9476244

เสาเข็มเจาะรามอินทรา โทร: 084-2986894

หมวดหมู่สินค้า: rtd7 ตอกเสาเข็ม

16 มีนาคม 2565

ผู้ชม 82 ผู้ชม

 
 
บริษัทรับเหมาตอกเสาเข็ม ไมโครไพล์ เสาเข็มเจาะ เสาเข็มสปัน เน้นคุณภาพ รวดเร็วทันเวลา ราคาโรงงานกดเข็มไฮโดรลิคไมโครไพล์ แก้ปัญหาบ้านทรุดตัว เข้าพื้นที่แคบได้ ดูหน้างานฟรี ผลงานของเรา
เสาเข็มเจาะรามอินทรา
บริษัทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์รามอินทรา
เสาเข็มตอกรามอินทรา
รับตอกเสาไมโครไพล์รามอินทรา
รับตอกเสาเข็มรามอินทรา
รามอินทราตอกเสาเข็ม Micropile
ปั้นจั่นตอกเสาเข็มรามอินทรา
รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์รามอินทรา
ราคาเข็มเจาะรามอินทรา
ลงเสาเข็มราคารามอินทรา
 
                                ติดต่อสอบถาม     

 
รับเจาะเสาเข็ม รับทำเสาเข็มเจาะรามอินทรารับตอกเสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มสปัน
รับเจาะเสาเข็ม รับทำเสาเข็มเจาะรามอินทรารับตอกเสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มสปัน
บริษัทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์รามอินทราบริษัทรับทำเสาเข็มเจาะ คุณภาพเสาเข็มถูกต้องตามมาตรฐานสากล มีผลงานรับทำเสาเข็มเจาะ รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์
ไมโครไพล์รามอินทรา
เสาเข็มไมโครไพล์รามอินทรา
เสาเข็มสปันไมโครไพล์รามอินทรา
เข็มเจาะรามอินทรา
ราคาเข็มเจาะรามอินทรา
ราคาเสาเข็มเจาะรามอินทรา
 
ประเภทของเสาเข็ม
 
1. เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กปัจจุบันไม่นิยมมากนักเนื่องจากไม่ประหยัด จึงใช้เข็มคอนกรีตอัดแรงแทน เสาเข็มเสริมเหล็กนิยมหล่อในหน่วยงาน โดยออกแบบเหล็กเสริม
ตามยาวให้เพียงเพื่อรับโมเมนต์ดัดจากการเคลื่อนย้าย และการตอก ผลงานของเรา


ตอกเสาเข็ม
 
เสาเข็มตอก คือ เสาเข็มที่ต้องใช้ปั้นจั่นตอกเสาเข็มลงไปในดินจนได้ความลึกที่ต้องการ ซึ่งเป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากมีวิธีการก่อสร้างไม่ซับซ้อนและค่าใช้จ่ายไม่สูง แต่ในปัจจุบันมีปัญหาในการก่อสร้างในพื้นที่ที่มีอาคารรอบข้าง เนื่องจากแรงสั่นสะเทือนในการตอกและการเคลื่อนตัวของดินที่ถูกแทนที่ด้วยเสาเข็ม เสาเข็มตอกมีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ
1.หัวเสาเข็ม (Head) คือ ส่วนบนสุดของเสาเข็มที่รองรับแรงกระแทกจากการตอกเสาเข็ม
 
2.ตัวเสาเข็ม (Foot) คือ ส่วนลำตัวของเสาเข็มมีพื้นที่ผิวมากกว่าส่วนอื่นๆ ทำหน้าที่รับแรงฝืดระหว่างเสาเข็มกับดิน
 
3.ปลายเสาเข็ม (Tip) คือ ส่วนล่างสุดของเสาเข็ม ทำหน้าที่เจาะทะลุชั้นดินและรับแรงแบกทาน มีหลายรูปแบบแล้วแต่ชนิดของดินที่ตอกผ่าน ได้แก่
 
ปลายหัวป้าน เหมาะกับการตอกผ่านดินอ่อน
ปลายหัวเข็ม เหมาะกับการตอกผ่านดินอ่อน โดยสวนปลายปักลงชั้นดินดานหรือ ทราย
ปลายหัวดินสอ เหมาะกับการตอกผ่านดินเหนียว กรวด ทราย โดยปลายเป็นเหล็กหล่อ
ปลายหัวปากกา เหมาะกับการตอกผ่านชั้นหิน
 
4.แผ่นเหล็กหัวเสาเข็ม (Driving Head) คือ แผ่นเหล็กที่ปิดทับบนหัวเสาเข็มซึ่งถูกยึดด้วยเหล็กสมอเทฝังเข้าเนื้อคอนกรีต ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักการกระทบของตุ้มและใช้สำหรับเชื่อมต่อระหว่างเข็มท่อนบนและล่าง
 
งานเสาเข็มตอก เป็นจุดเริ่มต้นของความมั่นคงแข็งแรงของงานก่อสร้าง ดังนั้นเพื่อให้การตอกเสาเข็มได้คุณภาพตามที่ได้ออกแบบไว้ จึงจำเป็นต้องมีการวางแผนการตอกอย่างรอบคอบ ซึ่งสรุปเป็นขั้นตอนพอสังเขปได้ดังนี้
 
ขั้นตอนที่ 1: เตรียมการก่อนตอกเสาเข็ม
 
ศึกษาแบบแปลน และผังโครงการ
วางแผนการตอกเสาเข็ม (Piling Sequence)
จัดเตรียมแบบฟอร์มที่ใช้ในการตอกเข็ม (Daily piling record/Pile driving record)
กำหนดวิธีการทดสอบเข็ม (Pile load test)
ทำ Pilot test pile โดยจำนวน Pilot pile คิดตามสัดส่วนของพื้นที่โครงการ
จัดทำเอกสารรายการคำนวณเสาเข็ม และ รายการคำนวณ Blow count
 
ขั้นตอนที่ 2: ตอกเสาเข็มทดสอบ (Pilot Pile Test)
 
วางผังโครงการตามพิกัดค่า Coordinate ที่แบบแปลนกำหนด โดยอ้างอิงจากหมุด BM เดิม (from existing building )
ตรวจสอบตำแหน่งเสาเข็มอ้างอิงตามค่า Coordinate ของโครงการและแบบแปลนที่จัดทำขึ้นโดย Designer (Recheck By Consultant)
ทำการตอกเสาเข็มตัวอย่าง (Pilot test pile) เพื่อหาขนาด และ ความยาวของเสาเข็ม และเสนอขออนุมัติจากเจ้าของ (Owner) โครงการ
เมื่อ Owner อนุมัติขนาดความยาวพร้อมรายการคำนวณ Blow count ของเสาเข็มเรียบร้อยแล้ว ก็เริ่มดำเนินการตอกเสาเข็มได้
 
ขั้นตอนที่ 3: ดำเนินการตอกเสาเข็ม
 
กำหนดจุด Start ของงานตอกเสาเข็มต้นแรกและเส้นทางการเดินปั้นจั่น (Piling Sequence)
เมื่อ Survey วางหมุดเสร็จแล้ว Foreman Recheck ต้องตรวจสอบระยะก่อนว่าถูกต้องหรือคลาดเคลื่อนจากแบบแปลนหรือไม่
ก่อนที่ปั้นจั่นจะยกเสาเข็มขึ้นตอกให้ ทำ off set ตำแหน่งของเข็ม ทั้ง 2 แกน ก่อนยกเสาเข็มขึ้นและ Recheck off set โดย Foreman อีกครั้งเพื่อให้เข็มได้ตำแหน่งที่ถูกต้อง
ก่อนทำการ Check ดิ่ง ควรตอกเข็มให้จมลงไปก่อน ประมาณ 30 – 50 cm. แล้ว Recheck off set อีกครั้งว่าคลาดเคลื่อนหรือไม่ แล้วทำการ Check ดิ่ง โดย Foreman ต้องตรวจสอบด้วยเสมอ ซึ่งการตรวจสอบต้องตรวจสอบทั้ง 2 แกน คือ ด้านหน้าและด้านข้าง โดยค่าการดิ่งไม่ควรเกิน 1 : 500 หรือ 0.1%
ก่อนตอกเสาเข็ม Foreman ต้องตรวจสอบน้ำหนักของตุ้มตอก และระยะยกของลูกตุ้มให้ได้ตามที่คำนวณไว้
 
ขั้นตอนที่ 4: การ Check Blow Count
 
Mark ระยะที่ส่วนปลายของเสาเข็มแต่ละต้นเป็นช่วงๆละ 30 cm. จำนวน 10 ช่วง หรือประมาณ 3 เมตร สุดท้าย
ตอกเสาเข็มจนถึงตำแหน่งที่ Mark ไว้ (3 m.) เริ่มทำการนับจำนวน Blow ในแต่ละช่วง (30 cm.) ทำการบันทึกค่าไว้ของแต่ละช่วงว่าได้ Blow เท่าไหร่ จนกระทั่งถึงช่วงๆหนึ่ง จำนวน Blow จะเพิ่มขึ้นมาก แต่ระยะที่เสาเข็มจมลงน้อยมาก จึงทำการนับ Blow ที่ตอก 10 ครั้งสุดท้าย (Last ten blow) แล้ววัดระยะที่เสาเข็มจมลงในการตอก 10 ครั้งสุดท้าย แล้วบันทึกค่าไว้ (ทำ 2 ครั้ง) (Last ten Blow ต้องไม่เกินจากค่าที่คำนวณไว้)
Foreman recheck ทิศทางการเยื้องศูนย์ของเข็ม บันทึกการเยื้องศูนย์
 
Tip : การควบคุมงานเสาเข็มตอก
 
Foreman ควรดูแลและควบคุมอย่างไกล้ชิด กรณีเข็มหัก หัวระเบิด หรือ มีสิ่งผิดปกติให้แจ้ง Engineer ทราบทันที
ปั้นจั่นที่ใช้ในการตอกเสาเข็มต้องอยู่ในสภาพที่แข็งแรง ตะเกียบต้องตรงไม่บิดเบี้ยว
ตุ้มที่ใช้ในการตอกเสาเข็มต้องมีน้ำหนักตามที่คำนวณ (น้ำหนักตุ้มควรอยู่ระหว่าง 0.7-2.5 เท่า ของ น้ำหนักเสาเข็ม)
การยกตุ้มและปล่อยตุ้มของปั้นจั่นต้องได้ระยะตามที่คำนวณไว้
ต้องตรวจสอบเสาเข็มให้อยู่แนวดิ่งตลอดการตอก
ระยะหนีศูนย์ของเสาเข็มในแนวราบไม่ควรเกิน 5 ซม
ระยะหนีศูนย์ของเสาเข็มในแนวดิ่งไม่ควรเกิน 0.1% ของความยาวเข็ม
 
Engine by shopup.com