9372139

ต่อเติมบ้านอย่างไรดี ไม่ให้มีปัญหาตามมา

03 มีนาคม 2565

ผู้ชม 178 ผู้ชม

บริษัทรับต่อเติมบ้าน รับรีโนเวทบ้าน รับต่อเติมบ้าน รับต่อเติมโรงรถ-ครัว รับเหมาก่อสร้างคุณภาพสูง ครบวงจร โดยทีมช่างประสบการณ์กว่า 10 ปี ไอเดียต่อเติมบ้าน เทคนิคต่อเติมบ้าน บ้านสวย คอนโด ทาวน์โฮม ทาวน์เฮ้าส์ บ้านมือสอง

ต่อเติมบ้าน
รับรีโนเวทบ้านมือสอง
ต่อเติมหลังบ้าน
ต่อเติมหน้าบ้าน
ต่อเติมครัวหลังบ้าน
ต่อเติมบ้านแบบโปร่ง
ต่อเติมข้างบ้าน

 ติดต่อสอบถาม




ต่อเติมบ้านอย่างไรดี  ไม่ให้มีปัญหาตามมา
 
หลายๆคนคงจะเคยได้ยินข่าวความเสียหายจากการต่อเติมบ้านกันมาบ้าง ไม่ว่าจะเป็นบ้านทรุด , การแตกร้าว หรือ น้ำรั่วซึม ซึ่งสิ่งเหล่านี้ถือเป็นปัญหาใหญ่ของการอยู่อาศัยเลยทีเดียวใช่มั้ยคะ สำหรับใครที่กำลังจะต่อเติมบ้านแล้วคิดว่าต่อเติมนิดๆหน่อยๆคงไม่เป็นอะไรมากนั้น วันนี้เรามีบทความเกี่ยวกับข้อควรระวังต่างๆในการต่อเติม รวมถึงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายและโครงสร้าง เพื่อให้บ้านของเราเมื่อต่อเติมไปแล้วนั้นไม่มีปัญหาบานปลายค่ะ
 
การต่อเติมบ้านนั้นถือเป็นการเพิ่มพื้นที่ใช้สอยให้กับตัวบ้าน เมื่อเราอยู่ไปซักระยะนึง เราอาจจะอยากปรับเปลี่ยนหรืออยากได้พื้นที่มากขึ้น รวมถึงการขยายครอบครัวด้วยนะคะ หลายๆคนก็ลองทำแบบงูๆปลาๆจ้างช่างมาต่อเติมเลย หรือบางครอบครัวก็ค่อยๆต่อเติมไปเรื่อยๆโดยไม่คำนึงถึงโครงสร้าง จากสิ่งที่เรากล่าวมา อาจจะทำให้มีปัญหาในการต่อเติมตามมาได้ค่ะ ก่อนที่จะทำการต่อเติม เรามาดูกันก่อนว่าโดยปกติแล้วเราสามารถต่อเติมบ้านตรงไหนได้บ้าง ถ้าแบ่งตามที่คนนิยมทำกันจะมีอยู่ 4 ส่วนด้วยกันคือ
 
ต่อเติมหน้าบ้าน เพื่อทำหลังคากันสาด, หลังคาที่จอดรถ
ต่อเติมข้างบ้าน เพื่อทำเป็นห้องอเนกประสงค์
ต่อเติมหลังบ้าน เพื่อทำเป็นครัวไทย
ต่อเติม ปรับปรุงพื้นที่ภายในบ้าน เช่น กั้นห้องเพิ่ม, ทุบผนังห้องออก
โดยการต่อเติมแต่ละแบบนั้นจะมีปัจจัยให้คำนึงหลากหลาย เราจำเป็นต้องทราบเกี่ยวกับโครงสร้างบ้านเดิมที่เราอยู่ก่อนค่ะ ว่าคืออะไรจะได้ทำการต่อเติมได้ถูกต้องและไม่มีผลกระทบกับโครงสร้าง สำหรับการต่อเติมภายนอกบ้านจะมีเรื่องของกฎหมายมาประกอบด้วย ซึ่งจะมีอะไรบ้างเราไปดูกันเลยค่ะ
 
ต่อเติมอย่างไรไม่ให้ผิดกฎหมาย
กฎหมายเป็นสิ่งที่สำคัญและไม่ควรจะมองข้ามในการต่อเติมบ้าน หากเราทำการต่อเติมไปแล้วผิดกฎหมายก็จะเดือดร้อนต้องมาทุบทิ้งกัน หรืออาจจะเกิดการร้องเรียนขึ้นทำให้เป็นปัญหาใหญ่ตามมา ทำให้เราเสียทั้งเงิน เสียทั้งเวลา สำหรับกฎหมายที่เกี่ยวกับการต่อเติมบ้านนั้นหลักๆแล้วก็จะมีเรื่องระยะต่างๆรอบตัวบ้าน 
 
ระยะห่างระหว่างอาคาร
การต่อเติมอาคารชั้นเดียว หรืออาคารที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร เช่นการต่อเติมพื้นที่ครัวด้านหลังบ้าน , ต่อเติมห้องด้านข้างรวมถึงลานจอดรถนั้น จะมีข้อกำหนดเรื่องระยะห่างของผนังและที่ดินบ้านข้างเคียง ดังนี้
 
- ผนังที่มีช่องเปิด ( เช่น หน้าต่าง, ช่องลมระบายอากาศ, ช่องแสง หรือบล็อคแก้ว) ควรมีระยะห่างจากแนวเขตที่ดินข้างเคียงไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร
- ผนังทึบ (ไม่มีช่องแสง) ควรมีระยะห่างจากแนวเขตที่ดินข้างเคียงไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร
 
สำหรับหมู่บ้านจัดสรรโดยทั่วไปแล้ว เราสามารถเจรจากับเพื่อนบ้านด้านข้างฝั่งที่เราต่อเติม ถ้าเพื่อนบ้านยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร เราก็สามารถสร้างชิดแนวเขตที่ดินได้ค่ะ
 
ระยะชายคา, กันสาด
การต่อเติมชายคา (ที่พื้นที่ด้านบนไม่สามารถขึ้นไปใช้งานได้) จะต้องเว้นระยะจากชายคา จนถึงแนวเขตที่ดิน ไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร เช่นเดียวกันกับการต่อเติมผนังทึบค่ะ
 
ระยะระเบียงชั้นบน
การต่อเติมระเบียงชั้นบน หรือหลังคาที่สามารถขึ้นไปใช้งานด้านบนได้ จะต้องเว้นระยะจากระเบียง จนถึงแนวเขตที่ดินไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร เช่นเดียวกับการต่อเติมผนังที่มีช่องเปิดค่ะ
 
ระยะห่างจากถนนสาธารณะ
สำหรับใครที่อยากจะต่อเติมบ้านออกมาทางด้านหน้าจะเป็นห้องอเนกประสงค์หรือห้องอื่นๆก็ดี จะต้องคำนึงถึงกฎหมายดังนี้ อาคารพักอาศัยที่สูงไม่เกิน 3 ชั้น หรือสูงไม่เกิน 10 เมตร และพื้นที่รวมไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร จะมีกฏหมายบังคับเกี่ยวกับแนวร่นอาคารจาก ทางสาธารณะ ดังนี้
 
- ถ้าถนนสาธารณะกว้างน้อยกว่า 6.00 เมตร ร่นแนวอาคารห่างจากกึ่งกลาง ถนนสาธารณะ อย่างน้อย 3.00 เมตร
- ถ้าถนนสาธารณะกว้างมากกว่าง 6.00 เมตร ริมแนวอาคารห่างจากถนนสาธารณะ
- อาคารสูงไม่เกิน 3 ชั้น, พื้นที่ไม่เกิน 300 ตารางเมตร ร่นจากเขตถนนอย่างน้อย 0.50 เมตร
- อาคารสูงไม่เกิน 3 ชั้น, พื้นที่เกิน 300 ตารางเมตร ร่นจากเขตถนนอย่างน้อย 1.00 เมตร
 
ทำความรู้จักโครงสร้างภายนอกบ้าน
การต่อเติมพื้นที่ด้านนอกบ้านส่วนใหญ่แล้ว สิ่งที่เราควรคำนึงถึงก็คือโครงสร้างพื้นและเสาเข็มค่ะ โดยปกติแล้วบ้านจัดสรรมักจะทำการเทพื้นบริเวณที่จอดรถและลานซักล้างด้านหลังบ้านมาให้ ส่วนใหญ่เป็นการเทคอนกรีตเสริมเหล็กแบบบนดิน (Slab On Ground) หรือ บนคาน (Slab on Beam) ที่ลงเสาเข็มมาให้ด้วย ซึ่งแต่ละแบบก็จะมีข้อดี–ข้อเสียแตกต่างกันไป
 
พื้นคอนกรีตวางบนดิน (Slab On Ground)
Slab On Ground  เป็นพื้นคอนกรีตหล่อบนพื้นดินหรือทรายบดอัด ไม่มีคานรองรับ มักใช้สำหรับพื้นชั้นล่าง ส่วนใหญ่มักใช้ทำพื้นของที่จอดรถ การถ่ายน้ำหนักของพื้นประเภทนี้จะถ่ายลงสู่พื้นดินโดยตรงโดยกระกระจายแรง ดังนั้นการบดอัดดินหรือทรายให้แน่นเป็นสิ่งสำคัญมาก หากไม่ทำให้ดินแน่นก่อนคอนกรีตอาจแตกจากการทรุดตัวได้ พื้นคอนกรีตวางบนดินนี้ ต้องอยู่อย่างอิสระจากโครงสร้างส่วนอื่น ๆ เพราะมีอัตราการทรุดตัวตามดินที่สูงค่ะ หากจำเป็นต้องมีส่วนที่ติดกันควรจะแยกรอยต่อ  โดยการคั่นด้วยแผ่นโฟม หรือออกแบบลดระดับพื้นบริเวณขอบพื้นโดยรอบ หรือจะวางหินกรวดตกแต่งอย่างที่บ้านจัดสรรนิยมทำให้เพื่อปกปิดรอยต่อก็ได้เช่นกันค่ะ
 
โดยโครงสร้างส่วนใหญ่ของลานจอดรถนั้นเป็นระบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (ค.ส.ล.) เป็นการเพิ่มความสามารถของคอนกรีตให้รับแรงได้มากขึ้นโดยใช้เหล็กเข้ามาช่วยนั่นเองค่ะ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กจะสามารถรับน้ำหนักได้ 200 – 400 กิโลกรัมต่อตารางเมตร  สำหรับลานจอดรถขนาดมาตรฐาน 1 คันนั้น จะมีขนาด 2.40 x 5.00 เมตร หรือประมาณ 12 ตารางเมตร รถเก๋ง 1 คัน จะมีน้ำหนักประมาณ 1,000 – 1,500 กิโลกรัม ต่อคัน , รถกระบะ 1 คัน น้ำหนักประมาณ 1,500 – 1,600 กิโลกรัม ต่อคัน ซึ่งเพียงพอต่อการใช้พื้นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กวางบนดิน
 
พื้นคอนกรีตวางบนคาน (Slab On Beam)
เป็นพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่ถ่ายน้ำหนักลงสู่คานโดยตรง นิยมใช้ในบ้านและอาคารทั่วไป ลักษณะการถ่ายน้ำหนักของพื้นประเภทนี้มี 2 แบบนะคะ คือ
 
– พื้นทางเดียว (One Way Slab)
 
– พื้นสองทาง (Two Way Slab)
 
พื้นคอนกรีตวางบนคานอาจเป็นได้ทั้งพื้นคอนกรีตหล่อในที่หรือพื้นคอนกรีตสำเร็จรูปก็ได้ค่ะ แต่สำหรับพื้นส่วนเปียกอย่างเช่น ห้องน้ำ พื้นระเบียงนอกบ้าน ซึ่งเสี่ยงต่อการรั่วซึม ควรใช้เป็นพื้นคอนกรีตหล่อในที่จะสามารถทนต่อความชื่นได้มากกว่าพื้นสำเร็จรูปค่ะ
 
โครงสร้างเสาเข็ม ( Pile )
ต่อมาสิ่งที่สำคัญสำหรับการต่อเติมบ้านก็คือเสาเข็ม โดยเสาเข็มเป็นโครงสร้างที่เสริมการรับน้ำหนักและป้องกันการทรุดตัว โดยมีหลักการคือช่วยเพิ่มแรงต้านน้ำหนักของตัวบ้านหรือพื้นที่ส่วนต่อเติม ไม่ให้ทรุดตัวลง ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับรูปแบบและความลึกของเสาเข็มด้วยค่ะ ถ้าเสาเข็มนั้นสั้นไม่ถึงชั้นดินแข็งจะมีเพียงแรงเสียดทานระหว่างพื้นผิวเสาเข็มกับดิน (Skin Friction)  แต่ถ้าเสาเข็มนั้นลึกถึงชั้นดินแข็งก็จะมีแรงต้านที่ปลายเสาเข็ม (End Bearing) เพิ่มขึ้นค่ะ และอีกอย่างที่ควรคำนึงถึงนั่นก็คือความแข็งของชั้นดินในแต่ละพื้นที่ ถ้าบ้านใครมีที่ดินอยู่ใกล้กับน้ำ หรือดินพึ่งถมมาไม่นาน(ไม่เกิน 2 ปี) ดินจะไม่แน่นมากทำให้มีโอกาสทรุดตัวมากกว่า จึงจำเป็นต้องใช้เสาเข็มที่ลึกขึ้นค่ะ ดังนั้นเบื้องต้นเราจึงควรรู้ว่าบ้านของเราใช้เสาเข็มอะไร ถ้าเราซื้อบ้านจากโครงการแนะนำว่าให้ถามก่อนซื้อหรือตัดสินใจต่อเติม ถ้าเป็นบ้านที่สร้างเองก็ควรถามวิศวกรหรือผู้ออกแบบเอาไว้ เราจะได้มีข้อมูลสำหรับการต่อเติมในอนาคต
 
เสาเข็มเดิมของภายในบ้านทั่วไปที่นิยมใช้ แบ่งออกได้ 3 ประเภทใหญ่ๆ ได้ดังนี้
 
เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง (prestressed concrete pile)
 
เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงเป็นที่นิยมมากที่สุดในอาคารพักอาศัย เป็นเสาคอนกรีตที่ทำจากปูนซีเมนต์ชนิดแข็งตัวเร็วและโครงเหล็กภายในทำจากลวดเหล็กอัดแรงกำลังสูงค่ะ ใช้วิธีการตอกลงไปในดิน ซึ่งเป็นวิธีที่ไม่ยุ่งยากและราคาไม่แพง  “แต่เวลาตอกจะเกิดแรงสั่นสะเทือน” แบ่งย่อยออกตามลักษณะรูปทรงหลากหลาย เช่น
 
เสาเข็มรูปตัวไอ (มักใช้เป็นโครงสร้างรับน้ำหนักตัวบ้าน)
เสาเข็มสี่เหลี่ยมตัน
เสาเข็มหกเหลี่ยมหรือแปดเหลี่ยมชนิดกลวง
เสาเข็มรูปตัวที
เสาเข็มเจาะ (bored pile)
 
เสาเข็มเจาะนั้นต้องใช้เครื่องมือเจาะลงบนที่ดินบนพื้นที่ใช้งานเลย จากนั้นจึงใส่เหล็กและเทคอนกรีตลงไปเพื่อหล่อเป็นเสาเข็ม จะมีกรรมวิธีก่อสร้างที่ยุ่งยาก และใช้เวลามากกว่า เหมาะกับงานที่ต้องการรับน้ำหนักสูง “แต่จะไม่เกิดแรงสั่นสะเทือนเวลาติดตั้ง” และมีข้อจำกัดเรื่องขนาดกับความลึกน้อยกว่า รับน้ำหนักได้มากกว่า ส่วนราคานั้นจะแพงและมีขั้นตอนการติดตั้งยากกว่า
 
เสาเข็มเจาะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
 
เสาเข็มเจาะขนาดเล็ก( small diameter bored pile ) เส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ในช่วง 35-60 เซนติเมตร ความลึกอยู่ในช่วงประมาณ 18-23 เมตร กรรมวิธีที่ใช้ในการเจาะมักจะเป็นแบบแห้ง ( dry process )โดยใช้เครื่องมือขุดเจาะธรรมดา วิธีการไม่ยุ่งยากซับซ้อน
เสาเข็มเจาะขนาดใหญ่( large diameter bored pile ) เส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 60 เซนติเมตรขึ้นไป ความลึกอยู่ในช่วงประมาณ 25-65 เมตร กรรมวิธีที่ในการเจาะมักจะเป็นระบบเปียก ( wet process ) ซึ่งจะมีความยุ่งยาก และหน้างานเลอะเทอะมากกว่าค่ะ
เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยงอัดแรง (prestressed concrete spun pile)
 
โดยทั่วไปแล้วจะเรียกกันว่าเสาเข็มสปัน ผลิตโดยการใช้ กรรมวิธีปั่นคอนกรีตในแบบหล่อซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูงทำให้เนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่นสูงกว่าคอนกรีตที่หล่อโดยวิธีธรรมดา มีลักษณะเป็นเสากลม ตรงกลางกลวง ฝังโครงลวดเหล็กอัดแรง การตอกเสาชนิดนี้สามารถทำได้หลายแบบ ทั้งวิธีการตอกด้วยปั้นจั่นแบบธรรมดาและแบบกด เนื่องจากตรงกลางกลวงช่วยลดแรงสั่นสะเทือนเวลาตอกได้ค่ะ ช่วยให้ไม่สะเทือนกระทบต่อโครงสร้างเดิมเท่าเสาเข็มอัดแรงธรรมดา
 
หากเป็นการต่อเติมบ้านทั้งส่วนลานจอดรถเองหรือครัวด้านหลังบ้านนั้นแน่นอนว่าการใช้เสาเข็มลึกถึงชั้นดินแข็งจะทำให้โครงสร้างนั้นแข็งแรงกว่า แต่ในทางปฏิบัติจริงๆแล้วการใช้เสาเข็มลึกจะต้องมีพื้นที่และเครื่องมือที่ยุ่งยากมากกว่า เสียค่าใช้จ่ายแพงกว่า จึงต้องพิจารณาตามความเหมาะสมของแต่ละบ้านค่ะ โดยส่วนใหญ่แล้วในพื้นที่กรุงเทพฯ ส่วนต่อเติมมักใช้เข็มความยาวประมาณ 3 – 6 เมตร (แต่ชั้นดินแข็งของกรุงเทพฯจะอยู่ลึกประมาณ 17 – 23 เมตร) อาจจะมีการทรุดตัวได้ในอนาคตแต่ก็จะน้อยกว่าพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กวางบนดินแน่นอนค่ะ

ต่อเติมหลังบ้านเชียงราย 
ต่อเติมหลังบ้านเชียงใหม่ 
ต่อเติมหลังบ้านน่าน 
ต่อเติมหลังบ้านพะเยา 
ต่อเติมหลังบ้านแพร่ 
ต่อเติมหลังบ้านแม่ฮ่องสอน 
ต่อเติมหลังบ้านลำปาง 
ต่อเติมหลังบ้านลำพูน 
ต่อเติมหลังบ้านอุตรดิตถ์
ต่อเติมหลังบ้านกาฬสินธุ์ 
ต่อเติมหลังบ้านขอนแก่น 
ต่อเติมหลังบ้านชัยภูมิ 
ต่อเติมหลังบ้านนครพนม 
ต่อเติมหลังบ้านนครราชสีมา 
ต่อเติมหลังบ้านบึงกาฬ 
ต่อเติมหลังบ้านบุรีรัมย์ 
ต่อเติมหลังบ้านมหาสารคาม 
ต่อเติมหลังบ้านมุกดาหาร 
ต่อเติมหลังบ้านยโสธร 
ต่อเติมหลังบ้านร้อยเอ็ด 
ต่อเติมหลังบ้านเลย 
ต่อเติมหลังบ้านสกลนคร 
ต่อเติมหลังบ้านสุรินทร์ 
ต่อเติมหลังบ้านศรีสะเกษ 
ต่อเติมหลังบ้านหนองคาย 
ต่อเติมหลังบ้านหนองบัวลำภู 
ต่อเติมหลังบ้านอุดรธานี 
ต่อเติมหลังบ้านอุบลราชธานี 
ต่อเติมหลังบ้านอำนาจเจริญ 
ต่อเติมหลังบ้านกำแพงเพชร 
ต่อเติมหลังบ้านชัยนาท 
ต่อเติมหลังบ้านนครนายก 
ต่อเติมหลังบ้านนครปฐม 
ต่อเติมหลังบ้านนครสวรรค์ 
ต่อเติมหลังบ้านนนทบุรี 
ต่อเติมหลังบ้านปทุมธานี 
ต่อเติมหลังบ้านพระนครศรีอยุธยา 
ต่อเติมหลังบ้านพิจิตร 
ต่อเติมหลังบ้านพิษณุโลก 
ต่อเติมหลังบ้านเพชรบูรณ์ 
ต่อเติมหลังบ้านลพบุรี 
ต่อเติมหลังบ้านสมุทรปราการ 
ต่อเติมหลังบ้านสมุทรสงคราม 
ต่อเติมหลังบ้านสมุทรสาคร 
ต่อเติมหลังบ้านสิงห์บุรี 
ต่อเติมหลังบ้านสุโขทัย 
ต่อเติมหลังบ้านสุพรรณบุรี 
ต่อเติมหลังบ้านสระบุรี 
ต่อเติมหลังบ้านอ่างทอง 
ต่อเติมหลังบ้านอุทัยธานี 
ต่อเติมหลังบ้านจันทบุรี 
ต่อเติมหลังบ้านฉะเชิงเทรา 
ต่อเติมหลังบ้านชลบุรี 
ต่อเติมหลังบ้านตราด 
ต่อเติมหลังบ้านปราจีนบุรี 
ต่อเติมหลังบ้านระยอง 
ต่อเติมหลังบ้านสระแก้ว 
ต่อเติมหลังบ้านกาญจนบุรี 
ต่อเติมหลังบ้านตาก 
ต่อเติมหลังบ้านประจวบคีรีขันธ์ 
ต่อเติมหลังบ้านเพชรบุรี 
ต่อเติมหลังบ้านราชบุรี 
ต่อเติมหลังบ้านกระบี่ 
ต่อเติมหลังบ้านชุมพร 
ต่อเติมหลังบ้านตรัง 
ต่อเติมหลังบ้านนครศรีธรรมราช 
ต่อเติมหลังบ้านนราธิวาส 
ต่อเติมหลังบ้านปัตตานี 
ต่อเติมหลังบ้านพังงา 
ต่อเติมหลังบ้านพัทลุง 
ต่อเติมหลังบ้านภูเก็ต 
ต่อเติมหลังบ้านระนอง 
ต่อเติมหลังบ้านสตูล 
ต่อเติมหลังบ้านสงขลา 
ต่อเติมหลังบ้านสุราษฎร์ธานี 
ต่อเติมหลังบ้านยะลา 
ต่อเติมหลังบ้านกรุงเทพมหานคร
 
ต่อเติมหลังบ้านคลองสาน 
ต่อเติมหลังบ้านคลองสามวา 
ต่อเติมหลังบ้านคลองเตย
ต่อเติมหลังบ้านคันนายาว 
ต่อเติมหลังบ้านจอมทอง 
ต่อเติมหลังบ้านดอนเมือง
ต่อเติมหลังบ้านดินแดง 
ต่อเติมหลังบ้านดุสิต 
ต่อเติมหลังบ้านตลิ่งชัน 
ต่อเติมหลังบ้านทวีวัฒนา
ต่อเติมหลังบ้านทุ่งครุ 
ต่อเติมหลังบ้านธนบุรี 
ต่อเติมหลังบ้านบางกอกน้อย
ต่อเติมหลังบ้านบางกอกใหญ่ 
ต่อเติมหลังบ้านบางกะปิ 
ต่อเติมหลังบ้านบางคอแหลม
ต่อเติมหลังบ้านบางซื่อ 
ต่อเติมหลังบ้านบางนา 
ต่อเติมหลังบ้านบางพลัด 
ต่อเติมหลังบ้านบางรัก
ต่อเติมหลังบ้านบางเขน 
ต่อเติมหลังบ้านบางแค 
ต่อเติมหลังบ้านบึงกุ่ม 
ต่อเติมหลังบ้านปทุมวัน
ต่อเติมหลังบ้านประเวศ 
ต่อเติมหลังบ้านป้อมปราบศัตรูพ่าย 
ต่อเติมหลังบ้านพญาไท
ต่อเติมหลังบ้านพระนคร 
ต่อเติมหลังบ้านพระโขนง 
ต่อเติมหลังบ้านภาษีเจริญ 
ต่อเติมหลังบ้านมีนบุรี
ต่อเติมหลังบ้านยานนาวา 
ต่อเติมหลังบ้านราชเทวี 
ต่อเติมหลังบ้านราษฎร์บูรณะ
ต่อเติมหลังบ้านลาดกระบัง 
ต่อเติมหลังบ้านลาดพร้าว 
ต่อเติมหลังบ้านวังทองหลาง
ต่อเติมหลังบ้านวัฒนา 
ต่อเติมหลังบ้านสวนหลวง 
ต่อเติมหลังบ้านสะพานสูง
ต่อเติมหลังบ้านสัมพันธวงศ์ 
ต่อเติมหลังบ้านสาทร 
ต่อเติมหลังบ้านสายไหม
ต่อเติมหลังบ้านหนองจอก 
ต่อเติมหลังบ้านหนองแขม 
ต่อเติมหลังบ้านหลักสี่ 
ต่อเติมหลังบ้านห้วยขวาง
ต่อเติมหลังบ้านเมืองนครปฐม 
ต่อเติมหลังบ้านกำแพงแสน 
ต่อเติมหลังบ้านดอนตูม
ต่อเติมหลังบ้านนครชัยศรี 
ต่อเติมหลังบ้านบางเลน 
ต่อเติมหลังบ้านพุทธมณฑล 
ต่อเติมหลังบ้านสามพราน
ต่อเติมหลังบ้านเมืองนนทบุรี 
ต่อเติมหลังบ้านบางกรวย 
ต่อเติมหลังบ้านบางบัวทอง
ต่อเติมหลังบ้านบางใหญ่ 
ต่อเติมหลังบ้านปากเกร็ด 
ต่อเติมหลังบ้านไทรน้อย
ต่อเติมหลังบ้านเมืองปทุมธานี 
ต่อเติมหลังบ้านคลองหลวง 
ต่อเติมหลังบ้านธัญบุรี
ต่อเติมหลังบ้านลาดหลุมแก้ว 
ต่อเติมหลังบ้านลำลูกกา 
ต่อเติมหลังบ้านสามโคก 
ต่อเติมหลังบ้านหนองเสือ
ต่อเติมหลังบ้านเมืองสมุทรปราการ 
ต่อเติมหลังบ้านบางพลี 
ต่อเติมหลังบ้านบางเสาธง
ต่อเติมหลังบ้านพระประแดง
 ต่อเติมหลังบ้านพระสมุทรเจดีย์
ต่อเติมหลังบ้านเมืองระยอง
ต่อเติมหลังบ้านนิคมพัฒนา 
ต่อเติมหลังบ้านเขาชะเมา
ต่อเติมหลังบ้านบ้านฉาง 
ต่อเติมหลังบ้านปลวกแดง 
ต่อเติมหลังบ้านวังจันทร์ 
ต่อเติมหลังบ้านแกลง
ต่อเติมหลังบ้านเมืองชลบุรี 
ต่อเติมหลังบ้านเกาะจันทร์ 
ต่อเติมหลังบ้านบางละมุง
ต่อเติมหลังบ้านบ่อทอง  
ต่อเติมหลังบ้านบ้านบึง 
ต่อเติมหลังบ้านพนัสนิคม
ต่อเติมหลังบ้านพานทอง
ต่อเติมหลังบ้านศรีราชา 
ต่อเติมหลังบ้านสัตหีบ 
ต่อเติมหลังบ้านหนองใหญ่ 
ต่อเติมหลังบ้านเกาะสีชัง
ต่อเติมหลังบ้านเมืองสมุทรสาคร 
ต่อเติมหลังบ้านกระทุ่มแบน 
ต่อเติมหลังบ้านบ้านแพ้ว 
ต่อเติมหลังบ้านมหาชัย
ต่อเติมหลังบ้านเมืองสมุทร
ต่อเติมหลังบ้านอัมพวา 
ต่อเติมหลังบ้านบางคนที
ต่อเติมหลังบ้านเมืองราชบุรี 
ต่อเติมหลังบ้านบ้านคา 
ต่อเติมหลังบ้านจอมบึง
ต่อเติมหลังบ้านดำเนินสะดวก 
ต่อเติมหลังบ้านบางแพ 
ต่อเติมหลังบ้านบ้านโป่ง
ต่อเติมหลังบ้านปากท่อ
ต่อเติมหลังบ้านวัดเพลง 
ต่อเติมหลังบ้านสวนผึ้ง 
ต่อเติมหลังบ้านโพธาราม
ต่อเติมหลังบ้านเมืองฉะเชิงเทรา 
ต่อเติมหลังบ้านคลองเขื่อน 
ต่อเติมหลังบ้านท่าตะเกียบ 
ต่อเติมหลังบ้านบางคล้า
ต่อเติมหลังบ้านบางน้ำเปรี้ยว 
ต่อเติมหลังบ้านบางปะกง 
ต่อเติมหลังบ้านบ้านโพธิ์
ต่อเติมหลังบ้านพนมสารคาม
ต่อเติมหลังบ้านราชสาส์น 
ต่อเติมหลังบ้านสนามชัยเขต 
ต่อเติมหลังบ้านแปลงยาว
ต่อเติมหลังบ้านเมืองนครนายก 
ต่อเติมหลังบ้านปากพลี 
ต่อเติมหลังบ้านบ้านนา 
ต่อเติมหลังบ้านองครักษ์
 
Engine by shopup.com