ระบบป้องกันฟ้าผ่าสำหรับอาคาร (Building Lightning System Protection)
หมวดหมู่สินค้า: A228 ระบบป้องกันฟ้า
28 กุมภาพันธ์ 2565
ผู้ชม 389 ผู้ชม
จำหน่ายระบบป้องกันฟ้าผ่าติดตั้งระบบป้องกันฟ้าผ่า ติดตั้งสายล่อฟ้า สายล่อฟ้า
ระบบป้องกันฟ้าผ่า ติดตั้งระบบป้องกันฟ้าผ่า ติดตั้งสายล่อฟ้า
การติดตั้งสายล่อฟ้า
ติดตั้งสายล่อฟ้า
รับติดตั้งสายล่อฟ้าราคา
สายล่อฟ้าราคา
ติดตั้งหัวล่อฟ้า
ติดตั้งซ่อมแซมระบบล่อฟ้า
ติดตั้งอุปกรณ์ล่อฟ้า
ระบบป้องกันฟ้าผ่าสำหรับอาคาร (Building Lightning System Protection)
ฟ้าผ่าเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างหนึ่ง ซึ่งจะผ่าที่ไหนเมื่อไหร่ไม่มีโอกาสรู้ล่วงหน้าได้เลย เมื่อเกิดฟ้าผ่ามักจะเกิดความเสียหายแก่สิ่งที่ถูกผ่า เช่น บ้านเรือนและสิ่งที่มีชีวิตที่อยู่ในบริเวณนั้น จากการค้นพบของเบนจามิน แฟรงคลิน (Benjamin Franklin) ในปี 1706-1790 นั้น ทำให้มนุษย์สามารถที่จะเอาชนะธรรมชาติบางอย่างได้ แต่การเกิดฟ้าผ่าตามธรรมชาตินั้นเราไม่อาจที่จะห้ามได้ ดังนั้นการป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่านั้นสามารถทำได้ หากมีระบบสายล่อฟ้าที่ดีเพื่อล่อให้ฟ้าผ่าลงบนสายล่อฟ้าที่จัดทำไว้ หากมีฟ้าผ่าเกิดขึ้นในบริเวณนั้นกระแสจำนวนมากจากฟ้าผ่าที่เกิดจากการคายประจุจากก้อนเมฆจึงวิ่งลงสู่พื้นโลกได้สะดวก และรวดเร็วไม่เกิดความเสียหาย
การป้องกันฟ้าผ่า การป้องกันฟ้าผ่านั้นในปัจจุบันนี้นิยมใช้กันอยู่สองวิธี คือ
- วิธีของกรงฟาราเดย์ (Faraday cage)
- วิธีการใช้สารกัมมันตภาพรังสี (Radio active)
2 การป้องกันฟ้าผ่าโดยใช้กรงฟาราเดย์ (Faraday cage)
2.1 หลักล่อฟ้า (Air terminal) อาจจะเป็นเสาโลหะหรือสายตัวนำซึ่งยึดไว้บนยอดสูงสุดของสิ่งก่อสร้าง หรือบริเวณที่ต้องการป้องกัน หลักล่อฟ้านี้นิยมใช้แบบปลายแหลม เพื่อให้ความเข้มของสนามไฟฟ้า (Electric field stress) ที่จุดนั้นมีค่าสูงกว่าบริเวณที่อยู่ใกล้เคียง หลักล่อฟ้านี้มีหน้าที่ล่อให้ฟ้าผ่าลง หลักล่อฟ้ามีรูปร่างต่าง ๆ ดังรูปที่ 2
2.2 จะติดตั้งหลักล่อฟ้าจำนวนกี่หลักในแต่ละอาคาร ตามมาตรฐานจะกำหนดว่าหลักล่อฟ้าหนึ่งต้นจะมีรัศมีป้องกันเป็นทรงกรวยเท่ากับ 45 องศา ทำมุมกับแกนของหลักล่อฟ้า ดังรูปที่ 3
รูปที่ 3 รัศมีที่คุ้มครองของหลักล่อฟ้าตามมาตรฐาน
แต่อย่างไรก็ตามถ้าหากต้องการให้ระบบป้องกันฟ้าผ่ามีความมั่นใจสูง มุมที่ป้องกันได้จริงควรจะใช้มุม 30 องศา ดังนั้นในการติดตั้งหลักล่อฟ้าตามลักษณะส่วนบนของหลังคาตึก จำนวนหลักล่อฟ้าของแต่ละอาคารจะไม่เท่ากัน บางแห่งมีหลายหลัก ดังรูปที่ 4-5 แต่บางแห่ง
ก็มีหลักล่อฟ้าเพียงจุดเดียวเท่านั้น ถ้าหลักล่อฟ้านั้นมีความสูงมากพอที่จะมีรัศมีคุ้มครองอาคารนั้นได้ทั้งหมด สำหรับระยะห่างของหลักล่อฟ้านั้นขึ้นอยู่กับความสูงของหลักล่อฟ้า เนื่องจากการออกแบบทางสถาปนิกไม่นิยมให้เห็นหลักล่อฟ้าจึงมักใช้หลักล่อฟ้าที่มีความสูงเพียง 30-60 เซนติเมตร จึงต้องใช้หลักล่อฟ้าจำนวนมาก ดังนั้นระยะห่างของหลักล่อฟ้า x ในรูปที่ 4 และ 5 นั้นไม่ควรห่างกันเกิน 8 เมตร เพราะช่วงเสาของตึกจะอยู่ประมาณ 4 เมตร ใช้ระยะห่างของช่วงเสาสองช่อง 8 เมตร ก็จะทำให้คุ้มครอบได้หมดและสวยงาม
2.3 การติดตั้งหลักล่อฟ้ากับอาคารที่มีหลังคาหลายระดับ การติดตั้งหลักล่อฟ้ากับหลังคาที่มีหลายระดับนั้น บางคนเข้าใจผิดว่าอาคารที่ระดับต่ำลงมาไม่จำเป็นต้องมีการป้องกัน ที่ถูกต้องแล้วนั้น จะต้องทำการป้องกันด้วยเพียงแต่ใช้หลักล่อฟ้าให้ลดน้อยลงมาได้ในส่วนที่ติดกับอาคารที่มีระดับสูงกว่า เพราะว่าหลักล่อฟ้าของอาคารที่มีระดังสูงกว่ามีรัศมีคุ้มครองเป็นมุม 45 องศาถึงระดับต่ำกว่า7
2.4 การติดตั้งล่อฟ้าตามแนวราบ ในบางครั้งสถาปนิกไม่ต้องการให้มีหลักล่อฟ้าปรากฎให้เห็นบนตัวอาคารเลย เพราะจะทำให้ตึกหมดความสวยงาม ดังนั้นหลักล่อฟ้าอาจเปลี่ยนเป็น แบบสายตัวนำ วางตามแนวราบได้ โดยระยะห่างของสายล่อฟ้าตามแนวราบไม่ควรเกิน 10 เมตร
2.5 ขนาดของหลักล่อฟ้าหรือสายล่อฟ้า
- ทองแดง, อะลูมิเนียม, ทองเหลือง, เหล็กกัลวาไนซ์ 50 ตารางมิลลิเมตร
- ทองแดงเส้นแบน, เหล็กอาบสังกะสี 20x2.5 ตารางมิลลิเมตร
- อะลูมิเนียมแบน 20x4.0 ตารางมิลลิเมตร
2.6 การจัดวางสายล่อฟ้ากับอาคารหลังคาทรงแหลม และหลังคาทรงราบ การวางหลักล่อฟ้าหรือสายล่อฟ้านั้น จะขึ้นอยู่กับลักษณะของอาคารและหลังคาว่าเป็นแบบใด การจัดวางเสาล่อฟ้าและสายล่อฟ้าตามแนวระนาบ โดยจะต้องวางหลักล่อฟ้าและสายล่อฟ้าให้สามารถคุ้มครองพื้นที่ที่ต้องการป้องกันได้ทุกจุด เมื่อเกิดฟ้าผ่าเกิดขึ้นจะต้องให้ฟ้าผ่าลงที่หลักล่อฟ้าหรือสายล่อฟ้าที่ติดตั้งไว้ เพื่อให้การป้องกันที่ทำไว้มีความสมบูรณ์แบบจะต้องไม่ให้จุดใดจุดหนึ่งบนหลังคาอยู่จากหลักล่อฟ้าหรือสายล่อฟ้าเกิน 10 เมตร
2.7 สายตัวนำลงดิน (Down conductor) ปกติแล้วสายตัวนำลงดินที่ใช้จะใช้ลวดทองแดงตีเกลียวที่มีขนาดใหญ่พอที่จะนำประจุไฟฟ้าลงดินได้อย่างรวดเร็ว สายตัวนำลงดินนี้จะต่อกับหลักล่อฟ้าหรือสายล่อฟ้าและมีจำนวนสายตัวนำลงดินมากพอ สำหรับจำนวนสายตัวนำลงดิน ส่วนขนาดของสายตัวนำลงดินมักจะใช้สายไฟที่เป็นสายทองแดงเปลือยตีเกลียวขนาดพื้นที่หน้าตัดโตกว่า 50 ตารางมิลลิเมตร การติดตั้งสายตัวนำลงดินสามารถติดตั้งได้ 3 แบบคือ
- ร้อยท่อเดินภายในเสาโครงสร้าง
- ร้อยท่อเดินตามด้านนอกของตัวอาคาร
- ใช้โครงสร้างเป็นตัวนำลงดิน
ก. การติดตั้งสายตัวนำลงดินโดยร้อยท่อเดินภายในเสาโครงสร้างวิธีนี้มีข้อดีคือ สวยงามแต่มีข้อเสียในการตรวจซ่อมและขณะก่อสร้างจะต้องมีการควบคุมกันอย่างใกล้ชิด
ข. การติดตั้งสายตัวนำลงดินโดยเดินร้อยท่อตามด้านนอกของอาคาร วิธีการนี้มีข้อดีคือติดตั้งและทำการซ่อมได้สะดวก แต่มีข้อเสียคือทำให้อาคารไม่ค่อยสวยงาม การติดตั้งสายตัวนำลงดินนี้ก่อนร้อยท่อจะต้องทาจาระบีบนสายทองแดงเปลือยก่อนเพื่อป้องกันการเกิดออกไซด์ ถ้าไม่ร้อยท่อติดตั้งเปลือยก็ทำได้แต่สายไฟเปลือยเมื่อใช้ไปนานจะเกิดออกไซด์ ซึ่งจะทำให้เกิดความยุ่งยากต่อการซ่อมบำรุงภายหลัง
ค. การติดตั้งสายตัวนำลงดินโดยใช้โครงสร้างเหล็กเป็นสายตัวนำลงดินวิธีนี้เราจะใช้โครงเหล็กของตัวอาคารเป็นสายตัวนำลงดิน ดังนั้นในการใช้สายตัวนำลงดินแบบนี้จะต้องมีการเชื่อมโครงเหล็กให้ต่อถึงกันจริง ๆ ซึ่งจะทำให้ราคาของการเชื่อมมีราคาสูงเพราะจะต้องมีการควบคุมขณะที่ก่อสร้างอย่างจริงจัง อีกอย่างการเชื่อมสายเข้ากับโครงสร้างเหล็กจะต้องเชื่อมด้วยวิธีเอกโซเทอร์มิก ( Exo thermic welding ) จึงจะได้ผลจริง ๆ
9.2.8 หลักสายดิน ( Earth electrode) หลักสายดินเราอาจใช้แท่งโลหะหรือแผ่นโลหะที่ไม่ผุกร่อนง่าย เช่นทองแดง เหล็กกัลวาไนซ์ ฝังลึกลงไปจนถึงชั้นของดินทีมีความชื้นเพื่อให้มีการจ่ายประจุลงดินได้อย่างรวดเร็ว จำนวนหลักของสายดินจะมากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับค่าความต้านทานทางไฟฟ้าของระบบ กรณีที่ต้องการมากกว่า 1 ต้น ระยะห่างระหว่างต้นไม่ควรเกินกว่า 1.80 เมตร เพื่อป้องกันการเกิดสเตปโวลต์เตจ ( Step voltage ) ซึ่งเป็นอันตรายต่อบุคคลที่เดินอยู่ใกล้หลักสายดิน หลักสายดินนี้จะต้องตั้งให้ห่างจากระบบกราวด์จริงของตัวตึก ไม่เช่นนั้นเมื่อเกิดฟ้าผ่าจะทำให้เกิดมีแรงดันเพิ่มขึ้นแก่ระบบไฟฟ้าตามปกติได้
3 การป้องกันฟ้าผ่าโดยใช้สารกัมมันตภาพรังสี ( Radio active)
เนื่องจากวิธีการป้องกันฟ้าผ่าของกราฟฟาราเดย์นั้นมีข้อเสียคือ ไม่สวยงามเนื่องจากมีหลักล่อฟ้า สายล่อฟ้า และสายตัวนำลงดินเป็นจำนวนมาก ทั้งยังมีพื้นที่บางส่วนไม่อยู่ในรัศมีที่ป้องกันได้ จะต้องใช้หลักล่อฟ้าและหลักสายดินอย่างละ 16 หลัก แต่สามารถป้องกันพื้นที่ได้เพียง 1809 ตารางฟุตเท่านั้น สำหรับด้านข้างตึกซึ่งมีพื้นที่ 90,000 ตารางฟุตนั้นไม่อยู่ในรัศมีของการป้องกันโดยวิธีกรงฟาราเดย์ อีกทั้งในการออกแบบตึกสถาปนิกผู้ออกแบบมักจะไม่ยอมให้อุปกรณ์ส่วนอื่นมาประกอบตัวตึกซึ่งจะมีผลทำให้อาคารหมดความสวยงาม ดังนั้นเพื่อแก้ข้อเสียของวิธีนี้การป้องกันตัวอาคารที่มีความพิถี พิถันเรื่องความสวยงามและความปลอดภัยจึงเปลี่ยนมาใช้วิธีการป้องกันโดยใช้ สารกัมมันตภาพรังสี
3.1 สารกัมมันภาพรังสีจะอยู่ส่วนใดของจาน ระบบป้องกันที่ใช้สารกัมมันตภาพรังสีนั้นจะมีรูปร่าง
ชุดล่อฟ้าที่มีชื่อทางการค้าว่าพรีเวนซ์เตอร์ ( Preventor ) ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัท Bristish Lightning Preventor Limited ปลายแหลมของตัวพรีเวนเตอร์ทำจากแท่งทองแดง ตัวจานมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 23 เซ็นติเมตร สูง 12 เซ็นติเมตร หนัก 2 กิโลกรัมภายในจานเป็นฟอยล์ ( Foil ) บรรจุด้วยสารกัมมันตภาพรังสี เรเดียม 226 ( Radium 226 ) หรือ อเมริเซียม 241 ( Amerecium 24 ) ซึ่งผสมกับทองคำเชื่อมติดกับฟอยล์ ดังนั้นที่ตัวจานจะแผ่รังสีแอลฟ่า ( a - Aljpha ) เบต้า ( b - Bata ) และแกรมม่า ( g - Grammar ) ซึ่งจะสร้างสนามแม่เหล็กที่มีความเข้มสูงรอบแท่งทองแดง
3.2 ขีดความสามารถของพรีเวนซ์เตอร์ที่มีขายในท้องตลาดพรีเวนซ์เตอร์หรือระบบล่อฟ้าที่มีขายในท้องตลาดทำจากสารกัมมันตภาพรังสีอเมริเซียน 241 มีทั้งหมด สี่ขนาด คือ
P 1 มีรัศมีป้องกันได้ 35 เมตร ระยะต่ำสุดที่ติดตั้งได้ 4.6 เมตร คิดเป็นพื้นที่ 3,850 ม 2
P 2 " 100 " " 4.5 " " 7,850 ม 2
P 3 " 60 " " 6.0 " " 20,100 ม 2
P 4 " 200 " " 6.0 " " 31,400 ม 2
ซึ่ง P 4 นี้ทางบริษัทผู้ผลิตแนะนำให้ใช้กับอาคารที่มีความสูงเกิน 150 ฟุตขึ้นไป
3.3 ชุดป้องกันฟ้าผ่าโดยใช้สารกัมมันตภาพรังสีพรีเวนซ์เตอร์ ประกอบด้วยอะไรบ้างและมีเขตป้องกันอย่างไร
ชุดป้องกันฟ้าผ่านี้จะประกอบไปด้วย
ก. ตัวพรีเวนซ์เตอร์ ซึ่งตรงกับหมายเลขหนึ่งจะติดตั้งอยู่เหนือเสาอากาศโทรทัศน์หมายเลข 4
ข. สายตัวนำลงดิน ซึ่งต่อจากตัวพรีเวนซ์เตอร์เดินผ่านหลังคาแล้วต่อลงกับหลักสายดิน
สำหรับเขตป้องกันนั้นหมายเลข 5 จะแสดงเขตที่เป็นรูปวงกลมที่สามารถควบคุมบริเวณที่จะล่อให้ประจุจากก้อนเมฆผ่าลงมา ส่วนหมายเลข 6 เป็นรูปกรวยที่ตัวพรีเวนซ์เตอร์สามารถป้องกันบ้านและบริเวณข้างเคียงจากฟ้าผ่าได้ ซึ่งจะเห็นว่าอุปกรณ์ที่ป้องกันฟ้าผ่าโดยใช้สารกัมมันตภาพรังสีนี้ใช้อุปกรณ์น้อยมาก สำหรับการป้องกันอาคารจะมีอุปกรณ์ที่เป็นกล่องทดสอบ ( Test box ) เข้ามาอีก
3.4 ข้อเสียของระบบป้องกันโดยใช้สารกัมมันตภาพรังสี คือ
- มีราคาแพง
- สารกัมมันตภาพรังสีช่วงครึ่งชีวิต (Half life ) เมื่อใช้ไปนาน ๆ จะเสื่อมประสิทธิภาพอาจจะลดลงได้
- จะต้องมีการตรวจสอบระบบให้ดีอยู่เสมอเนื่องจากว่าใช้อุปกรณ์ป้องกันเป็นจำนวนน้อย หากจุดใดจุดหนึ่งเกิดบกพร่องระบบจะไม่สามารถป้องกันฟ้าผ่าได้เลย
ติดตั้งสายล่อฟ้าเชียงราย
ติดตั้งสายล่อฟ้าเชียงใหม่
ติดตั้งสายล่อฟ้าน่าน
ติดตั้งสายล่อฟ้าพะเยา
ติดตั้งสายล่อฟ้าแพร่
ติดตั้งสายล่อฟ้าแม่ฮ่องสอน
ติดตั้งสายล่อฟ้าลำปาง
ติดตั้งสายล่อฟ้าลำพูน
ติดตั้งสายล่อฟ้าอุตรดิตถ์
ติดตั้งสายล่อฟ้ากาฬสินธุ์
ติดตั้งสายล่อฟ้าขอนแก่น
ติดตั้งสายล่อฟ้าชัยภูมิ
ติดตั้งสายล่อฟ้านครพนม
ติดตั้งสายล่อฟ้านครราชสีมา
ติดตั้งสายล่อฟ้าบึงกาฬ
ติดตั้งสายล่อฟ้าบุรีรัมย์
ติดตั้งสายล่อฟ้ามหาสารคาม
ติดตั้งสายล่อฟ้ามุกดาหาร
ติดตั้งสายล่อฟ้ายโสธร
ติดตั้งสายล่อฟ้าร้อยเอ็ด
ติดตั้งสายล่อฟ้าเลย
ติดตั้งสายล่อฟ้าสกลนคร
ติดตั้งสายล่อฟ้าสุรินทร์
ติดตั้งสายล่อฟ้าศรีสะเกษ
ติดตั้งสายล่อฟ้าหนองคาย
ติดตั้งสายล่อฟ้าหนองบัวลำภู
ติดตั้งสายล่อฟ้าอุดรธานี
ติดตั้งสายล่อฟ้าอุบลราชธานี
ติดตั้งสายล่อฟ้าอำนาจเจริญ
ติดตั้งสายล่อฟ้ากำแพงเพชร
ติดตั้งสายล่อฟ้าชัยนาท
ติดตั้งสายล่อฟ้านครนายก
ติดตั้งสายล่อฟ้านครปฐม
ติดตั้งสายล่อฟ้านครสวรรค์
ติดตั้งสายล่อฟ้านนทบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าปทุมธานี
ติดตั้งสายล่อฟ้าพระนครศรีอยุธยา
ติดตั้งสายล่อฟ้าพิจิตร
ติดตั้งสายล่อฟ้าพิษณุโลก
ติดตั้งสายล่อฟ้าเพชรบูรณ์
ติดตั้งสายล่อฟ้าลพบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าสมุทรปราการ
ติดตั้งสายล่อฟ้าสมุทรสงคราม
ติดตั้งสายล่อฟ้าสมุทรสาคร
ติดตั้งสายล่อฟ้าสิงห์บุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าสุโขทัย
ติดตั้งสายล่อฟ้าสุพรรณบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าสระบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าอ่างทอง
ติดตั้งสายล่อฟ้าอุทัยธานี
ติดตั้งสายล่อฟ้าจันทบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าฉะเชิงเทรา
ติดตั้งสายล่อฟ้าชลบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าตราด
ติดตั้งสายล่อฟ้าปราจีนบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าระยอง
ติดตั้งสายล่อฟ้าสระแก้ว
ติดตั้งสายล่อฟ้ากาญจนบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าตาก
ติดตั้งสายล่อฟ้าประจวบคีรีขันธ์
ติดตั้งสายล่อฟ้าเพชรบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าราชบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้ากระบี่
ติดตั้งสายล่อฟ้าชุมพร
ติดตั้งสายล่อฟ้าตรัง
ติดตั้งสายล่อฟ้านครศรีธรรมราช
ติดตั้งสายล่อฟ้านราธิวาส
ติดตั้งสายล่อฟ้าปัตตานี
ติดตั้งสายล่อฟ้าพังงา
ติดตั้งสายล่อฟ้าพัทลุง
ติดตั้งสายล่อฟ้าภูเก็ต
ติดตั้งสายล่อฟ้าระนอง
ติดตั้งสายล่อฟ้าสตูล
ติดตั้งสายล่อฟ้าสงขลา
ติดตั้งสายล่อฟ้าสุราษฎร์ธานี
ติดตั้งสายล่อฟ้ายะลา
ติดตั้งสายล่อฟ้ากรุงเทพมหานคร
ติดตั้งสายล่อฟ้าคลองสาน
ติดตั้งสายล่อฟ้าคลองสามวา
ติดตั้งสายล่อฟ้าคลองเตย
ติดตั้งสายล่อฟ้าคันนายาว
ติดตั้งสายล่อฟ้าจอมทอง
ติดตั้งสายล่อฟ้าดอนเมือง
ติดตั้งสายล่อฟ้าดินแดง
ติดตั้งสายล่อฟ้าดุสิต
ติดตั้งสายล่อฟ้าตลิ่งชัน
ติดตั้งสายล่อฟ้าทวีวัฒนา
ติดตั้งสายล่อฟ้าทุ่งครุ
ติดตั้งสายล่อฟ้าธนบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางกอกน้อย
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางกอกใหญ่
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางกะปิ
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางคอแหลม
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางซื่อ
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางนา
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางพลัด
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางรัก
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางเขน
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางแค
ติดตั้งสายล่อฟ้าบึงกุ่ม
ติดตั้งสายล่อฟ้าปทุมวัน
ติดตั้งสายล่อฟ้าประเวศ
ติดตั้งสายล่อฟ้าป้อมปราบศัตรูพ่าย
ติดตั้งสายล่อฟ้าพญาไท
ติดตั้งสายล่อฟ้าพระนคร
ติดตั้งสายล่อฟ้าพระโขนง
ติดตั้งสายล่อฟ้าภาษีเจริญ
ติดตั้งสายล่อฟ้ามีนบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้ายานนาวา
ติดตั้งสายล่อฟ้าราชเทวี
ติดตั้งสายล่อฟ้าราษฎร์บูรณะ
ติดตั้งสายล่อฟ้าลาดกระบัง
ติดตั้งสายล่อฟ้าลาดพร้าว
ติดตั้งสายล่อฟ้าวังทองหลาง
ติดตั้งสายล่อฟ้าวัฒนา
ติดตั้งสายล่อฟ้าสวนหลวง
ติดตั้งสายล่อฟ้าสะพานสูง
ติดตั้งสายล่อฟ้าสัมพันธวงศ์
ติดตั้งสายล่อฟ้าสาทร
ติดตั้งสายล่อฟ้าสายไหม
ติดตั้งสายล่อฟ้าหนองจอก
ติดตั้งสายล่อฟ้าหนองแขม
ติดตั้งสายล่อฟ้าหลักสี่
ติดตั้งสายล่อฟ้าห้วยขวาง
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองนครปฐม
ติดตั้งสายล่อฟ้ากำแพงแสน
ติดตั้งสายล่อฟ้าดอนตูม
ติดตั้งสายล่อฟ้านครชัยศรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางเลน
ติดตั้งสายล่อฟ้าพุทธมณฑล
ติดตั้งสายล่อฟ้าสามพราน
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองนนทบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางกรวย
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางบัวทอง
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางใหญ่
ติดตั้งสายล่อฟ้าปากเกร็ด
ติดตั้งสายล่อฟ้าไทรน้อย
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองปทุมธานี
ติดตั้งสายล่อฟ้าคลองหลวง
ติดตั้งสายล่อฟ้าธัญบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าลาดหลุมแก้ว
ติดตั้งสายล่อฟ้าลำลูกกา
ติดตั้งสายล่อฟ้าสามโคก
ติดตั้งสายล่อฟ้าหนองเสือ
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองสมุทรปราการ
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางพลี
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางเสาธง
ติดตั้งสายล่อฟ้าพระประแดง
ติดตั้งสายล่อฟ้าพระสมุทรเจดีย์
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองระยอง
ติดตั้งสายล่อฟ้านิคมพัฒนา
ติดตั้งสายล่อฟ้าเขาชะเมา
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ้านฉาง
ติดตั้งสายล่อฟ้าปลวกแดง
ติดตั้งสายล่อฟ้าวังจันทร์
ติดตั้งสายล่อฟ้าแกลง
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองชลบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าเกาะจันทร์
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางละมุง
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ่อทอง
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ้านบึง
ติดตั้งสายล่อฟ้าพนัสนิคม
ติดตั้งสายล่อฟ้าพานทอง
ติดตั้งสายล่อฟ้าศรีราชา
ติดตั้งสายล่อฟ้าสัตหีบ
ติดตั้งสายล่อฟ้าหนองใหญ่
ติดตั้งสายล่อฟ้าเกาะสีชัง
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองสมุทรสาคร
ติดตั้งสายล่อฟ้ากระทุ่มแบน
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ้านแพ้ว
ติดตั้งสายล่อฟ้ามหาชัย
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองสมุทร
ติดตั้งสายล่อฟ้าอัมพวา
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางคนที
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองราชบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ้านคา
ติดตั้งสายล่อฟ้าจอมบึง
ติดตั้งสายล่อฟ้าดำเนินสะดวก
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางแพ
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ้านโป่ง
ติดตั้งสายล่อฟ้าปากท่อ
ติดตั้งสายล่อฟ้าวัดเพลง
ติดตั้งสายล่อฟ้าสวนผึ้ง
ติดตั้งสายล่อฟ้าโพธาราม
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองฉะเชิงเทรา
ติดตั้งสายล่อฟ้าคลองเขื่อน
ติดตั้งสายล่อฟ้าท่าตะเกียบ
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางคล้า
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางน้ำเปรี้ยว
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางปะกง
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ้านโพธิ์
ติดตั้งสายล่อฟ้าพนมสารคาม
ติดตั้งสายล่อฟ้าราชสาส์น
ติดตั้งสายล่อฟ้าสนามชัยเขต
ติดตั้งสายล่อฟ้าแปลงยาว
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองนครนายก
ติดตั้งสายล่อฟ้าปากพลี
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ้านนา
ติดตั้งสายล่อฟ้าองครักษ์