เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับ การสร้างอาคารสูงพิเศษ
หมวดหมู่สินค้า: A316 รับสร้างอาคาร
03 มีนาคม 2565
ผู้ชม 201 ผู้ชม
หากท่านกำลังจะมีโครงการก่อสร้างสร้างโกดัง โรงงาน คลังสินค้า ราคาถูก บ้าน ตึก อาคาร หอพัก โรงแรม โกดัง อื่นๆ เราคือบริษัทรับเหมาก่อสร้าง ทีรับออกแบบก่อสร้างในราคาย่อมเยา คุณภาพดี มีผลงาน เพราะเรามี ของเราเอง และมีทีมช่างที่ประสบการณ์
บริษัทรับสร้างโกดัง โรงงาน คลังสินค้า ราคาถูก โครงสร้างเหล็ก
รับสร้างอาคารพาณิชย์ สร้างตึกแถว ตึกสำนักงาน
รับสร้างอาคารพาณิชย์ สร้างตึกแถว ตึกสำนักงาน
บริษัทรับสร้างบ้าน อาคารทาวน์เฮาส์ ทาวน์โฮม บ้านแฝด
รับเหมาก่อสร้าง สร้างอพาร์ทเม้นท์ ห้องเช่า สร้างหอพัก สร้างโรงแรม
รับออกแบบอาคารโกดัง โรงงานและสาธารณูปโภค โครงการ คอนโด โรงแรม
เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับ การสร้างอาคารสูงพิเศษ
ติดต่อสอบถาม
เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับ การสร้างอาคารสูงพิเศษ
โครงสร้างรับแรงด้านข้าง
อาคารสูงพิเศษจะต้องออกแบบให้รับแรงด้านข้างได้อย่างดี ซึ่งแรงด้านข้างที่กระทำต่ออาคารก็คือ แรงลม และแรงแผ่นดินไหว สำหรับหอไอเฟิล ซึ่งเคยเป็นโครงสร้างที่สูงที่สุดในโลกเมื่อราว 170 ปีที่แล้วนั้น วิศวกรได้ออกแบบโครงสร้างไปตามแนวโมเมนต์ (Moment Diagram) ทำให้ได้โครงสร้างที่เบาและประหยัดที่สุด ซึ่งรูปร่างนี้ก็เป็นรูปร่างเดียวกันกับพระปรางค์ วัดอรุณราชวราราม ซึ่งเคยเป็น โครงสร้างที่สูงที่สุดในประเทศไทยเมื่อราว 170 ปี ก่อนเช่นกันข้อจำกัดของโครงสร้างประเภทนี้ คือจะต้องมีฐาน ที่กว้างใหญ่ ซึ่งจะกินพื้นที่ที่ดินมาก ดังนั้นในยุคต่อมาเมื่อมีการสร้างอาคารสูงพิเศษในเขตเมือง ที่มีพื้นที่ก่อสร้างจำกัด โครงสร้างลักษณะอื่นจึงได้ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อให้ได้โครงสร้างที่สูงชะลูดในพื้นที่ที่จำกัด
ระบบโครงข้อแข็ง (FRAMED STRUCTURE)
เมื่อเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมพัฒนาขึ้นจนสามารถก่อสร้างโครงข้อแข็ง (Framed Structure) ได้อาคารต่างๆ ที่มีความสูงมากขึ้นก็ถูกพัฒนาขึ้นมาด้วยเหตุที่โครงข้อแข็งสามารถกระจายแรงในรูปต่างๆ ไปได้ทั่ว ทั้งโครงอาคาร ทำให้ทุกองค์อาคารช่วยกันรับแรงที่มาจากด้านข้างเหล่านั้นไปได้ โครงสร้างระบบโครงข้อแข็งสามารถเป็นได้ทั้งคอนกรีตเสริมเหล็กหรือโครงสร้างเหล็ก ซึ่งจะทำให้สามารถสร้างอาคารได้ถึงประมาณ 50 เมตร เราสามารถพบเห็น โครงข้อแข็งได้ทั่วไปในประเทศไทย โดยจะสังเกตเห็นว่า โครงสร้างนั้นประกอบด้วย เสาและคานที่มีขนาดทัดเทียมกัน โดยที่เสาและคานหลักจะยึดกันอย่างแข็งแรงโครงทรัสส์ หรือโครงยึดทะแยง เป็นโครงสร้างที่เสริมเข้ามาเพื่อรับแรงด้านข้างโดยเฉพาะ ซึ่งเหมาะสำหรับ
อาคารที่มีขนาด เสา-คาน (โครงข้อแข็ง) และผนังลิฟต์-บันได (ผนังรับแรงเฉือน) ไม่เพียงพอ จึงจำาเป็นต้องเพิ่มโครงสร้างทรัสส์ หรือโครงยึดทะแยง โดยต้องยึดให้ถึงฐานรากหรือโครงสร้างอาคาร ในส่วนที่มั่นคงเพียงพอ อาคารใบหยก 2 และอาคารชาเตอร์สแควร์ ถนนสาทรเหนือ เป็นอาคารที่ใช้ระบบโครงยึดทะแยงเพื่อรับแรงด้านข้างเทคโนโลยีการก่อสร้างอาคารสูงพิเศษ โครงสร้างรับแรงด้านข้างระบบผนังรับแรงเฉือน (Shear Wall)
ระบบโครงทรัสส์ (TRUSS) หรือโครงยึดทะแยง
โครงทรัสส์ หรือโครงยึดทะแยง เป็นโครงสร้างที่เสริมเข้ามาเพื่อรับแรงด้านข้างโดยเฉพาะ ซึ่งเหมาะสำหรับอาคารที่มีขนาด เสา-คาน (โครงข้อแข็ง) และผนังลิฟต์-บันได(ผนังรับแรงเฉือน) ไม่เพียงพอ จึงจำาเป็นต้องเพิ่มโครงสร้างทรัสส์ หรือโครงยึดทะแยง โดยต้องยึดให้ถึงฐานรากหรือโครงสร้าง อาคารในส่วนที่มั่นคงเพียงพออาคารใบหยก 2 และอาคารชาเตอร์สแควร์ ถนนสาทรเหนือ เป็นอาคารที่ใช้ระบบโครงยึดทแยงเพื่อรับแรงด้านข้าง แต่เราจะมองจากภายนอกไม่เห็น เพราะโครงเหล่านั้นถูกปิด โดยผนังภายนอกแต่สำหรับอาคารที่มีการนำโครงยึดทะแยงนี้มาอยู่ภายนอกให้เห็นอย่างสวยงาม เช่น อาคาร JohnHancock ที่ชิคาโก หรือ อาคาร Sumitomo ที่ชินจูกุ โตเกียว ส่วนอาคารที่โดดเด่น ที่นำาโครงทรัสส์มาเป็นโครงสร้างรับแรงด้านข้าง และรับน้ำหนักด้วยเห็นจะได้แก่อาคาร Bank of China ที่ฮ่องกง ที่ออกแบบโดยสถาปนิก I.M. Pei
งานวิศวกรรมระบบสำหรับอาคารสูงพิเศษ
สิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งสำหรับอาคารสูงพิเศษ คือระบบ ภายในอาคารซึ่งต้องคำนึงถึงในสามประการคือ ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย และความประหยัด การขนส่งภายในอาคาร ให้มีประสิทธิภาพสูงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ลิฟต์ความเร็วสูง ประกอบกับการจัดการที่ดีจะช่วยให้สามารถขนถ่ายผู้โดยสาร รวมถึงสิ่งของต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ในปัจจุบันได้มีการติดตั้งลิฟต์สองชั้นในอาคารสูงพิเศษใหม่ๆ บางอาคารซึ่งจะช่วยให้ประหยัดพื้นที่ที่จะต้องทำปล่องลิฟต์ลงไปได้ การประหยัดพลังงานเป็นสิ่งที่มีความสำคัญในปัจจุบัน ในหลายประเทศได้มีการกำหนดเรื่องการประหยัด พลังงาน Carbon Footprint และการก่อสร้างอาคารสีเขียว (Green Building) เป็นตัวชี้วัดของผู้ประกอบการต่างๆ ทำให้ อาคารสมัยใหม่ต้องให้ความสำคัญกับเรื่องเหล่านี้ การก่อสร้างอาคารสูงพิเศษคงจะมีขึ้นอย่างต่อเนื่อง รูปลักษณ์ของอาคารและวัสดุอันทันสมัยก็จะมีการนำมาใช้ แต่สิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือการออกแบบก่อสร้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืนของเราทุกคน
งานประปา
น้ำคือปัจจัยที่สำคัญใน การดำรงชีวิตของมนุษย์ เราสามารถใช้น้ำในการใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ทั้งการอุปโภคและบริโภค อาคารบ้าน พักอาศัยก็เช่นเดียวกัน จำเป็นจะต้องมีการวาง ระบบน้ำประปา มาใช้ในอาคารด้วย ในการนำน้ำมาใช้กับ อาคารบ้านเรือน ทั้งหลาย จะต้องมีการวางระบบที่ดี เพื่อให้เกิดความสะดวกใน การใช้งานอีกทั้งสะดวกในการบำรุงรักษาอีกด้วย ต้องคำนึงถึง การจัดวางตำแหน่ง ท่อต่างๆได้แก่ ระบบท่อน้ำดี ระบบท่อน้ำทิ้ง ระบบท่อน้ำเสีย และ ระบบท่อระบายอากาศ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน เพื่อประสิทธิภาพ ในการใช้ ตลอดจนอายุการใช้งานที่ยาวนานและเนื่องจากระบบท่อต่าง ๆ จะถูกซ่อน
ไว้ตามที่ต่างๆเช่นในผนัง พื้น ฝ้าเพดาน ฉะนั้น ก่อนการ ดำเนินการก่อสร้างต้องมีการวางแผนให้ดี เพื่อประโยชน์ในการซ่อมบำรุงในภายหลัง และนอกจากนี้ ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ต้อง คำนึงถึงอีกมากมาย ดังเช่น
1) จัดเตรียมพื้นที่การเดินท่อทั้งแนวนอน แนวดิ่ง รวมถึงระยะลาดเอียงต่าง ๆ
2) ติดตั้งฉนวนในระบบท่อที่จำเป็นเช่น ท่อน้ำเย็น เพื่อลดความเสียหายจากการรั่วซึม
3) ออกแบบระบบแขวน และรายละเอียดอื่น ๆ ตามมาตรฐานของอุปกรณ์ต่าง ๆ
4) จัดเตรียมพื้นที่สำหรับการบำรุงรักษา
ระบบน้ำประปา มีส่วนสำคัญคือ การจ่ายน้ำที่สะอาดไปยังจุดที่ใช้งานต่าง ๆ ในปริมาณ และแรงดันที่เหมาะสม กับการใช้งาน นอกเหนือ จากนั้น ยังจะต้องมีระบบ การสำรองน้ำในกรณีฉุกเฉิน หรือมีการปิดซ่อม ระบบภายนอก หรือช่วงขาดแคลนน้ำ และในอาคาร บาง ประเภท ยังต้องสำรองน้ำสำหรับ ระบบดับเพลิงแยก ต่างหากอีกด้วย
หลักการจ่ายน้ำภายในอาคารมี 2 ลักษณะคือ
1) ระบบจ่ายน้ำด้วยความดัน (Pressurized/Upfeed System)
เป็นการจ่ายน้ำโดยอาศัย การอัดแรงดันน้ำ ในระบบ ท่อประปาจากถังอัดความดัน (Air Pressure Tank) ระบบที่ใช้กับ ความสูงไม่จำกัด ทั้งยังไม่ต้องมี ถังเก็บน้ำ ไว้ดาดฟ้าอาคาร
2) ระบบจ่ายน้ำโดยแรงโน้มถ่วง (Gavity Feed/Downfeed System)
เป็นการสูบน้ำขึ้นไปเก็บไว้บนดาดฟ้าแล้ว ปล่อยลงมาตามธรรมชาติ ตามท่อต้องเป็นอาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 10 ชั้น ขึ้นไป ถือเป็น ระบบ ที่ไม่ซับซ้อนไม่ต้องใช้ไฟในการจ่าย แต่จะต้องเตรียมถังเก็บน้ำ ไว้บนดาดฟ้า จึงต้องคำนึงถึง เรื่องโครงสร้างในการ รับน้ำหนัก และความสวยงามด้วย
ในการสำรองน้ำสำหรับการใช้งานนั้นจะต้องมีการใช้ถังเก็บน้ำแบบต่าง ๆ มาประกอบการใช้งาน ถังเก็บน้ำที่มีใช้กันอยู่โดยทั่วไป ในปัจจุบันนั้นมีหลายแบบให้เลือกใช้ รวมทั้งอาจจะต้องมีเครื่องสูบน้ำติดตั้งอีกด้วย แต่เครื่องสูบน้ำนั้น ห้ามต่อระหว่าง ระบบสาธารณะ กับถังพักน้ำในบ้าน เพราะเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายเนื่องจาก เป็นการสูบน้ำจากระบบสาธารณะ โดยตรงซึ่งเป็นการเอาเปรียบผู้อื่น การสูบน้ำในบ้านจะต้องปล่อยให้น้ำจาก สาธารณะมาเก็บ ในถังพักตาม แรงดันปกติเสียก่อนแล้วค่อยสูบน้ำไปยังจุดที่ต้องการอื่น ๆได้
ตำแหน่งที่ตั้งถังเก็บน้ำที่ใช้งานทั่วไปมีที่ตั้ง 2 แบบคือ
- ถังเก็บน้ำบนดิน ใช้ในกรณีที่มีพื้นที่เพียงพอกับการติดตั้ง อาจติดตั้งบนพื้นดิน หรือบนอาคาร หรือติดตั้งบนหอสูง เพื่อใช้ประโยชน์ ในการใช้แรงดันน้ำ สำหรับแจกจ่ายให้ส่วนต่างๆของอาคาร การดูแลรักษาสามารถทำได้ง่ายแต่อาจดูไม่เรียบร้อยและไม่สวยงามนัก
- ถังเก็บน้ำใต้ดิน ใช้ในกรณีที่ไม่มีพื้นที่ในการติดตั้งเพียงพอและต้องการให้ดูเรียบร้อยสวยงามการบำรุงดูแลรักษาทำได้ยาก ดังนั้นการก่อสร้าง และการเลือก ชนิดของถังต้องมีความละเอียดรอบคอบ
ชนิดถังเก็บน้ำ
1. ถังเก็บน้ำ ค.ส.ล. เป็นถังที่มีความแข็งแรงทนทานสามารถสร้างได้ทั้งแบบอยู่บนดิน และใต้ดิน แต่ทีน้ำหนักมาก การก่อสร้าง ต้องระวังเรื่องการรั่วซึม ดังนั้นต้องทำระบบกันซึมและต้องเลือกชนิดที่ไม่เป็นพิษต่อร่างกาย
2.ถังเก็บน้ำสแตนเลส เป็นถังน้ำสำเร็จรูปโดยใช้โลหะสแตนเลสที่ไม่เป็นสนิม มีความทนทานต่อการใช้งาน นิยมติดตั้งเป็น ถังน้ำบนดิน
3. ถังเก็บน้ำไฟเบอร์กลาส เป็นถังเก็บน้ำสำเร็จรูป ใช้วัสดุไฟเบอร์กลาสที่มีความยืดหยุ่นสูงไม่แตกหักง่าย มีน้ำหนักเบา รับแรงดันได้ดีและไม่เป็นพิษกับน้ำสามารถติดตั้งได้ทั้งบนดินและใต้ดิน
4. ถังเก็บน้ำ PE (Poly Ethelyn) เป็นถังเก็บน้ำที่ใช้วัสดุชนิดเดียวกับที่ใช้ทำท่อน้ำประปา สามารถรับแรงดัน ได้ดีมีน้ำหนักเบา ใช้ติดตั้ง ได้ทั้งบนดินและ ใต้ดิน
การเลือกและออกแบบถังน้ำจะต้องมีข้อคำนึงถึงคือ
- ต้องคำนึงถึงอายุการใช้งานของถังเก็บน้ำ
- ขนาดและจำนวนถังเก็บน้ำจะต้องมีปริมาณน้ำสำรองที่พอเพียงต่อการใช้งาน สำหรับบ้านพักอาศัยจะใช้น้ำที่ ประมาณ 200 ลิตร / คน / วัน
- จะต้องจัดเตรียมพื้นที่สำหรับติดตั้งถังเก็บน้ำสำหรับอาคารด้วย
- จะต้องมีความสะดวกสบายในการติดตั้ง การดูแลรักษาและทำความสะอาด
- ระบบท่อที่เชื่อมต่อกับถังเก็บน้ำจะต้องดีมีคุณภาพ ไม่ก่อให้เกิดปัญหาในภายหลัง เช่น น้ำรั่ว หรือชำรุดเป็นต้น
ชนิดของท่อประปา
- ท่อประปาเหล็กอาบสังกะสี
ข้อดี มีความแข็งแรง รับน้ำหนักได้ดี ทนทานต่อแรง กระแทกได้ ไม่หักงอ ทนต่อความดันและอุณหภูมิที่สูงๆ เช่น เครื่องทำน้ำร้อน
ข้อเสีย ราคาค่อนข้างแพง ถ้าใช้ไปนานๆ อาจเกิดสนิม ได้ โดยเฉพาะที่ฝังอยู่ในดิน อาจเป็นอันตราย ถ้านำน้ำในท่อ มารับประทาน
- ท่อประปาพีวีซี (PVC.)
ข้อดี น้ำหนักเบา ราคาถูกกว่า สามารถดัดงอได้ และ ไม่เกิดสนิมน้ำในท่อจะสะอาดกว่า
ข้อเสีย ไม่สามารถทนต่อแรงกระแทกแรงๆ ได้ ไม่ทน ต่อความดันและอุณหภูมิที่สูง
- ชนิดของท่อพีวีซี (PVC.)
ท่อพีวีซี (PVC.) แบ่งตามชนิดการใช้งาน โดยใช้สี ดังนี้
1. ท่อสีเหลือง เป็นท่อสำหรับร้อยสายไฟฟ้า และสาย โทรศัพท์ เพราะสามารถทนต่อความร้อนได้อย่างดี
2. ท่อสีฟ้า เป็นท่อที่ใช้กับระบบน้ำ เช่น น้ำดี น้ำเสีย และการระบาย สามารถทนแรงดันน้ำได้มากน้อยตามประเภท การใช้งาน (มีหลายเกรด)
3. ท่อสีเทา เป็นท่อที่ใช้สำหรับการเกษตร หรือน้ำทิ้ง ก็ได้ ราคาค่อนข้างถูก ไม่ค่อยแข็งแรง ควรจะเดินลอย ไม่ควร ฝังดิน
วิธีการเดินท่อประปา โดยทั่วไปแล้วการเดินท่อประปาภายในบ้าน จะมีอยู่ 2 ชนิด คือ
1. การเดินท่อแบบลอย คือ การเดินท่อติดกับผนัง หรือวางบนพื้น การเดินท่อแบบนี้จะเห็นได้ชัดเจน สามารถ ซ่อมแซมได้ง่าย เมื่อเกิดปัญหา แต่จะดูไม่สวยงาม
2. การเดินท่อแบบฝัง คือ การเจาะสกัดผนัง แล้ว เดินท่อ เมื่อเรียบร้อยแล้วก็ฉาบปูนทับ หรือเดินซ่อนไว้ใต้ เพดานก็ได้ ซึ่งจะดูเรียบร้อยและสวยงาม แต่เมื่อมีปัญหาแล้ว จะซ่อมแซมยาก
- วิธีการเดินท่อประปาในส่วนที่อยู่ใต้ดิน
การเดินท่อประปาจะมีทั้งท่อส่วนที่อยู่บนดิน และบาง ส่วนจะต้องอยู่ใต้ดิน ในส่วนที่อยู่บนดิน อาจใช้ท่อ PVC. หรือท่อเหล็กชุบสังกะสี (GAVANIZE) ก็ได้ แต่สำหรับท่อ ที่อยู่นอกอาคาร โดยเฉพาะท่อที่อยู่ใต้ดิน บริเวณใต้อาคาร ควรใช้ท่อ PE ท่อชนิดนี้ มีคุณสมบัติ พิเศษ ในการบิดงอโค้งได้ ในกรณีเดินผ่านเสาตอม่อ หรือคานคอดิน สำหรับท่อธรรมดา จะมีข้อต่อมากซึ่งเสียงต่อการรั่วซึม และที่ สำคัญ เมื่อมีการทรุด ตัวของอาคาร หากเป็นท่อ PVC. หรือท่อเหล็กชุบสังกะสี จะ ทำให้ท่อแตกร้าวได้ แต่ถ้าเป็นท่อ PE จะมีความ ยืดหยุ่นกว่า ถึงแม้จะมีราคาที่สูง แต่ก็คุ้มค่า เพราะถ้าเกิดการรั่วซึมแล้วจะ ไม่สามารถทราบได้เลย เพราะอยู่ใต้ดิน
- วิธีการใช้สต๊อปวาล์ว เมื่อติดตั้งสุขภัณฑ์
โดยทั่วไปการติดระบบประปากับสุขภัณฑ์ เพียงต่อท่อ น้ำดีเข้ากับตัวเครื่องสุขภัณฑ์ก็สามารถใช้งานได้แล้ว แต่ถ้าเกิด ปัญหาที่จะต้องการซ่อมแซม ก็จะต้องปิดมิเตอร์น้ำด้านนอก เพื่อหยุดการใช้น้ำ ซึ่งจะทำให้ภายในบ้านทั้งหมดไม่สามารถใช้ น้ำได้ ทางออกที่ดีก็คือ ให้เพิ่มสต๊อปวาล์วในบริเวณส่วนที่จ่าย น้ำเข้ากับสุขภัณฑ์ เพื่อที่เวลาทำการซ่อมแซม สามารถที่จะปิด วาล์วน้ำได้ โดยที่น้ำในห้องอื่นๆ ก็ยังสามารถใช้งานได้
- วิธีการตรวจสอบระบบประปา
ตรวจสอบอุปกรณ์ภายในบ้าน โดยปิดก็อกที่มีอยู่ ทั้งหมดแล้วสังเกตที่มาตรวัดน้ำ ถ้าตัวเลขเคลื่อน แสดงว่า มีการรั่วไหลเกิดขึ้น ซึ่งอาจเกิดจากการรั่วซึม หรือมีอุปกรณ์ บางอย่างแตกหักหรือชำรุด ก็จัดการหาช่างมาแก้ไขให้เรียบร้อย นอกจากภายในบ้านแล้ว ยังสามารถตรวจสอบการรั่ว ไหลของน้ำในเส้นท่อที่อยู่นอกบ้าน โดยสังเกตพื้นดินบริเวณ ท่อแตกรั่วนั้น จะมีน้ำซึมอยู่ตลอดเวลา และบริเวณนั้นจะ ทรุดตัวต่ำกว่าที่อื่น นั่นคือสาเหตุที่ทำให้น้ำประปาไหลอ่อน ลง ก็ควรแจ้งไปยังสำนักงานประปาในเขตนั้น
บริษัทก่อสร้างเชียงราย
บริษัทก่อสร้างเชียงใหม่
บริษัทก่อสร้างน่าน
บริษัทก่อสร้างพะเยา
บริษัทก่อสร้างแพร่
บริษัทก่อสร้างแม่ฮ่องสอน
บริษัทก่อสร้างลำปาง
บริษัทก่อสร้างลำพูน
บริษัทก่อสร้างอุตรดิตถ์
บริษัทก่อสร้างกาฬสินธุ์
บริษัทก่อสร้างขอนแก่น
บริษัทก่อสร้างชัยภูมิ
บริษัทก่อสร้างนครพนม
บริษัทก่อสร้างนครราชสีมา
บริษัทก่อสร้างบึงกาฬ
บริษัทก่อสร้างบุรีรัมย์
บริษัทก่อสร้างมหาสารคาม
บริษัทก่อสร้างมุกดาหาร
บริษัทก่อสร้างยโสธร
บริษัทก่อสร้างร้อยเอ็ด
บริษัทก่อสร้างเลย
บริษัทก่อสร้างสกลนคร
บริษัทก่อสร้างสุรินทร์
บริษัทก่อสร้างศรีสะเกษ
บริษัทก่อสร้างหนองคาย
บริษัทก่อสร้างหนองบัวลำภู
บริษัทก่อสร้างอุดรธานี
บริษัทก่อสร้างอุบลราชธานี
บริษัทก่อสร้างอำนาจเจริญ
บริษัทก่อสร้างกำแพงเพชร
บริษัทก่อสร้างชัยนาท
บริษัทก่อสร้างนครนายก
บริษัทก่อสร้างนครปฐม
บริษัทก่อสร้างนครสวรรค์
บริษัทก่อสร้างนนทบุรี
บริษัทก่อสร้างปทุมธานี
บริษัทก่อสร้างพระนครศรีอยุธยา
บริษัทก่อสร้างพิจิตร
บริษัทก่อสร้างพิษณุโลก
บริษัทก่อสร้างเพชรบูรณ์
บริษัทก่อสร้างลพบุรี
บริษัทก่อสร้างสมุทรปราการ
บริษัทก่อสร้างสมุทรสงคราม
บริษัทก่อสร้างสมุทรสาคร
บริษัทก่อสร้างสิงห์บุรี
บริษัทก่อสร้างสุโขทัย
บริษัทก่อสร้างสุพรรณบุรี
บริษัทก่อสร้างสระบุรี
บริษัทก่อสร้างอ่างทอง
บริษัทก่อสร้างอุทัยธานี
บริษัทก่อสร้างจันทบุรี
บริษัทก่อสร้างฉะเชิงเทรา
บริษัทก่อสร้างชลบุรี
บริษัทก่อสร้างตราด
บริษัทก่อสร้างปราจีนบุรี
บริษัทก่อสร้างระยอง
บริษัทก่อสร้างสระแก้ว
บริษัทก่อสร้างกาญจนบุรี
บริษัทก่อสร้างตาก
บริษัทก่อสร้างประจวบคีรีขันธ์
บริษัทก่อสร้างเพชรบุรี
บริษัทก่อสร้างราชบุรี
บริษัทก่อสร้างกระบี่
บริษัทก่อสร้างชุมพร
บริษัทก่อสร้างตรัง
บริษัทก่อสร้างนครศรีธรรมราช
บริษัทก่อสร้างนราธิวาส
บริษัทก่อสร้างปัตตานี
บริษัทก่อสร้างพังงา
บริษัทก่อสร้างพัทลุง
บริษัทก่อสร้างภูเก็ต
บริษัทก่อสร้างระนอง
บริษัทก่อสร้างสตูล
บริษัทก่อสร้างสงขลา
บริษัทก่อสร้างสุราษฎร์ธานี
บริษัทก่อสร้างยะลา
บริษัทก่อสร้างกรุงเทพมหานคร
บริษัทก่อสร้างคลองสาน
บริษัทก่อสร้างคลองสามวา
บริษัทก่อสร้างคลองเตย
บริษัทก่อสร้างคันนายาว
บริษัทก่อสร้างจอมทอง
บริษัทก่อสร้างดอนเมือง
บริษัทก่อสร้างดินแดง
บริษัทก่อสร้างดุสิต
บริษัทก่อสร้างตลิ่งชัน
บริษัทก่อสร้างทวีวัฒนา
บริษัทก่อสร้างทุ่งครุ
บริษัทก่อสร้างธนบุรี
บริษัทก่อสร้างบางกอกน้อย
บริษัทก่อสร้างบางกอกใหญ่
บริษัทก่อสร้างบางกะปิ
บริษัทก่อสร้างบางคอแหลม
บริษัทก่อสร้างบางซื่อ
บริษัทก่อสร้างบางนา
บริษัทก่อสร้างบางพลัด
บริษัทก่อสร้างบางรัก
บริษัทก่อสร้างบางเขน
บริษัทก่อสร้างบางแค
บริษัทก่อสร้างบึงกุ่ม
บริษัทก่อสร้างปทุมวัน
บริษัทก่อสร้างประเวศ
บริษัทก่อสร้างป้อมปราบศัตรูพ่าย
บริษัทก่อสร้างพญาไท
บริษัทก่อสร้างพระนคร
บริษัทก่อสร้างพระโขนง
บริษัทก่อสร้างภาษีเจริญ
บริษัทก่อสร้างมีนบุรี
บริษัทก่อสร้างยานนาวา
บริษัทก่อสร้างราชเทวี
บริษัทก่อสร้างราษฎร์บูรณะ
บริษัทก่อสร้างลาดกระบัง
บริษัทก่อสร้างลาดพร้าว
บริษัทก่อสร้างวังทองหลาง
บริษัทก่อสร้างวัฒนา
บริษัทก่อสร้างสวนหลวง
บริษัทก่อสร้างสะพานสูง
บริษัทก่อสร้างสัมพันธวงศ์
บริษัทก่อสร้างสาทร
บริษัทก่อสร้างสายไหม
บริษัทก่อสร้างหนองจอก
บริษัทก่อสร้างหนองแขม
บริษัทก่อสร้างหลักสี่
บริษัทก่อสร้างห้วยขวาง
บริษัทก่อสร้างเมืองนครปฐม
บริษัทก่อสร้างกำแพงแสน
บริษัทก่อสร้างดอนตูม
บริษัทก่อสร้างนครชัยศรี
บริษัทก่อสร้างบางเลน
บริษัทก่อสร้างพุทธมณฑล
บริษัทก่อสร้างสามพราน
บริษัทก่อสร้างเมืองนนทบุรี
บริษัทก่อสร้างบางกรวย
บริษัทก่อสร้างบางบัวทอง
บริษัทก่อสร้างบางใหญ่
บริษัทก่อสร้างปากเกร็ด
บริษัทก่อสร้างไทรน้อย
บริษัทก่อสร้างเมืองปทุมธานี
บริษัทก่อสร้างคลองหลวง
บริษัทก่อสร้างธัญบุรี
บริษัทก่อสร้างลาดหลุมแก้ว
บริษัทก่อสร้างลำลูกกา
บริษัทก่อสร้างสามโคก
บริษัทก่อสร้างหนองเสือ
บริษัทก่อสร้างเมืองสมุทรปราการ
บริษัทก่อสร้างบางพลี
บริษัทก่อสร้างบางเสาธง
บริษัทก่อสร้างพระประแดง
บริษัทก่อสร้างพระสมุทรเจดีย์
บริษัทก่อสร้างเมืองระยอง
บริษัทก่อสร้างนิคมพัฒนา
บริษัทก่อสร้างเขาชะเมา
บริษัทก่อสร้างบ้านฉาง
บริษัทก่อสร้างปลวกแดง
บริษัทก่อสร้างวังจันทร์
บริษัทก่อสร้างแกลง
บริษัทก่อสร้างเมืองชลบุรี
บริษัทก่อสร้างเกาะจันทร์
บริษัทก่อสร้างบางละมุง
บริษัทก่อสร้างบ่อทอง
บริษัทก่อสร้างบ้านบึง
บริษัทก่อสร้างพนัสนิคม
บริษัทก่อสร้างพานทอง
บริษัทก่อสร้างศรีราชา
บริษัทก่อสร้างสัตหีบ
บริษัทก่อสร้างหนองใหญ่
บริษัทก่อสร้างเกาะสีชัง
บริษัทก่อสร้างเมืองสมุทรสาคร
บริษัทก่อสร้างกระทุ่มแบน
บริษัทก่อสร้างบ้านแพ้ว
บริษัทก่อสร้างมหาชัย
บริษัทก่อสร้างเมืองสมุทร
บริษัทก่อสร้างอัมพวา
บริษัทก่อสร้างบางคนที
บริษัทก่อสร้างเมืองราชบุรี
บริษัทก่อสร้างบ้านคา
บริษัทก่อสร้างจอมบึง
บริษัทก่อสร้างดำเนินสะดวก
บริษัทก่อสร้างบางแพ
บริษัทก่อสร้างบ้านโป่ง
บริษัทก่อสร้างปากท่อ
บริษัทก่อสร้างวัดเพลง
บริษัทก่อสร้างสวนผึ้ง
บริษัทก่อสร้างโพธาราม
บริษัทก่อสร้างเมืองฉะเชิงเทรา
บริษัทก่อสร้างคลองเขื่อน
บริษัทก่อสร้างท่าตะเกียบ
บริษัทก่อสร้างบางคล้า
บริษัทก่อสร้างบางน้ำเปรี้ยว
บริษัทก่อสร้างบางปะกง
บริษัทก่อสร้างบ้านโพธิ์
บริษัทก่อสร้างพนมสารคาม
บริษัทก่อสร้างราชสาส์น
บริษัทก่อสร้างสนามชัยเขต
บริษัทก่อสร้างแปลงยาว
บริษัทก่อสร้างเมืองนครนายก
บริษัทก่อสร้างปากพลี
บริษัทก่อสร้างบ้านนา
บริษัทก่อสร้างองครักษ์