข็มเจาะแบริ่ง
ราคาเข็มเจาะแบริ่ง
ราคาเสาเข็มเจาะแบริ่ง
ประเภทของเสาเข็ม
1. เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กปัจจุบันไม่นิยมมากนักเนื่องจากไม่ประหยัด จึงใช้เข็มคอนกรีตอัดแรงแทน เสาเข็มเสริมเหล็กนิยมหล่อในหน่วยงาน โดยออกแบบเหล็กเสริม
ตามยาวให้เพียงเพื่อรับโมเมนต์ดัดจากการเคลื่อนย้าย และการตอก ผลงานของเรา
ลักษณะการตอกเสาเข็ม มีกี่แบบ
ลักษณะการตอกเสาเข็ม มี
การตอกเสาเข็ม หมายถึงกรรมวิธีใดๆ ก็ตาม ที่ทําให้เข็มอยู่ใต้ดิน ณ ตําแหน่งที่เรา
ต้องการ พร้อมที่จะรับน้ำหนักบรรทุกจากอาคารได้ วิธีการตอกเสาเข็มมีอยู่หลายแบบด้วยกัน เช่น
1. Drop hammer เปนวิธิที่เก่าแก่ ที่สุดและยังคงใช้อยู่ในปัจจุบัน ประกอบด้วยปั่นจั่นตัวใหญ่พร้อมทั้งลูกตุ้มที่สามารถเลื่อนขึ้นลงได้ ตามความต้องการโดยใช้สายลวดสลิงเป็นตัวยกลูกตุ่มให้สูงขึ้นแล้วปล่อยตกลงมาบนหัวเสาเข็มลูกตุ่มที่ต้องไม่น้อยกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ของนํ้าหนักของเสาเข็มสําหรับเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก
2. Steam hammer ประกอบด้วยกรอบเหล็กสั้นๆ ซึ่งเป็นรางวางให้ลูกตุ่มวิ่งขึ้นวิ่งลงการบังคับลูกตุ้มบังคับด้วยการระเบิดของไอนํ้าหรือแรงกดของอากาศ Steam hammer มีระยะยกคงที่ตอกรัวและเร็วทำการตอกเสาเข็มสม่ำเสมอ และมีการสั่นสะเทือนคงที่ การเสียหายเนื่องจากการตอกวิธีนี้น้อยกว่าวิธี (Drop hammer)
3. Water jet การตอกวิธีนี้
เราต้องฝังท่อไว้ในเสาเข็ม แล้วอัดน้ำลงไปตามท่อด้วยความดันสงไปอยู่ปลายของเสาเข็ม แรงกดดันนํ้าจะทําให้ดินรอบๆ ปลายเสาเข็มหลวม ทําให้เข็มจมลงด้วยนํ้าหนักตัว
มันเอง การตอกเข็มวิธีนี้ เหมาะที่จะใช้กับดินกรวดหรือทราย หรือกับเสาเข็มที่ออกแบบให้รับนํ้าหนักที่ปลาย เพราะถ้าตอกบริเวณดินหนียวจะทําให้ดินเหนียวรอบๆ เสาเข็มเป็นนํ้าโคลน ถ้าตอกบริเวณดินตะกอนทำให้ ดินตะกอนมีลักษณะกึ่งของไหล
4. Jacking ถ้าต้องการตอกบริเวณที่มีระยะยกไม่สูงนัก หรือบริเวณที่จะทําให้เกิดการสั่นสะเทือนไม่ได้ เราต้องใช้ Hydraulic Jack กดเสาเข็มให้เสาเข็มจมลง
เสาเข็ม รากฐานสำคัญของบ้าน เรื่องน่ารู้ที่หลายคนมองข้าม
เพราะ เสาเข็ม เป็นหลักสำคัญของการสร้างบ้าน แต่น้อยคนนักที่จะรู้จักมันจริง ๆ วันนี้เลยขอนำข้อมูลเกี่ยวกับ เสาเข็ม มาเล่าใหม่ตั้งแต่หน้าที่ความสำคัญกันเลย
เมื่อเร็ว ๆ นี้มีข่าวเกี่ยวกับโครงการบ้านที่ไม่ได้มาตรฐาน ซึ่งลามไปถึงเรื่องเสาเข็มแตกหัก จนเป็นเหตุให้ผนังร้าวและบ้านทรุดทั้งหลังจนยากเกินเยียวยา ฉะนั้นกระปุกดอทคอมเลยขอนำเรื่องราวเกี่ยวกับ เสาเข็ม จากเว็บไซต์ Terrabkk มาเล่าสู่กันฟัง ว่าเจ้าเสาเข็มที่เขาว่าสำคัญนักหนา มันสำคัญขนาดไหน แต่ละประเภทแตกต่างกันอย่างไร และมีข้อดีข้อเสียตรงไหนบ้าง
“เสาเข็ม” รากฐานที่สำคัญของบ้าน (Terrabkk)
จากกระแสข่าวในปัจจุบันเกี่ยวกับปัญหาการก่อสร้างที่ไม่ได้มาตรฐานของเหล่าโครงการหมู่บ้านจัดสรรหรือโครงการคอนโดมิเนียมหลาย ๆ แห่ง ไม่ว่าจะเป็น ดินทรุด ผนังร้าว และอื่น ๆ อีกมายมาย TerraBKK จึงจะพาท่านผู้อ่านไปทำความเข้าใจเกี่ยวกับวัสดุก่อสร้างประเภทต่าง ๆ ในครั้งนี้จะนำเสนอเรื่อง “เสาเข็ม” เสาเข็มมีประเภทอะไรบ้าง สำคัญอย่างไร ทำหน้าที่อะไร เสาเข็มแต่ละประเภทต่างกันอย่างไร
เสาเข็ม เป็นส่วนที่ถือว่าสำคัญที่สุดของอาคาร ทำหน้าที่ในการค้ำยันอาคาร ถ่ายน้ำหนักของตัวบ้านลงสู่พื้นดิน ลักษณะของการรับน้ำหนักเสาเข็มมีด้วยกัน 2 ประเภท คือ การรับน้ำหนักจากตัวเสาเข็ม และการรับน้ำหนักจากชั้นดิน ซึ่งการรับน้ำหนักจากชั้นดินเป็นการใช้แรงเสียดทานของดินในการรับน้ำหนัก (Skin Friction) ร่วมกับการใช้ปลายของเสาเข็มในการรับแรงกดดันของดิน (End Bearing) โดยลักษณะของการตอกเสาเข็มเราจะตอกลงไปถึงชั้นทราย เนื่องจากเป็นชั้นที่สามารถรับน้ำหนักได้ดีที่สุด ถ้าหากตอกไม่ถึงชั้นทรายในระยะยาวจะทำให้อาคารทรุดได้ แต่ละจังหวัดก็จะมีความลึกของชั้นทรายไม่เท่ากัน อีกทั้งระยะห่างของเสาเข็มสำคัญเช่นกัน ปกติแล้วต้องมีระยะห่างอย่างน้อย 3 เท่าของขนาดความกว้างเสาเข็ม เพื่อไม่ให้แรงระหว่างดินกับเสาเข็มถูกรบกวน เสาเข็มมีด้วยกันหลายประเภทขึ้นอยู่กับลักษณะของงานที่นำไปใช้ประเภทของเสาเข็ม ได้แก่
1. เสาเข็มตอก
มีทั้งเสาไม้ เสาเหล็ก และเสาคอนกรีต ส่วนมากจะนิยมใช้เสาเข็มคอนกรีต เนื่องจากราคาถูกกว่าเสาเหล็กและแข็งแรงกว่าเสาไม้ สำหรับเสาคอนกรีตแบ่งย่อยได้ 2 ชนิด ได้แก่ เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก และเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรง เสาคอนกรีตอัดแรงจะเป็นที่นิยมมากที่สุด เพราะหน้าตัดเล็กกว่าทำให้เวลานำไปตอกจะส่งผลกระทบต่ออาคารข้างเคียงน้อยกว่า เสาเข็มตอกมีด้วยกันหลายรูปแบบ ทั้งแบบสี่เหลี่ยม แบบกลม แบบตัว I และแบบตัว T เป็นต้น เสาเข็มตอกสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ราว ๆ 10-120 ตันต่อต้น
วิธีการตอกเสาเข็ม
ต้องใช้ปั้นจั่นในการตอกลงไปในดิน โดยช่วงสุดท้ายซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการตอกเสาเข็ม จะต้องมีการตรวจสอบการตอก 10 ครั้งสุดท้าย (Last Ten Blow) เข็มที่ตอกมีการทรุดตัวกว่าค่าที่กำหนดไว้หรือไม่ ถ้าหากทรุดตัวมากเกินกว่าค่าที่กำหนดไว้แสดงว่ายังไม่สามารถรับน้ำหนักได้ดีพอ
ข้อเสียของเสาเข็มตอก
คืออาจจะไม่สะดวกสำหรับไซต์งานที่มีพื้นที่แคบ ๆ เนื่องจากต้องขนส่งด้วยรถขนาดใหญ่ ทำให้ไม่สามารถเข้าสู่ไซต์งานที่อยู่ในพื้นที่แคบ ๆ ได้
2. เสาเข็มเจาะระบบแห้ง
เป็นเสาเข็มที่เข้ามาแก้ปัญหาเสาเข็มแบบตอกซึ่งไม่สะดวกสำหรับการขนย้าย ให้สามารถทำงานในสถานที่แคบ ๆ เสาเข็มเจาะระบบแห้งเป็นการทำเสาเข็มแบบหล่อในที่ มีรูปร่างหน้าตาเป็นวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 40-60 เซนติเมตร สามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ราว ๆ 25-60 ตันต่อต้น ความยาวประมาณ 20–30 เมตร
วิธีการทำเสาเข็มเจาะแบบแห้ง
สามารถเจาะโดยใช้ขาตั้ง 3 ขา แล้วใช้ลูกตุ้มเหล็กหรือกระบะตักดินกระแทกลงไปในดินลึกประมาณ 1 เมตร หลังจากนั้นนำปลอกเหล็กตอกลงไปในหลุมเจาะ โดยปกติจะลงไปลึกประมาณ 12-14 เมตร ซึ่งระดับความลึกระดับนี้จะเป็นชั้นดินเหนียวอ่อน หลังจากนั้นทำการเจาะดินโดยทิ้งกระบะตักดินลงไปในปลอกเหล็ก แล้วตักขึ้นมาทิ้งบริเวณปากหลุม การเจาะดินจะทำการเจาะไปถึงชั้นทรายแล้วจึงหยุดเจาะ เนื่องจากชั้นทรายจะมีน้ำไหลซึมออกมาตลอดซึ่งจะทำให้ก้นหลุมพัง หลังจากนั้นใส่เหล็กเสริมลงไปในปลอกเหล็ก แล้วเทคอนกรีตลงไปในปลอกเหล็ก หลังจากเทเสร็จให้รีบดึงปลอกเหล็กขึ้นทันที
เสาเข็มเจาะระบบแห้ง
มีข้อดีคือเข้าทำงานในที่แคบ ๆ ได้ แต่ข้อเสียคือรับน้ำหนักได้ค่อนข้างน้อย
3. เสาเข็มเจาะระบบเปียก
เป็นเสาเข็มแบบคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อในที่ รูปหน้าตัดทรงกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.75-1.50 เมตร สามารถรับน้ำหนักได้ถึง 150-900 ตัน/ต้น เสาเข็มระบบนี้จะเหมาะกับงานก่อสร้างที่มีขนาดใหญ่ เช่น อาคารสำนักงาน คอนโดมิเนียม ศูนย์การค้าขนาดใหญ่ เป็นต้น เสาเข็มระบบนี้เมื่อเจาะลงลึกกว่า 20 เมตร จะต้องใช้ละลาย Bentonite ใส่ลงไปในหลุมเจาะ เพื่อผลักน้ำออกไปจากชั้นทรายเพื่อให้สามารถเทคอนกรีตลงไปได้