ที่มาของดอกไม้ตั้งแต่สมัยอะไรบ้าง
หมวดหมู่สินค้า: A187 ดอกไม้เมรุ
26 กุมภาพันธ์ 2565
ผู้ชม 239 ผู้ชม
เราขอร่วมแสดงความเสียใจ หากท่านได้สูญเสียบุคคลอันเป็นที่เคารพรัก
" ด้วยความจริงใจ " ผลงานของเรา
วางแผนการจัดงานศพอย่างชาญฉลาด และมีเอกลักษณ์
สร้างความทรงจำ และเกียรติยศอันทรงคุณค่า
ดอกไม้หน้าศพ
แต่งดอกไม้งานศพ
จัดดอกไม้หน้าโลง
จัดดอกไม้หน้าศพ
จัดดอกไม้หน้าเมรุ
บริการจัดส่งพวงหรีด
ร้านพวงหรีดออนไลน์
ส่งพวงหรีดฟรีถึงศาลาวัด
จัดเตรียมสถานที่ จองศาลาวัด
อาหารรับรองแขกผู้มาร่วมงาน
ดอกไม้ประดับหีบ - ประดับเมรุ ผลงานของเรา
พวงมาลัย และ ชุดไหว้ การตกแต่งดอกไม้
ของชำร่วยงานศพ - การ์ดงานศพ - สังฆทาน เครื่องไทยธรรม ผ้าไตรจีวร
ขั้นตอนบำเพ็ญกุศล การรดน้ำศพ การสวดพระอภิธรรม และ งานฌาปนกิจ
ติดต่อสอบถาม
สมัยสุโขทัย
จากหลักฐานที่ค้นพบเกี่ยวกับการพิธีพระบรมศพที่เก่าแก่ที่สุดอยู่ในคัมภีร์ไตรภูมิกถา หรือไตรภูมิพระร่วง พระราชนิพนธ์ในพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พญาลิไทย) แห่งกรุงสุโขทัย ที่ทรงประพันธ์ขึ้นราวปี พ.ศ. 1888 ได้พรรณนาเกี่ยวกับการจัดพระศพพระยามหาจักรพรรดิราช[7
สมัยอยุธยา
ในสมัยอยุธยา พิธีพระบรมศพเป็นพิธีกรรมที่ยิ่งใหญ่ของบ้านเมือง มีแบบแผนถือปฏิบัติอย่างมีระเบียบ ความสำคัญของการจัดพระราชพิธีถวายพระเพลิงสร้างพระเมรุมาศนั้น เพื่อเป็นการถวายพระเกียรติยศที่พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ถวายแด่พระมหากษัตริย์ที่สวรรคตล่วงแล้ว โดยพิจารณาพระเดชานุภาพในการสร้างพระเมรุมาศ
สันนิษฐานว่าการสร้างพระเมรุมาศสมัยอยุธยาตอนต้น ๆ น่าจะนำคติการสร้างมาจากปราสาทขอมเป็นแบบแผน มีการปรับปรุงแบบแผนจนมีรูปแบบศิลปะไทยในยุคหลังๆ แสดงงานศิลปกรรมแบบอยุธยาอย่างสมบูรณ์[6]
หลักฐานไม่ปรากฏชัดเจน ในสมัยอยุธยามีการบันทึกการสร้างพระเมรุมาศของสมเด็จพระนเรศวรในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระเอกาทศรถแห่งกรุงศรีอยุธยา ว่า “…แต่พระบรมศพสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง และสร้างเมรุมาศสูงเส้นสิบเจ็ดวา ประดับด้วยเมรุทิศ เมรุราย ราชวัติ ฉัตรนาคฉัตรเบญจรงค์เสร็จ ก็อัญเชิญพระบรมศพเสด็จเหนือกฤษฎาธาร” ซึ่งมีขนาดใหญ่โตมโหฬารมาก และยังปรากฏหลักฐานพระเมรุมาศสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตามจดหมายเหตุและพระราชพงศาวดาร ว่ามีความสูงถึงสองเส้น และมีปริมณฑลกว้างใหญ่ไพศาลมาก กล่าวไว้ว่า “พระเมรุมาศ...โดยขนาดใหญ่ ชื่อ 7 วา 2 ศอก โดยลง 2 เส้น 11 วา ศอกคืบ มียอด 5 ภายในพระเมรุทองนั้น ประกอบด้วยเครื่องสรรพโสภณวิจิตรต่างๆ สรรพด้วยพระเมรุทิศพระเมรุราย แลสามสร้าง” ซึ่งมีความสูงกว่าพระเมรุมาศสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ถึง 5 วาเศษ[8] และว่ากันว่าพระเมรุมาศในสมัยอยุธยามีความยิ่งใหญ่มาก ยอดพระเมรุสูงทัดเทียมตึกเจ็ดชั้นสมัยปัจจุบัน[9]
หลักฐานเกี่ยวกับพระเมรุในยุคแรก พบได้จากวัดไชยวัฒนาราม ที่เป็นต้นแบบพระเมรุมาศ สมัยพระเจ้าปราสาททอง พระปรางค์ ที่เชื่อว่าพระเจ้าปราสาททองโปรดให้ลอกแบบมาจากศูนย์กลางของปราสาทนครวัด เป็นต้นแบบที่มาของพระเมรุมาศ ที่มีเจดีย์ทำเป็นเมรุราย และเมรุทิศ รูปแบบการสร้างวัดรวมทั้งการสร้างพระระเบียงรอบนี้ เป็นแนวความคิดจากคติการสร้างเขาพระสุเมรุเป็นแกนกลางของจักรวาล ที่ได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะเขมร สร้างเลียนแบบจำลองเขาพระสุเมรุ ของนครวัด หรือ "วิษณุโลก" ที่เชื่อว่าเป็นศูนย์กลางของจักรวาล
อีกร่องรอยของงานพระเมรุ คือ ลานหน้าจักรวรรดิ (ทุ่งพระเมรุ) พระที่นั่งจักรวรรดิไพชยนต์ และพระราชวังโบราณของเมืองกรุงเก่า ที่สมเด็จพระเจ้าปราสาททองโปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างพระเมรุมาศที่ตำแหน่งทางใต้พระวิหารพระมงคลบพิตร และมีพระราชพิธีบริเวณสนามหน้าจักรวรรดิโดยอัญเชิญพระศพมาทางชลมารค มีขบวนแห่ไปตั้งพระศพไว้ที่พระที่นั่งจักรวรรดิไพชยนต์ และประดิษฐานพระบรมศพ ที่พระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ เช่นเดียวกับพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และสันนิษฐานว่าลานหน้าพระที่นั่งจักรวรรดิไพชยนต์ หรือสนามหน้าจักรวรรดิ เป็นถนนที่มีขบวนแห่พระบรมศพจะผ่านพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ผ่านสนามชัย และพระที่นั่งจักรวรรดิไพชยนต์ ซึ่งเรียกว่า "ทุ่งพระเมรุ"[10]
ในปลายกรุงศรีอยุธยา ยังมีจดหมายเหตุอีก 2 เรื่อง คือ งานพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระซึ่งพรรณนาเฉพาะตอนถวายพระเพลิงแห่พระบรมอัฐิและพระอังคาร และเรื่องงานพระเมรุมาศสมเด็จเจ้าฟ้าสุดาวดี กรมหลวงโยธาเทพ ซึ่งในการจัดงานพระเมรุมาศส่วนใหญ่ของกรุงศรีอยุธยาจะมีลักษณะเป็นการปลูกสร้างพระเมรุขนาดใหญ่ มีพระเมรุทองซึ่งเป็นลักษณะแบบบุษบกอยู่ภายใน พระเมรุนิยมทำเป็น 5 ยอด ในเวลาอัญเชิญพระโกศพระบรมศพ จะอัญเชิญไปบนพระมหาพิชัยราชรถ ขบวนแห่อย่างยิ่งใหญ่ประกอบดนตรี อาจจะมีนางรำ นางร้องไห้ ระหว่างนั้นจะมีการทิ้งทานต้นกัลปพฤกษ์ เมื่ออัญเชิญขึ้นพระเมรุแล้ว มีการสมโภชอีก 7 วัน ทั้งมหรสพ ดอกไม้เพลิง และนิมนต์พระสงฆ์สดับปกรณ์หนึ่งหมื่นรูป หลังครบ 7 วัน 7 คืน จึงมีการถวายพระเพลิง เก็บพระอัฐิธาตุลงพระบรมโกศ อัญเชิญไปไว้ที่วัดพระศรีสรรเพชญ์[11]
สมัยกรุงธนบุรี
ในสมัยกรุงธนบุรี ไม่ปรากฏหลักฐานว่าได้จัดงานพระเมรุ งานพระศพชั้นสูงมีเพียงแต่งานพระศพกรมพระเทพามาตย์ พระราชชนนี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ซึ่งระบุไว้ว่ามีเพียงการจัดทำพระเมรุพระราชทานเพลิงและแห่พระอังคาร ซึ่งอาจเนื่องมาจากอยู่ในภาวะยามศึกสงคราม[8]
สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น รัชกาลที่ 1 - 4
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในยุคแรก บ้านเมืองยังคงอยู่ในภาวะศึกสงคราม จึงมิได้สร้างพระเมรุมาศสูงใหญ่เทียบเท่าพระเมรุมาศสมัยกรุงศรีอยุธยา [8] ระหว่างรัชกาลที่ 1 - 4 พระเมรุมาศเริ่มเป็นทรงปราสาท พระเมรุมาศองค์แรกที่สร้างในสมัยรัตนโกสินทร์คือ พระเมรุมาศถวายพระเพลิงพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โดยโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเพื่อถวายพระเพลิงพระบรมอัฐิถวายพระราชบิดาหลังจากบ้านเมืองสงบศึก โดยทรงอนุสรณ์คำนึงว่า พระราชบิดาสิ้นพระชนม์ในระหว่างภาวะสงครามโดยมิได้ประทับร่วมกัน และเพื่อสนองพระคุณ จึงมีพระราชดำริจะบำเพ็ญพระราชกุศลถวาย[6] และยังมีการจัดงานพระศพเจ้านายสำคัญหลายพระองค์คือ งานพระศพ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท[12] ส่วนการพระราชพิธีในงาน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกยึดหลักอย่างประเพณีอย่างครั้งกรุงศรีอยุธยา เพื่อฟื้นฟูประเพณีให้กลับรุ่งเรืองสร้างขวัญกำลังใจให้แก่ประชาชนและเป็นเกียรติยศแก่บ้านเมือง และยังมีการประดิษฐ์สิ่งใหม่ขึ้นคือ การประดิษฐ์เกรินบันไดนาค สำหรับเชิญพระโกศ คิดค้นโดยเจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี[13]
ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น จะยึดหลักการสร้างแบบพระเมรุมาศตามตำราโบราณราชประเพณีครั้งกรุงเก่าทุกประการ คือ ทำเป็นพระเมรุอย่างใหญ่ มีตัวพระเมรุ 2 ชั้นต่างไปอยู่ภายในพระเมรุชั้นนอกที่ทำเป็นพระเมรุยอดปรางค์หรือยอดรูปดอกข้าวโพด ส่วนใหญ่เป็นไปตามแบบแผนมีต่างกันไปในรายละเอียดเรื่องการออกแบบตามฝีมือช่าง[14] สำหรับพระเมรุมาศพระบรมศพรัชกาลที่ 4 ถือได้ว่า เป็นพระเมรุมาศสุดท้ายที่ทำตามแบบโบราณราชประเพณี แต่พระเมรุใหญ่ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมียอดเรือนเพียง 5 ยอด ตามแบบอยุธยาได้ยุติลง และกลายเป็นว่ารูปแบบ พระเมรุโท ที่เป็นปรางค์ 5 ยอดตามแบบแผนอยุธยา กลับทำหน้าที่เป็นสัญลักษณ์ความเป็นพระเมรุเอก สำหรับกษัตริย์ในช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้น[15]
สมัยรัชกาลที่ 5 - 8
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ลักษณะของพระเมรุมาศเป็นเพียงพระเมรุชั้นเดียว ได้ถอดเอาพระเมรใหญ่ ซึ่งเป็นพระเมรุทรงปรางค์ที่คลุมอยู่ภายนอกออกไป คงไว้เพียงพระเมรุทอง ซึ่งเป็นที่มาของคำว่า พระเมรุมาศ[16] และในสมัยนั้นประเทศไทยได้ติดต่อกับต่างประเทศ รับวัฒนธรรมจากภายนอก ทั้งชาวไทยปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมบางอย่างให้สอดคล้องตามสมัย การสร้างพระเมรุมาศทรงปราสาท ซึ่งเป็นงานใหญ่โต ทรงเห็นว่าการสร้างแบบเดิมเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณแผ่นดินและเป็นที่เดือดร้อนแก่ประชาชนทั่วไป จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงให้มีขนาดเล็กลงและประหยัดขึ้น
สมัยรัชกาลที 9 - ปัจจุบัน
การสร้างพระเมรุมาศตามแบบโบราณราชประเพณีได้รับการฟื้นฟูขึ้นมาใหม่เมื่อพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลสวรรคต แต่การจัดสร้างพระเมรุมาศเพื่อถวายพระเพลิงพระบรมศพของพระองค์กินเวลายาวนานถึง 3 ปี จากอุปสรรคในการวางแผนกำหนดระยะเวลาการก่อสร้าง ด้วยเหตุว่ากำหนดการเสด็จนิวัติพระนครของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเพื่อถวายพระเพลิงพระบรมศพต้องเลื่อนไปจากการที่ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ ณ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ในปี พ.ศ. 2491 การก่อสร้างพระเมรุมาศได้สำเร็จลงในปี พ.ศ. 2493 และได้มีพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพขึ้นในวันที่ 29 มีนาคม ของปีนั้น หลังจากการถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้พระเมรุมาศองค์นี้เป็นพระเมรุตามเสด็จ สำหรับงานพระราชทานเพลิงพระศพพระบรมวงศานุวงศ์อีก 4 พระองค์คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์ และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย[22] โดยเปลี่ยนนพปฎลมหาเศวตฉัตรที่ยอดพระเมรุมาศเป็นพระเศวตฉัตร 5 ชั้น ตามพระอิสริยยศของพระบรมวงศานุวงศ์ผู้ทรงได้รับพระราชทานเพลิงพระศพ ต่อมาเมื่อสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2498 ก็ได้มีการสร้างพระเมรุมาศ ณ ท้องสนามหลวงอีกครั้ง เพื่อใช้ในการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2499 พระเมรุมาศองค์นี้ได้สร้างขึ้นใหม่โดยใช้แบบพระเมรุมาศทรงบุษบกจากงานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลเป็นพื้นฐานในการออกแบบ หลังจากนั้นการสร้างพระเมรุมาศและพระเมรุที่ท้องสนามหลวงได้ว่างเว้นไปเป็นระยะเวลานาน เนื่องจากพระบรมวงศานุวงศ์ที่สิ้นพระชนม์ในระยะต่อมาไม่ทรงมีพระอิสริยยศสูงถึงชั้นที่จะสร้างพระเมรุกลางเมือง และได้มีการพระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส ทั้งสิ้น
ดอกไม้หน้าเมรุเชียงราย
ดอกไม้หน้าเมรุเชียงใหม่
ดอกไม้หน้าเมรุน่าน
ดอกไม้หน้าเมรุพะเยา
ดอกไม้หน้าเมรุแพร่
ดอกไม้หน้าเมรุแม่ฮ่องสอน
ดอกไม้หน้าเมรุลำปาง
ดอกไม้หน้าเมรุลำพูน
ดอกไม้หน้าเมรุอุตรดิตถ์
ดอกไม้หน้าเมรุกาฬสินธุ์
ดอกไม้หน้าเมรุขอนแก่น
ดอกไม้หน้าเมรุชัยภูมิ
ดอกไม้หน้าเมรุนครพนม
ดอกไม้หน้าเมรุนครราชสีมา
ดอกไม้หน้าเมรุบึงกาฬ
ดอกไม้หน้าเมรุบุรีรัมย์
ดอกไม้หน้าเมรุมหาสารคาม
ดอกไม้หน้าเมรุมุกดาหาร
ดอกไม้หน้าเมรุยโสธร
ดอกไม้หน้าเมรุร้อยเอ็ด
ดอกไม้หน้าเมรุเลย
ดอกไม้หน้าเมรุสกลนคร
ดอกไม้หน้าเมรุสุรินทร์
ดอกไม้หน้าเมรุศรีสะเกษ
ดอกไม้หน้าเมรุหนองคาย
ดอกไม้หน้าเมรุหนองบัวลำภู
ดอกไม้หน้าเมรุอุดรธานี
ดอกไม้หน้าเมรุอุบลราชธานี
ดอกไม้หน้าเมรุอำนาจเจริญ
ดอกไม้หน้าเมรุกำแพงเพชร
ดอกไม้หน้าเมรุชัยนาท
ดอกไม้หน้าเมรุนครนายก
ดอกไม้หน้าเมรุนครปฐม
ดอกไม้หน้าเมรุนครสวรรค์
ดอกไม้หน้าเมรุนนทบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุปทุมธานี
ดอกไม้หน้าเมรุพระนครศรีอยุธยา
ดอกไม้หน้าเมรุพิจิตร
ดอกไม้หน้าเมรุพิษณุโลก
ดอกไม้หน้าเมรุเพชรบูรณ์
ดอกไม้หน้าเมรุลพบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุสมุทรปราการ
ดอกไม้หน้าเมรุสมุทรสงคราม
ดอกไม้หน้าเมรุสมุทรสาคร
ดอกไม้หน้าเมรุสิงห์บุรี
ดอกไม้หน้าเมรุสุโขทัย
ดอกไม้หน้าเมรุสุพรรณบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุสระบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุอ่างทอง
ดอกไม้หน้าเมรุอุทัยธานี
ดอกไม้หน้าเมรุจันทบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุฉะเชิงเทรา
ดอกไม้หน้าเมรุชลบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุตราด
ดอกไม้หน้าเมรุปราจีนบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุระยอง
ดอกไม้หน้าเมรุสระแก้ว
ดอกไม้หน้าเมรุกาญจนบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุตาก
ดอกไม้หน้าเมรุประจวบคีรีขันธ์
ดอกไม้หน้าเมรุเพชรบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุราชบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุกระบี่
ดอกไม้หน้าเมรุชุมพร
ดอกไม้หน้าเมรุตรัง
ดอกไม้หน้าเมรุนครศรีธรรมราช
ดอกไม้หน้าเมรุนราธิวาส
ดอกไม้หน้าเมรุปัตตานี
ดอกไม้หน้าเมรุพังงา
ดอกไม้หน้าเมรุพัทลุง
ดอกไม้หน้าเมรุภูเก็ต
ดอกไม้หน้าเมรุระนอง
ดอกไม้หน้าเมรุสตูล
ดอกไม้หน้าเมรุสงขลา
ดอกไม้หน้าเมรุสุราษฎร์ธานี
ดอกไม้หน้าเมรุยะลา
ดอกไม้หน้าเมรุกรุงเทพมหานคร
ดอกไม้หน้าเมรุคลองสาน
ดอกไม้หน้าเมรุคลองสามวา
ดอกไม้หน้าเมรุคลองเตย
ดอกไม้หน้าเมรุคันนายาว
ดอกไม้หน้าเมรุจอมทอง
ดอกไม้หน้าเมรุดอนเมือง
ดอกไม้หน้าเมรุดินแดง
ดอกไม้หน้าเมรุดุสิต
ดอกไม้หน้าเมรุตลิ่งชัน
ดอกไม้หน้าเมรุทวีวัฒนา
ดอกไม้หน้าเมรุทุ่งครุ
ดอกไม้หน้าเมรุธนบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุบางกอกน้อย
ดอกไม้หน้าเมรุบางกอกใหญ่
ดอกไม้หน้าเมรุบางกะปิ
ดอกไม้หน้าเมรุบางคอแหลม
ดอกไม้หน้าเมรุบางซื่อ
ดอกไม้หน้าเมรุบางนา
ดอกไม้หน้าเมรุบางพลัด
ดอกไม้หน้าเมรุบางรัก
ดอกไม้หน้าเมรุบางเขน
ดอกไม้หน้าเมรุบางแค
ดอกไม้หน้าเมรุบึงกุ่ม
ดอกไม้หน้าเมรุปทุมวัน
ดอกไม้หน้าเมรุประเวศ
ดอกไม้หน้าเมรุป้อมปราบศัตรูพ่าย
ดอกไม้หน้าเมรุพญาไท
ดอกไม้หน้าเมรุพระนคร
ดอกไม้หน้าเมรุพระโขนง
ดอกไม้หน้าเมรุภาษีเจริญ
ดอกไม้หน้าเมรุมีนบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุยานนาวา
ดอกไม้หน้าเมรุราชเทวี
ดอกไม้หน้าเมรุราษฎร์บูรณะ
ดอกไม้หน้าเมรุลาดกระบัง
ดอกไม้หน้าเมรุลาดพร้าว
ดอกไม้หน้าเมรุวังทองหลาง
ดอกไม้หน้าเมรุวัฒนา
ดอกไม้หน้าเมรุสวนหลวง
ดอกไม้หน้าเมรุสะพานสูง
ดอกไม้หน้าเมรุสัมพันธวงศ์
ดอกไม้หน้าเมรุสาทร
ดอกไม้หน้าเมรุสายไหม
ดอกไม้หน้าเมรุหนองจอก
ดอกไม้หน้าเมรุหนองแขม
ดอกไม้หน้าเมรุหลักสี่
ดอกไม้หน้าเมรุห้วยขวาง
ดอกไม้หน้าเมรุเมืองนครปฐม
ดอกไม้หน้าเมรุกำแพงแสน
ดอกไม้หน้าเมรุดอนตูม
ดอกไม้หน้าเมรุนครชัยศรี
ดอกไม้หน้าเมรุบางเลน
ดอกไม้หน้าเมรุพุทธมณฑล
ดอกไม้หน้าเมรุสามพราน
ดอกไม้หน้าเมรุเมืองนนทบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุบางกรวย
ดอกไม้หน้าเมรุบางบัวทอง
ดอกไม้หน้าเมรุบางใหญ่
ดอกไม้หน้าเมรุปากเกร็ด
ดอกไม้หน้าเมรุไทรน้อย
ดอกไม้หน้าเมรุเมืองปทุมธานี
ดอกไม้หน้าเมรุคลองหลวง
ดอกไม้หน้าเมรุธัญบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุลาดหลุมแก้ว
ดอกไม้หน้าเมรุลำลูกกา
ดอกไม้หน้าเมรุสามโคก
ดอกไม้หน้าเมรุหนองเสือ
ดอกไม้หน้าเมรุเมืองสมุทรปราการ
ดอกไม้หน้าเมรุบางพลี
ดอกไม้หน้าเมรุบางเสาธง
ดอกไม้หน้าเมรุพระประแดง
ดอกไม้หน้าเมรุพระสมุทรเจดีย์
ดอกไม้หน้าเมรุเมืองระยอง
ดอกไม้หน้าเมรุนิคมพัฒนา
ดอกไม้หน้าเมรุเขาชะเมา
ดอกไม้หน้าเมรุบ้านฉาง
ดอกไม้หน้าเมรุปลวกแดง
ดอกไม้หน้าเมรุวังจันทร์
ดอกไม้หน้าเมรุแกลง
ดอกไม้หน้าเมรุเมืองชลบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุเกาะจันทร์
ดอกไม้หน้าเมรุบางละมุง
ดอกไม้หน้าเมรุบ่อทอง
ดอกไม้หน้าเมรุบ้านบึง
ดอกไม้หน้าเมรุพนัสนิคม
ดอกไม้หน้าเมรุพานทอง
ดอกไม้หน้าเมรุศรีราชา
ดอกไม้หน้าเมรุสัตหีบ
ดอกไม้หน้าเมรุหนองใหญ่
ดอกไม้หน้าเมรุเกาะสีชัง
ดอกไม้หน้าเมรุเมืองสมุทรสาคร
ดอกไม้หน้าเมรุกระทุ่มแบน
ดอกไม้หน้าเมรุบ้านแพ้ว
ดอกไม้หน้าเมรุมหาชัย
ดอกไม้หน้าเมรุเมืองสมุทร
ดอกไม้หน้าเมรุอัมพวา
ดอกไม้หน้าเมรุบางคนที
ดอกไม้หน้าเมรุเมืองราชบุรี
ดอกไม้หน้าเมรุบ้านคา
ดอกไม้หน้าเมรุจอมบึง
ดอกไม้หน้าเมรุดำเนินสะดวก
ดอกไม้หน้าเมรุบางแพ
ดอกไม้หน้าเมรุบ้านโป่ง
ดอกไม้หน้าเมรุปากท่อ
ดอกไม้หน้าเมรุวัดเพลง
ดอกไม้หน้าเมรุสวนผึ้ง
ดอกไม้หน้าเมรุโพธาราม
ดอกไม้หน้าเมรุเมืองฉะเชิงเทรา
ดอกไม้หน้าเมรุคลองเขื่อน
ดอกไม้หน้าเมรุท่าตะเกียบ
ดอกไม้หน้าเมรุบางคล้า
ดอกไม้หน้าเมรุบางน้ำเปรี้ยว
ดอกไม้หน้าเมรุบางปะกง
ดอกไม้หน้าเมรุบ้านโพธิ์
ดอกไม้หน้าเมรุพนมสารคาม
ดอกไม้หน้าเมรุราชสาส์น
ดอกไม้หน้าเมรุสนามชัยเขต
ดอกไม้หน้าเมรุแปลงยาว
ดอกไม้หน้าเมรุเมืองนครนายก
ดอกไม้หน้าเมรุปากพลี
ดอกไม้หน้าเมรุบ้านนา
ดอกไม้หน้าเมรุองครักษ์