9490165

First Aid ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ช่วยไว้ก่อนสาย

หมวดหมู่สินค้า: A290 ดูแลผู้ป่วยตามบ้าน

03 มีนาคม 2565

ผู้ชม 233 ผู้ชม

ดูแลผู้สูงอายุ&ผู้ป่วยพักฟื้น | อบอุ่น ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ‎
ศูนย์แลผู้สูงอายุ ผู้ป่วย รับเฝ้าไข้ตามบ้าน โรงพยาบาล ดูแลเด็กตามบ้านและผู้สูงอายุ จัดหาพนักงานดูแลผู้สูงอายุ ดูแลผู้ป่วย แม่บ้าน พี่เลี้ยงเด็ก เจ้าหน้าที่เราผ่านการฝึกอบรม
รับดูแลผู้ป่วยตามบ้าน
รับดูแลคนชราตามบ้าน
รับดูแลคนแก่ตามบ้าน
รับเฝ้าไข้ตามบ้าน
ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุที่ไหนดี

        ติดต่อสอบถาม
 


First Aid ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ช่วยไว้ก่อนสาย
 
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น (First Aid) เป็นการให้ความช่วยเหลือทางการแพทย์แก่ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บทันที ณ บริเวณเกิดเหตุ อาจเป็นการใช้ทักษะความรู้เฉพาะทางหรือการตัดสินใจที่เหมาะสมกับสถานการณ์ฉุกเฉิน ในการช่วยเหลืออาจใช้เพียงอุปกรณ์เท่าที่หาได้ในขณะนั้น เพื่อประคับประคองอาการของผู้ป่วยจนกว่าจะได้รับการรักษาจากบุคลากรทางการแพทย์ หรือถูกส่งต่อเพื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลอย่างเร่งด่วน
 
จุดประสงค์ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้เสมอ การเรียนรู้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพื่อรับมือกับสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดจึงเป็นเรื่องสำคัญ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกต้องอาจช่วยป้องกันความพิการที่อาจเกิดขึ้นจากอาการบาดเจ็บ ไม่ว่าจะเป็นความเจ็บป่วยจากอุบัติเหตุเล็กน้อย ๆ ก็ตาม โดยช่วยลดความรุนแรงของอาการบาดเจ็บ และช่วยให้ร่างกายของผู้ป่วยกลับสู่สภาพเดิมโดยเร็ว ด้วยวิธีการเช่น การทำความสะอาดแผลด้วยน้ำเย็น หรือใช้ผ้าพันแผลกดห้ามเลือดสำหรับบาดแผลจากของมีคม ตลอดจนการรับมือในกรณีอุบัติเหตุร้ายแรงที่อาจส่งผลถึงชีวิตด้วยเช่นกัน
 
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นกับอุบัติเหตุ
 
วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นต้องดูตามอาการซึ่งแตกต่างกัน โดยผู้ที่ให้ความช่วยเหลือต้องมีสติ คิดหาวิธีรับมือ และตัดสินใจให้เหมาะสมกับสถานการณ์มากที่สุด สิ่งที่ผู้ช่วยเหลือควรคำนึงถึง คือ เรื่องขีดความสามารถ ข้อจำกัด หรือความปลอดภัยเป็นอันดับต้น ๆ โดยให้รีบติดต่อขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานกู้ชีพฉุกเฉินเสมอ
 
แขนหรือขาหัก
 
แขนหักหรือขาหักมีอาการที่สังเกตเห็นได้ เช่น พบกระดูกโผล่ออกผิวหนัง เลือดทะลักออกจากแผลและไหลไม่หยุด แม้จะกดแผลห้ามเลือดอยู่หลายนาที หรืออาการบาดเจ็บที่ศีรษะ ลำคอ และหลัง ผู้ช่วยเหลือสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ด้วยวิธีการ ดังนี้
 
- ในกรณีที่ต้องห้ามเลือด กดแผลให้แน่นด้วยผ้าสะอาดจนกว่าเลือดจะหยุดไหล
- การประคบน้ำแข็ง หรือยกแขนขึ้นเหนือหัวใจ อาจช่วยให้แผลบวมน้อยลงได้
- หากเสื้อผ้าที่ผู้ป่วยสวมใส่ปกปิดแขนบริเวณที่หัก ให้ถอดหรือตัดเสื้อผ้าออกแต่ห้ามขยับแขนเด็ดขาด
- สำหรับอาการแขนหักที่ไม่รุนแรงมากนัก ให้ดามแขนโดยพันม้วนกระดาษหนังสือพิมพ์ หรือไม้บรรทัด ด้วยเทปที่ใช้สำหรับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น หรือดามแขนของผู้ป่วยโดยใช้ผ้าพันแผลพันไว้กับไม้กระดาน
- หากพบว่าผู้ป่วยขาหัก ให้ผู้ช่วยเหลือดามที่ขาโดยใช้ผ้าพันแผลพันรอบหัวเข่า ข้อเท้า ในส่วนบน และล่างของบริเวณที่หักกับไม้กระดานหรือวัสดุดาม หรือดามไว้กับขาอีกข้างที่ไม่ได้รับบาดเจ็บ
- ตรวจสอบให้แน่ใจว่าการดามไม่ได้ส่งผลต่อการไหลเวียนเลือดที่บริเวณแขนหรือขา
- หากผู้ป่วยมีอวัยวะหักเป็นแผลเปิดที่มีชิ้นส่วนของกระดูกโผล่ออกมา พยายามอย่าแตะต้อง และให้ใช้ผ้าพันแผลปราศจากเชื้อโรคพันไว้ และรอความช่วยเหลือทางการแพทย์
- ห้ามให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารหรือดื่มเครื่องดื่มใด ๆ เนื่องจากอาจต้องเข้ารับการรักษาโดยการผ่าตัด
- รีบเข้ารับการรักษาจากแพทย์โดยทันที ซึ่งแพทย์อาจเอกซเรย์ เข้าเฝือกแขน หรือผ่าตัดในกรณีที่กระดูกทะลุผิวหนัง เพื่อฟื้นฟูกระดูกส่วนที่ที่แตกหัก
 
หัวแตก
 
ใบหน้าและหนังศีรษะเป็นส่วนที่มีเส้นเลือดใกล้ผิวชั้นนอกมาก ดังนั้น รอยแผลหัวแตกมักจะมีเลือดไหลออกมาก ในกรณีที่บาดแผลลึกถึงกระโหลกศีรษะ ผู้ป่วยควรได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน แต่ในกรณีที่บาดแผลไม่สาหัส อาจปฐมพยาบาลห้ามเลือดได้เองที่บ้าน โดยมีวิธีดังต่อไปนี้
 
- กดแผลห้ามเลือด หากเป็นไปได้ให้ล้างมือ หรือสวมถุงมือกันเชื้อโรคทุกครั้ง
- ให้ผู้ป่วยนอนลง หากมีสิ่งแปลกปลอมติดอยู่กับแผล ให้เอาออกให้หมด
- ใช้ผ้าพันแผล หรือผ้าสะอาดกดแผลไว้ให้แน่น 15 นาที อย่าหยุดกดจนกว่าจะครบเวลา หากเลือดซึมผ่านผ้า ให้ใช้ผ้าสะอาดผืนใหม่แปะแล้วกดต่อ
- ในกรณีที่บาดแผลค่อนข้างสาหัสและเลือดยังไม่ยอมหยุดไหล ให้กดแผลต่อไปเรื่อย ๆ ระหว่างรอความช่วยเหลือ พยายามให้แผลสะอาดและหลีกเลี่ยงไม่ให้บาดเจ็บซ้ำอีก
- ในกรณีที่บาดแผลไม่ร้ายแรง หลังจากกดแผลไว้แล้ว 15 นาที เลือดมักจะหยุดไหลได้เอง หรืออาจไหลซึมอยู่บ้างประมาณ 45 นาที
- หากผู้ช่วยเหลือสังเกตพบว่ามีอาการแตกร้าวของกระโหลก ให้ปิดแผลด้วยผ้าพันแผลที่สะอาดปราศจากเชื้อโรค โดยห้ามออกแรงกดห้ามเลือดโดยตรง หรือหลีกเลี่ยงแตะต้องเศษเนื้อตายที่บริเวณบาดแผล
- บาดแผลที่มีอาการบวม บรรเทาลงได้ด้วยการประคบน้ำแข็ง
- เฝ้าสังเกตอาการหมดสติ หรือช็อก
 
เป็นลม
 
อาการเป็นลมเกิดขึ้นจากภาวะเลือดเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ ทำให้ผู้ป่วยหมดสติชั่วคราว การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อเป็นลมอาจทำได้ดังนี้
 
- ในกรณีที่ตัวเรามีอาการเป็นลมซึ่งอาจสังเกตได้จากอาการที่เกิดฉับพลัน เช่น รู้สึกหน้ามืด ตาพร่าลาย หรือเวียนศีรษะ ให้รีบล้มตัวนอนหรือนั่งพัก โดยขณะมีอาการให้นั่งในท่าโน้มศีรษะลงมาอยู่ระหว่างเข่าพร้อมกับหายใจเข้าลึกเต็มปอด หากรู้สึกดีขึ้นจึงค่อย ๆ ลุกขึ้น ทั้งนี้ผู้ป่วยไม่ควรรีบลุกขึ้นเร็วจนเกินไปเนื่องจากอาจเป็นลมซ้ำได้
- ในกรณีที่พบผู้ป่วยเป็นลม ควรช่วยจัดท่าทางให้ผู้ป่วยนอนหงายราบ และยกขาขึ้นให้อยู่เหนือระดับหัวใจ (ประมาณ 30 เซนติเมตร) เพื่อให้โลหิตไหลเวียนไปหล่อเลี้ยงสมองได้ง่ายขึ้น รวมทั้งปลดเข็มขัด ปกคอเสื้อ หรือเสื้อผ้าส่วนอื่น ๆ ที่รัดแน่น เพื่อช่วยลดโอกาสเป็นลมซ้ำ หากผู้ป่วยฟื้นขึ้น อย่าเพิ่งให้ลุกขึ้นเร็วจนเกินไป และให้รีบติดต่อขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานแพทย์หรือกู้ชีพ
- สังเกตดูว่าผู้ป่วยอาเจียน และหายใจได้สะดวกดีหรือไม่
- สังเกตการไหลเวียนโลหิต ซึ่งดูได้จากการหายใจ อาการไอ หรือการเคลื่อนไหว หากพบความผิดปกติว่าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้รีบติดต่อขอความช่วยเหลือ แล้วทำ CPR (การปั๊มหัวใจ)ไปเรื่อย ๆ จนกว่าผู้ป่วยจะมีสัญญาณชีพจรและกลับมาหายใจได้อีกครั้ง หรือเมื่อความช่วยเหลือมาถึง
- ในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นลมล้มลงจนได้รับบาดเจ็บ ไม่ว่าจะเป็นบาดแผลฟกช้ำ หรือแผลที่มีเลือดออก ให้ดูแลบาดแผลและกดแผลห้ามเลือด
- ให้ผู้ช่วยเหลือพาผู้ป่วยที่เป็นลมไปอยู่ในสถานที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก หลีกเลี่ยงสถานที่ที่มีผู้คนจอแจ และให้ดมแอมโมเนีย หรือยาดม เพื่อบรรเทาอาการ โดยผู้ช่วยเหลืออาจใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดหน้าควบคู่ไปด้วยได้เช่นกัน อย่างไรก็ตาม หากผู้ป่วยยังไม่มีอาการดีขึ้น ควรรีบพาส่งโรงพยาบาลเพื่อตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์
 
อาการชัก
 
อาการชักมีหลายประเภทและมักจะหยุดลงในเวลาไม่กี่นาที อาจมีสัญญาณบอกล่วงหน้า เช่น รู้สึกหวาดกลัว หรือวิตกกังวลอย่างฉับพลัน รู้สึกปั่นป่วนในท้อง มึนงง ปวดศีรษะ การมองเห็นผิดปกติ ร่างกายชาไร้ความรู้สึก หรือการควบคุมแขนหรือขาเกิดความผิดปกติ ทั้งนี้ หากพบผู้ป่วยชักเกร็งกระตุกทั้งตัว ผู้ช่วยเหลือควรรีบปฐมพยาบาลเบื้องต้น ดังนี้
 
- ผู้ช่วยเหลือควรตั้งสติไว้ให้ดี และอยู่กับผู้ป่วยจนกว่าจะหายชัก หรือกลับมารู้สึกตัวปกติดีอีกครั้ง
- ให้ผู้ช่วยเหลือพยายามกันไม่ให้มีคนมุงดู โดยอาจขอความร่วมมือจากผู้อื่นให้เว้นระยะห่างให้ผู้ป่วยได้มีพื้นที่สงบและรู้สึกปลอดภัย ในกรณีที่เหตุการณ์เกิดขึ้นในสถานที่อันตราย เช่น บนท้องถนน หรือบันได ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปอยู่ในที่ที่ปลอดภัยและเป็นส่วนตัว
- จับผู้ป่วยนอนตะแคงหนุนหมอน เพื่อป้องกันการสำลักน้ำลาย หรือสำลักอาเจียน
- ระมัดระวังไม่ให้ศีรษะของผู้ป่วยกระทบกระเทือน โดยผู้ช่วยเหลืออาจหาเสื้อผ้ามารองไว้ใต้ศีรษะ
- ปลดเครื่องแต่งกายที่รัดแน่น เช่น กระดุมปกคอเสื้อ เพื่อให้ผู้ป่วยหายใจสะดวกขึ้น
- พยายามให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวก โดยการจับกราม และดันศีรษะไปด้านหลังเล็กน้อย
- ห้ามเขย่าตัว ตะโกนใส่ หรือนำสิ่งของแปลกปลอมเข้าปากผู้ป่วยที่กำลังเกิดอาการโดยเด็ดขาด ไม่ว่าจะเป็นยาเม็ด หรือน้ำเปล่า เพราะอาจทำให้เกิดการสำลักได้
- ห้ามยึดยื้อหรือดึงรั้งแขนและขาของผู้ป่วยที่มีอาการชัก เว้นแต่ในกรณีที่ผู้ป่วยกำลังจะได้รับอันตรายจากการตกที่สูง หรือการตกน้ำ
- ในระหว่างปฐมพยาบาลควรจดจำอาการ และระยะเวลาที่เกิดอาการว่านานเท่าไร เพื่อจะได้แจ้งแก่ผู้ป่วยหรือแพทย์ได้
- หลังจากอาการชักสิ้นสุดลง มีความเป็นไปได้ว่าผู้ป่วยอาจเพลียหลับไป ในกรณีนี้ให้ผู้ช่วยเหลือจัดท่าผู้ป่วยนอนพลิกตะแคง เช็ดน้ำลาย หรือสิ่งแปลกปลอมที่ไปอุดกั้นทำให้หายใจไม่สะดวก เช่น ฟันปลอม หรือเศษอาหาร
- หากผู้ช่วยเหลือสังเกตพบว่าผู้ป่วยชักอยู่นานเกินกว่า 5 นาที มีอาการชักซ้ำ ๆ ติดกัน หายใจติดขัดผิดปกติ หรือผู้ป่วยได้รับการบาดเจ็บที่รุนแรงระหว่างชัก ควรรีบนำตัวผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลเพื่อให้แพทย์ตรวจวินิจฉัยโดยด่วน
 
แผลงูกัด
 
หากไม่สามารถจดจำลักษณะของงูหรือไม่ทราบชนิดของงูที่กัด ให้ผู้ช่วยเหลือและผู้ป่วยพึงสงสัยไว้ก่อนได้เลยว่างูที่กัดอาจมีพิษ และรีบติดต่อขอความช่วยเหลือจากแพทย์โดยทันที ทั้งนี้ อาการที่เกิดจากบาดแผลงูพิษอาจสังเกตได้จากการหายใจลำบาก หรือหมดสติ ในทางตรงกันข้ามถ้าทราบแน่ชัดแล้วว่างูที่กัดเป็นสายพันธุ์ที่ไม่มีพิษ ให้รักษาแผลเหมือนกับการรักษาแผลถูกของมีคมบาด และควรจดจำลักษณะของงูเอาไว้ให้ดี เมื่อผู้เชี่ยวชาญมาจะได้บอกรายละเอียดของงูได้ถูกต้อง ทั้งนี้ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นบาดแผลงูกัดในระหว่างรอความช่วยเหลือควรปฏิบัติ ดังนี้
 
- รีบพาผู้ป่วยหนีออกห่างจากงู และให้ผู้ป่วยนอนลง
- ผู้ช่วยเหลือควรพยายามทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสงบ เคลื่อนไหวแขน ขา หรือส่วนที่ถูกงูกัดให้น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เพื่อไม่ให้พิษแพร่กระจาย พยายามจัดตำแหน่งให้บริเวณที่ถูกงูกัดอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าหัวใจ เช่น หากถูกงูกัดที่มือหรือเท้าให้ห้อยลงต่ำ
- ปิดแผลด้วยพลาสเตอร์ปิดแผลแบบปราศจากเชื้อ
- ถอดเครื่องประดับที่อยู่ใกล้เคียงกับแผลออก หรือถอดรองเท้าหากถูกกัดที่ขา หรือเท้า
- ในระหว่างรอความช่วยเหลือ ห้ามกรีดบริเวณบาดแผล ดูดพิษ ขันชะเนาะ ล้างแผลด้วยน้ำ ประคบน้ำแข็ง ใช้ไฟหรือเล็กร้อนจี้บริเวณที่ถูกงูกัด ให้ใช้เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของคาเฟอีน หรือแอลกอฮอล์ รวมทั้งห้ามรักษาด้วยยาชนิดอื่นโดยเด็ดขาด
- ห้ามผู้ป่วยเดินเท้าในระหว่างการเดินทางไปยังสถานพยาบาล ให้ผู้ป่วยนั่งรถหรือแคร่หาม เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของพิษงูไปทั่วร่างกาย
 
จมน้ำ
 
การจมน้ำมักไม่มีอาการอื่น ๆ แสดงให้เห็นนอกเสียจากพบว่าผู้ป่วยหยุดหายใจ หรือพบว่านอนอยู่ที่ฝั่งแล้ว การปฐมพยาบาลเบื้องต้นทำได้โดยปฏิบัติดังนี้
 
- หากผู้ป่วยหยุดหายใจหรือเรียกแล้วไม่ตอบสนอง ให้เปิดทางเดินหายใจให้โล่งขึ้น และทำ CPR ก่อนเป็นเวลา 1 นาที จากนั้นจึงร้องขอความช่วยเหลือจากผู้คนที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงให้ติดต่อกับหน่วยงานฉุกเฉินที่หมายเลข 1669 โดยทันที ภายหลังให้ทำ CPR ร่วมกับการผายปอดอย่างต่อเนื่อง (หากเคยมีประสบการณ์หรือผ่านการเรียนวิธีผายปอดที่ถูกต้องมาก่อน) จนกว่าความช่วยเหลือจะมาถึง
- หากพบว่าผู้ป่วยหมดสติแต่ยังคงหายใจอยู่ จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่าพัก โดยให้ศีรษะอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าตัว แต่สำหรับกรณีที่ผู้ป่วยจมน้ำรู้สึกตัว ให้ผู้ช่วยเหลือรีบเช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อผ้า แล้วพาผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด
- คอยเฝ้าสังเกตอาการ เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ป่วยยังหายใจอยู่
- ผู้ช่วยเหลือไม่ควรพยายามกำจัดน้ำในตัวผู้ป่วยออกด้วยวิธีการอุ้มพาดบ่าแล้วกระทุ้งเอาน้ำออก เพราะน้ำที่ไหลออกจากการกระทุ้งนั้นอาจไม่ใช่น้ำที่ค้างในปอด แต่อาจเป็นน้ำจากกระเพาะอาหาร ซึ่งการปฏิบัติดังกล่าวก่อให้เกิดอันตรายกับผู้ป่วยตามมาได้
 
อาการสำลัก
 
การสำลักเกิดจากสิ่งแปลกปลอมเข้าไปติดค้างอยู่ในลำคอหรือกีดขวางหลอดลม สังเกตเห็นได้จากอาการบางอย่าง เช่น เล็บ ริมฝีปาก และผิวหนังของผู้ป่วยคล้ำหรือเปลี่ยนเป็นสีเขียว พูดไม่มีเสียงหายใจลำบาก หายใจเสียงดัง ไม่สามารถไอแรง ๆ หรือหมดสติ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นควรทำโดยทันที เนื่องจากการสำลักจะทำให้สมองขาดออกซิเจน โดยปฏิบัติดังนี้
 
- ตบหลัง 5 ครั้ง ระหว่างกระดูกสะบักของผู้ป่วยด้วยส้นมือ โดยผู้ช่วยเหลือควรเรียนเทคนิคการตบหลังก่อนการช่วยเหลือ ไม่เช่นนั้นให้ใช้วิธีการกดกระแทกที่ท้องแทน หรือจะทำ 2 วิธีสลับกันก็ได้
- กดกระแทกที่ท้อง (Abdominal Thrusts) 5 ครั้ง ควรทำก่อนการขอความช่วยเหลือ โดยให้ยืนข้างหลัง เอาแขนรัดรอบเอว แล้วโน้มตัวผู้ป่วยไปด้านหน้าเล็กน้อย กำหมัดแล้ววางไว้ตรงสะดือของผู้ป่วย จากนั้นใช้มืออีกข้างจับที่หมัด แล้วกดลงแรงและเร็วที่ท้องของผู้ป่วย ให้เหมือนกับกำลังพยายามยกตัวผู้ป่วยขึ้น วิธีนี้สามารถทำซ้ำจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา และสามารถใช้ได้กับเด็กที่มีอายุมากกว่า 1 ปีและผู้ใหญ่
- ในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นทารกที่อายุต่ำกว่า 1 ปี ให้ผู้ช่วยเหลือวางท้องแขนลงบนหน้าตัก จับผู้ป่วยอยู่ในท่านั่ง แล้ววางใบหน้าของผู้ป่วยลงบนท้องแขน จากนั้นค่อย ๆ ทุบลงกลางหลังให้แรงมากพอจะทำให้สิ่งแปลกปลอมหลุดออกมาได้
- หากยังไม่ได้ผลให้ใช้ 2 นิ้ววางตรงกลางกระดูกหน้าอก และปั๊มหัวใจ 5 รอบแบบเร็ว ๆ ทำซ้ำจนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดออกมา ในกรณีที่ไม่มีสิ่งแปลกปลอมขวางทางเดินหายใจ หากทารกหยุดหายใจ ให้รีบติดต่อขอความช่วยเหลือแล้วจึงทำ CPR
 
ติดต่อสายด่วนช่วยชีวิต
 
ผู้ช่วยเหลือที่พบผู้ป่วยกำลังต้องการความช่วยเหลือทางการแพทย์ฉุกเฉิน ให้ตั้งสติ และติดต่อแจ้งเหตุผ่านเบอร์โทรศัพท์ 1669 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง



ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเชียงราย 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเชียงใหม่ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันน่าน 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพะเยา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันแพร่ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันแม่ฮ่องสอน 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันลำปาง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันลำพูน 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันอุตรดิตถ์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันกาฬสินธุ์ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันขอนแก่น 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันชัยภูมิ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันนครพนม 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันนครราชสีมา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบึงกาฬ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบุรีรัมย์ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันมหาสารคาม 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันมุกดาหาร 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันยโสธร 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันร้อยเอ็ด 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเลย 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสกลนคร 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสุรินทร์ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันศรีสะเกษ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันหนองคาย 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันหนองบัวลำภู 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันอุดรธานี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันอุบลราชธานี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันอำนาจเจริญ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันกำแพงเพชร 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันชัยนาท 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันนครนายก 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันนครปฐม 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันนครสวรรค์ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันนนทบุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันปทุมธานี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพระนครศรีอยุธยา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพิจิตร 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพิษณุโลก 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเพชรบูรณ์ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันลพบุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสมุทรปราการ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสมุทรสงคราม 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสมุทรสาคร 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสิงห์บุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสุโขทัย 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสุพรรณบุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสระบุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันอ่างทอง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันอุทัยธานี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันจันทบุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันฉะเชิงเทรา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันชลบุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันตราด 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันปราจีนบุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันระยอง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสระแก้ว 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันกาญจนบุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันตาก 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันประจวบคีรีขันธ์ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเพชรบุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันราชบุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันกระบี่ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันชุมพร 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันตรัง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันนครศรีธรรมราช 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันนราธิวาส 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันปัตตานี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพังงา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพัทลุง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันภูเก็ต 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันระนอง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสตูล 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสงขลา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสุราษฎร์ธานี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันยะลา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันกรุงเทพมหานคร
 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันคลองสาน 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันคลองสามวา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันคลองเตย
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันคันนายาว 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันจอมทอง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันดอนเมือง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันดินแดง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันดุสิต 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันตลิ่งชัน 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันทวีวัฒนา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันทุ่งครุ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันธนบุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางกอกน้อย
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางกอกใหญ่ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางกะปิ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางคอแหลม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางซื่อ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางนา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางพลัด 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางรัก
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางเขน 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางแค 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบึงกุ่ม 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันปทุมวัน
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันประเวศ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันป้อมปราบศัตรูพ่าย 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพญาไท
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพระนคร 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพระโขนง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันภาษีเจริญ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันมีนบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันยานนาวา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันราชเทวี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันราษฎร์บูรณะ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันลาดกระบัง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันลาดพร้าว 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันวังทองหลาง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันวัฒนา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสวนหลวง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสะพานสูง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสัมพันธวงศ์ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสาทร 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสายไหม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันหนองจอก 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันหนองแขม 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันหลักสี่ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันห้วยขวาง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเมืองนครปฐม 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันกำแพงแสน 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันดอนตูม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันนครชัยศรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางเลน 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพุทธมณฑล 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสามพราน
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเมืองนนทบุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางกรวย 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางบัวทอง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางใหญ่ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันปากเกร็ด 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันไทรน้อย
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเมืองปทุมธานี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันคลองหลวง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันธัญบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันลาดหลุมแก้ว 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันลำลูกกา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสามโคก 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันหนองเสือ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเมืองสมุทรปราการ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางพลี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางเสาธง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพระประแดง
 ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพระสมุทรเจดีย์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเมืองระยอง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันนิคมพัฒนา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเขาชะเมา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบ้านฉาง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันปลวกแดง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันวังจันทร์ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันแกลง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเมืองชลบุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเกาะจันทร์ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางละมุง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบ่อทอง  
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบ้านบึง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพนัสนิคม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพานทอง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันศรีราชา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสัตหีบ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันหนองใหญ่ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเกาะสีชัง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเมืองสมุทรสาคร 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันกระทุ่มแบน 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบ้านแพ้ว 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันมหาชัย
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเมืองสมุทร
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันอัมพวา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางคนที
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเมืองราชบุรี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบ้านคา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันจอมบึง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันดำเนินสะดวก 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางแพ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบ้านโป่ง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันปากท่อ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันวัดเพลง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสวนผึ้ง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันโพธาราม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเมืองฉะเชิงเทรา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันคลองเขื่อน 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันท่าตะเกียบ 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางคล้า
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางน้ำเปรี้ยว 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบางปะกง 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบ้านโพธิ์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันพนมสารคาม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันราชสาส์น 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันสนามชัยเขต 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันแปลงยาว
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันเมืองนครนายก 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันปากพลี 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันบ้านนา 
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านใกล้ฉันองครักษ์
 
Engine by shopup.com