บายศรีสู่ขวัญมีพิธีอะไรบ้างและวิธีทำยังไง
หมวดหมู่สินค้า: A174 บายศรี
26 กุมภาพันธ์ 2565
ผู้ชม 200 ผู้ชม
รับทำบายศรี
ช่างบายศรีปากชาม
บายศรีสู่ขวัญ ผลงานของเรา
บายศรีเทพ
อุปกรณ์พิธีสงฆ์
พิธีบวงสรวง
รับจัดพิธีสงฆ์
จัดพิธีพราหมณ์
จัดเลี้ยงพระ
ปกติการทำบายศรี จะต้องทำจากใบตองตานี อาศัยความประณีต อดทนยิ่งยวดผสมกับศาสตร์ และศิลป์ในตัว
ผู้ทำบายศรีต้องไม่กล่าวคำหยาบ (ถ้าเป็นบายศรีที่ใช้ในพิธีกรรมทางพราหมณ์ ผู้ทำบายศรี ต้องถือศีล 8 จึงจะทำให้บายศรีนั้นๆ ศักดิ์สิทธิ์ยิ่ง) มีความหมายทางธรรมะว่า การทำความดีนั้นทำได้ยาก ต้องอดทน รักดี ใฝ่ดี ต้องมีสติ มีสมาธิ เมื่อเราเตรียมตอง ฉีดตอง เช็ดตอง ม้วนนิ้วบายศรี ประกอบตัวบายศรี และแม้แต่การแต่งบายศรีด้วยดอกไม้มงคลนาม
ต้องทำอย่างใจเย็น เบามือ ตองจะได้ไม่แตกจนเสียงาน นั่นคือการฝึกสมาธิ ต้องมีสติ และ สามัคคี ตลอดเวลาจึงจะสำเร็จ จะเห็นได้ว่า บายศรี แท้จริงคือ อุบายสั่งสอนลูกหลาน ปลูกฝัง ธรรมะ ทั้งความอ่อนน้อมความจงรักภักดี ความรับผิดชอบ ความสามัคคี ฯลฯ
ซึ่งเราควรชื่นชมในภูมิปัญญาบรรพชนไทย ของเรา
.... จุดประสงค์หลักของการทำขวัญ ก็เพื่ออำนวยชัยให้พร ให้ ประสบแต่ความสุข ความเจริญรุ่งเรือง มีความสุข และ กำลังใจที่ดี
เพื่อต่อสู้กับชีวิตต่อไป หากใครจะถามว่า เราใช้บายศรีเมื่อไร? งานใดบ้าง? ก็คงต้องบอกว่า ใช้ในงานพิธีมงคลของคนไทยโดยทั่วไปนั้น นอกจากทำขวัญเด็กแรกเกิด แล้วยังปัดเป่าเสนียดจัญไรต่าง ๆ ไม่ให้แผ้วพาน นอกนั้นยังมีอีกหลายโอกาสที่ต้องใช้บายศรี ดังนี้
- พิธีทำขวัญเดือน , พิธีทำขวัญตัดจุกหรือโกนจุก ,พิธีทำขวัญบวชเณร และ บวชนาค , แต่งงาน (เราเรียกพิธีนี้ว่า ทำขวัญบ่าวสาว รดน้ำสังข์ นั่น เอง) , การสู่ขวัญ รับขวัญ ผู้ที่มารับตำแหน่งใหม่ การเลื่อนยศ การจบการศึกษา การกลับมาจากสงคราม , เจ็บป่วยด้วยอุบัติเหตุ ต้องทำพิธีเชิญขวัญจากที่เกิดเหตุใส่ภาชนะกลับมาบรรจุลงในชามบายศรี ก่อนเริ่มพิธีด้วยเมื่อหายป่วยก็ทำขวัญให้อีกครั้ง เพื่อให้ญาติพี่น้องมาแสดง ความยินดีกับผู้หายป่วย , ขึ้นบ้านใหม่เพื่อให้อยู่เย็นเป็นสุข โดยมีบายศรีสังเวยผีบ้าน ผีเรือน กับพระภูมิเจ้าที่ , เมื่อข้าวเริ่มออกรวง มีพิธีบายศรีสังเวยทำนา บูชาแม่โพสพให้บำรุงรักษาต้นข้าว บูชาพระพิรุณ
ให้บันดาลฝนตกพอเพียงแก่การทำนา มีน้ำท่าบริบูรณ์ตลอดฤดูกาล , ทำขวัญข้าว เราจะทำเมื่อเก็บเกี่ยวเต็มยุ้งฉางแล้ว สำหรับเชิญขวัญแม่ โพสพให้มาอยู่ในยุ้งฉาง ยามขายก็ให้ได้ราคา ประกอบด้วยบายศรีต้น ๕ ชั้น พร้อมเครื่องสังเวยถือว่า
เป็นงานใหญ่เพราะอัญเชิญเทพยาดาทุกชั้นฟ้ามาร่วมพิธี , -- ในการตั้งศาลภูมิ หรือสังเวยประจำปีต้องตั้งบายศรีประกอบด้วย
ทุกครั้ง พิธีวางศิลาฤกษ์ หรือยกเสาเอกของบ้านเรือน และสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ นั้น ต้องทำพิธีเซ่น เจ้ากรุงพาลี พระภูมิเจ้าที่ แม่พระธรณี เทวดาอารักษ์ทั้งหลายก่อนยกเสาลงหลุม ทำบัตรพลีบูชา ตั้งบายศรีสังเวย และ ขอขมา ตลอดจนเจ้าที่เจ้าทาง นางไม้
ซึ่งเชื่อว่าเกี่ยวข้องกับเสาอันเคยเป็นต้นไม้ใหญ่อยู่ในป่ามาก่อน ขอให้งานดำเนินไปด้วยดี ไม่มีอุปสรรค์ใด ๆ
พิธีไหว้ครูดนตรี โขน ละคร ฟ้อนรำประจำปี หรือแม้แต่ก่อนแสดง ครั้งสำคัญ ๆ ต้องมีการตั้งเครื่องสังเวยบูชาด้วยบายศรีทุกครั้ง
เพื่ออัญเชิญปฐมบรมครู คือ สมเด็จพระบรมศาสดา บิดา มารดา ครู อุปัชฌาย์อาจารย์ ที่ประสิทธิ์ประสาทสรรพวิชาให้หาเลี้ยงตน
ตลอดจนท่านท้าวมหาพรหม มหาเทพทั้งหลาย อีกทั้งเทพแห่งศิลปะ ศาสตร์ อาทิ พระศิวะ พระนารายณ์ พระพิฆเนศวร พ่อแก่ พระ
ประคนธรรพ์ พระปัญจสิงขร พระพิราพ และพระวิษณุกรรม มาอวยชัยให้พร มักใช้บายศรีปากชาม ๗-๙ ชั้น จำนวน ๓ คู่ พร้อมเครื่องสังเวย ๓ สำรับ
-- บางครั้งเมื่อได้รับโชคลาภสิ่งของอันเป็นมิ่งมงคล หรือก่อนลงมือทำงานอันสำคัญ เราอาจหาฤกษ์งามยามดี
ตั้งพิธีบวงสรวงสังเวยเทพยดา เพื่อขอความเมตตาในบางสิ่งบ่างอย่าง หรือแสดงความขอบคุณในกรณีที่ได้ลาภ ได้ยศประกอบด้วย
- บายศรีปากชาม ๙ ชั้น ๑ คู่
- บายศรีใหญ่ ๙ หรือ ๑๖ ชั้น
สำหรับเทพพรหมอันสูงศักดิ์ ๑ คู่
- พิธีเช่นนี้ ทำเพื่อบอกกล่าวขอขมาลาโทษ เนื่องจากอาจกระทำ สิ่งใดผิดพลาดไปทั้งที่รู้และไม่รู้ต่อพระพุทธเจ้า ตลอดจนบิดามารดา กับผู้มีพระคุณทั้งหลาย ครู อาจารย์ ด้วยเหมือนเป็นการสารภาพบาป
-- ต่อไปก็เป็นพิธีเชิญทำขวัญช้างคนโบราณก่อนเข้าป่าคล้องช้าง ต้องทำพิธีเซ่นสังเวยเทวดา ผีบ้านผีเรือนเพื่อเอาฤกษ์ บำรุงขวัญ ครั้นจะลงมือคล้องช้างก็เซ่นสรวงผีป่า เทวาอารักษ์ให้คล้องช้างโดยปลอดภัย เมื่อถึงบ้าน ก็ทำขวัญให้เลี้ยงเชื่อง
จงรักภักดีต่อตนเองและควาญช้าง
-- ชาวอีสาน เมื่อได้พระพุทธรูปมาใหม่ หรือ ใครนำพระพุทธรูปไปถวาย จะช่วยกันทำบายศรีใหญ่ใส่ขันโตกทองเหลือง หรือโตกสาน โตกไม้สูงใหญ่หลายชั้น เพื่อทำขวัญเนื่องในงานฉลองพระพุทธรูปและขอพรพระพุทธานุภาพ และเทพยดาที่ประจำพระพุทธรูปองค์นั้น ขอให้คุ้มครองพวกตนให้อยู่เย็นเป็นสุขตลอดไป ส่วนคณะผู้นำพระมาถวายนั้น ขอให้เดินทางสวัสดีมีโชคชัยอย่างนี้ เป็นต้น จะเห็นได้ว่า พิธีกรรมบางอย่าง มีไว้เพื่อจุดประสงค์ เป็นอุบายในการสั่งสอนลูกหลานผ่านพิธีกรรม เพื่อให้มี ธรรมะ มีสติ มีความอดทน ความศรัทธา ความสามัคคี เป็นการปลูกฝังคุณธรรมหลายอย่าง ทั้งความกตัญญูความอ่อนน้อมถ่อมตน ความจงรักภักดี ความรับผิดชอบ การรู้หน้าที่แห่งตน การให้กำลังใจซึ่งกันและกัน ความสามัคคี ฯลฯ จึงไม่ควรมองข้าม ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทยไป หรือเห็นว่าเป็นเรื่องงมงาย
พานบายศรีสู่ขวัญ
บายศรี คือ ภาชนะที่จัดตกแต่งให้สวยงามเป็นพิเศษด้วยใบตอง
และดอกไม้สดเพื่อเป็น
สำรับใส่อาหาร หวาน คาว ในพิธีสังเวยบูชา และพิธีทำขวัญต่างๆ
ทั้งของพระราชพิธ และของราษฎร เช่น
- พระราชพิธีบวงสรวงสังเวยเทพเทวดา,
- พระราชพิธีเปลี่ยนเครื่องทรงพระแก้วมรกต,
- พระราชพิธีสมโภชพระพุทธรูป,
- พระราชพิธีสมโภชรับพระขวัญ,
- พระราชพิธีสมโภชช้าง,
พิธีตั้งศาลพระภูมิ, พิธียกเสาเอก, พิธีทำขวัญต่างๆ ทำขวัญวัน
ทำขวัญเดือน
ทำขวัญนาค ทำขวัญเมื่อหายป่วยแล้ว ทำพิธีสู่ขวัญคู่บ่าวสาว
การทำบายศรีสู่ขวัญเป็นประเพณีโบราณ ที่บรรพบุรุษ ได้เคยปฏิบัติกันสืบ ๆมา ถือกันว่าเป็นสิริมงคลอันดีแก่การเป็นอยู่
คือการสวัสดิภาพในการดำรงชีวิตของมนุษย์ แต่การทำบายศรีสู่ขวัญนั้น ต้องอาศัยนักปราชญ์ผู้ฉลาดในวิธีการกระทำจึงเป็น สิริมงคลได้ ถ้าทำไปสักว่าทำ ไม่มีพิธีการก็จะมีผลน้อย เพราะการกระทำทั้งนี้ เกี่ยวกับจิตวิทยาอย่างหนึ่ง ถ้าผู้ทำเป็นผู้ฉลาดในพิธีการตั้งอกตั้งใจ ทำจริง ๆ อย่างนี้ จึงได้รับประโยชน์ในการกระทำนั้น โบราณ ถือว่า บายศรีมีครูแรง ถ้าใครไม่ได้ครอบ (อนุญาต)
ห้ามทำบายศรีอัปรีย์จะกิน ทำให้คนทั้งหลายกลัวไม่กล้าฝึกทำตามลำพัง หรือตามอย่างครู โดยครูไม่บอกอนุญาตให้เรียน
ทั้งนี้คงมีจุดมุ่งหมายที่แฝงอยู่คือ ให้เรียนหรือฝึกหัดทำด้วยความตั้งใจอย่างดี เพื่อให้ได้สวยงามทำได้ดีที่มีครูสอนเพราะบายศรีเป็นของสูง เป็นเครื่องสังเวยเทพเทวดา ไม่ควรทำสุกเอาเผากิน จึงได้มีการปรามเอาไว้ กันคนที่ไม่ค่อยประณีตไม่ตั้งใจจริง
ไม่ให้ทำ อีกประการหนึ่ง เป็นการปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดีให้เกิดขึ้น แก่ลูกหลาน ให้รู้จักเครารพครูอาจารย์ มีกตัญญู ไม่ลบหลู่คุณครูอาจารย์ จะเรียนอะไร ทำอะไร ต้องได้ชื่อว่าศิษย์มีครู จึงจะเกิดความมั่นใจและ ทำได้ดี สมัยโบราณจึงมีพิธีครอบการทำบายศรี พิธีครอบ ของครูบายศรี ไม่มีอะไรมากมายนัก เพียงให้จุดธูปอธิษฐานถึงครูบายศรี ตั้งแต่ครูคน แรกที่เป็นผู้คิดประดิษฐ์ทำ และผู้รักษาสืบต่อมา จนถึงครูของเราปัจจุบันนี้ ขอคุณครูจงช่วยอวยพรชัยให้ทำบายศรีได้สวยงามดี สำเร็จเป็นศิริมงคล ถ้าแม้นว่าจะทำผิดพลาดประการใดขอคุณครูได้เมตตา อภัยให้ด้วยเถิด
การทำบายศรี นั้น นักปราชญ์โบราณเคยทำสืบ ๆ กันมา มี 2 วิธี คือ
วิธีที่ 1 จะนิมนต์พระสงฆ์ 4 รูป รับศีลรับพร และประพรมน้ำมนต์
วิธีที่ 2 ตั้งเครื่องบูชาพาขวัญ (บายศรี) ตามประเพณีนิยม มีข้าวสาร
กล้วย ข้าวต้ม ขนม ธูปเทียน ผ้าแพรวา (ถ้าสู่ขวัญคน จะมี เครื่องสำอางค์ด้วย)
ฝ้ายผูกแขน เทียนรอบหัว และเท่าตัว ยอดกล้วย ยอดอ้อย ด้ายขาว 1 ในขันโตก ขันทองเหลือง การทำบายศรี มี 2 อย่าง คือ บายศรีหลัก บายศรีปากชาม
1. บายศรีหลัก จะทำในงานทั่วไป เช่น งานมงคลต่าง ๆ แขกมาเยี่ยมบ้านแต่งงาน ทำขวัญผู้ใหญ่ ฯลฯ
2. บายศรีปากชาม นั้นมักจะมีคู่ซ้าย ขวา จะทำในพิธีบวงสรวงหลักเมือง หรือเจ้าที่ เจ้าทาง หรือยกครู ไหว้ครู ทางไสยศาสตร์ ในสมัยโบราณ การทำบายศรีจะทำในงานสำคัญเท่านั้น และทำเป็นสี่หลักข้างต้นแต่เมื่อล่วงนานมาประมาณ พ.ศ.2500 ทาง พุทธให้มีหลักสูตรสอนศาสนาพิธีนั้น พานบายศรีก็มีการเปลี่ยนแปลง ไปตามกาลสมัย มี 3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น 9 ชั้น ตามคำสวดที่อัญเชิญเทพมาในงานพิธีนั้น ๆ
บายศรีพญานาคเชียงราย
บายศรีพญานาคเชียงใหม่
บายศรีพญานาคน่าน
บายศรีพญานาคพะเยา
บายศรีพญานาคแพร่
บายศรีพญานาคแม่ฮ่องสอน
บายศรีพญานาคลำปาง
บายศรีพญานาคลำพูน
บายศรีพญานาคอุตรดิตถ์
บายศรีพญานาคกาฬสินธุ์
บายศรีพญานาคขอนแก่น
บายศรีพญานาคชัยภูมิ
บายศรีพญานาคนครพนม
บายศรีพญานาคนครราชสีมา
บายศรีพญานาคบึงกาฬ
บายศรีพญานาคบุรีรัมย์
บายศรีพญานาคมหาสารคาม
บายศรีพญานาคมุกดาหาร
บายศรีพญานาคยโสธร
บายศรีพญานาคร้อยเอ็ด
บายศรีพญานาคเลย
บายศรีพญานาคสกลนคร
บายศรีพญานาคสุรินทร์
บายศรีพญานาคศรีสะเกษ
บายศรีพญานาคหนองคาย
บายศรีพญานาคหนองบัวลำภู
บายศรีพญานาคอุดรธานี
บายศรีพญานาคอุบลราชธานี
บายศรีพญานาคอำนาจเจริญ
บายศรีพญานาคกำแพงเพชร
บายศรีพญานาคชัยนาท
บายศรีพญานาคนครนายก
บายศรีพญานาคนครปฐม
บายศรีพญานาคนครสวรรค์
บายศรีพญานาคนนทบุรี
บายศรีพญานาคปทุมธานี
บายศรีพญานาคพระนครศรีอยุธยา
บายศรีพญานาคพิจิตร
บายศรีพญานาคพิษณุโลก
บายศรีพญานาคเพชรบูรณ์
บายศรีพญานาคลพบุรี
บายศรีพญานาคสมุทรปราการ
บายศรีพญานาคสมุทรสงคราม
บายศรีพญานาคสมุทรสาคร
บายศรีพญานาคสิงห์บุรี
บายศรีพญานาคสุโขทัย
บายศรีพญานาคสุพรรณบุรี
บายศรีพญานาคสระบุรี
บายศรีพญานาคอ่างทอง
บายศรีพญานาคอุทัยธานี
บายศรีพญานาคจันทบุรี
บายศรีพญานาคฉะเชิงเทรา
บายศรีพญานาคชลบุรี
บายศรีพญานาคตราด
บายศรีพญานาคปราจีนบุรี
บายศรีพญานาคระยอง
บายศรีพญานาคสระแก้ว
บายศรีพญานาคกาญจนบุรี
บายศรีพญานาคตาก
บายศรีพญานาคประจวบคีรีขันธ์
บายศรีพญานาคเพชรบุรี
บายศรีพญานาคราชบุรี
บายศรีพญานาคกระบี่
บายศรีพญานาคชุมพร
บายศรีพญานาคตรัง
บายศรีพญานาคนครศรีธรรมราช
บายศรีพญานาคนราธิวาส
บายศรีพญานาคปัตตานี
บายศรีพญานาคพังงา
บายศรีพญานาคพัทลุง
บายศรีพญานาคภูเก็ต
บายศรีพญานาคระนอง
บายศรีพญานาคสตูล
บายศรีพญานาคสงขลา
บายศรีพญานาคสุราษฎร์ธานี
บายศรีพญานาคยะลา
บายศรีพญานาคกรุงเทพมหานคร
บายศรีพญานาคคลองสาน
บายศรีพญานาคคลองสามวา
บายศรีพญานาคคลองเตย
บายศรีพญานาคคันนายาว
บายศรีพญานาคจอมทอง
บายศรีพญานาคดอนเมือง
บายศรีพญานาคดินแดง
บายศรีพญานาคดุสิต
บายศรีพญานาคตลิ่งชัน
บายศรีพญานาคทวีวัฒนา
บายศรีพญานาคทุ่งครุ
บายศรีพญานาคธนบุรี
บายศรีพญานาคบางกอกน้อย
บายศรีพญานาคบางกอกใหญ่
บายศรีพญานาคบางกะปิ
บายศรีพญานาคบางคอแหลม
บายศรีพญานาคบางซื่อ
บายศรีพญานาคบางนา
บายศรีพญานาคบางพลัด
บายศรีพญานาคบางรัก
บายศรีพญานาคบางเขน
บายศรีพญานาคบางแค
บายศรีพญานาคบึงกุ่ม
บายศรีพญานาคปทุมวัน
บายศรีพญานาคประเวศ
บายศรีพญานาคป้อมปราบศัตรูพ่าย
บายศรีพญานาคพญาไท
บายศรีพญานาคพระนคร
บายศรีพญานาคพระโขนง
บายศรีพญานาคภาษีเจริญ
บายศรีพญานาคมีนบุรี
บายศรีพญานาคยานนาวา
บายศรีพญานาคราชเทวี
บายศรีพญานาคราษฎร์บูรณะ
บายศรีพญานาคลาดกระบัง
บายศรีพญานาคลาดพร้าว
บายศรีพญานาควังทองหลาง
บายศรีพญานาควัฒนา
บายศรีพญานาคสวนหลวง
บายศรีพญานาคสะพานสูง
บายศรีพญานาคสัมพันธวงศ์
บายศรีพญานาคสาทร
บายศรีพญานาคสายไหม
บายศรีพญานาคหนองจอก
บายศรีพญานาคหนองแขม
บายศรีพญานาคหลักสี่
บายศรีพญานาคห้วยขวาง
บายศรีพญานาคเมืองนครปฐม
บายศรีพญานาคกำแพงแสน
บายศรีพญานาคดอนตูม
บายศรีพญานาคนครชัยศรี
บายศรีพญานาคบางเลน
บายศรีพญานาคพุทธมณฑล
บายศรีพญานาคสามพราน
บายศรีพญานาคเมืองนนทบุรี
บายศรีพญานาคบางกรวย
บายศรีพญานาคบางบัวทอง
บายศรีพญานาคบางใหญ่
บายศรีพญานาคปากเกร็ด
บายศรีพญานาคไทรน้อย
บายศรีพญานาคเมืองปทุมธานี
บายศรีพญานาคคลองหลวง
บายศรีพญานาคธัญบุรี
บายศรีพญานาคลาดหลุมแก้ว
บายศรีพญานาคลำลูกกา
บายศรีพญานาคสามโคก
บายศรีพญานาคหนองเสือ
บายศรีพญานาคเมืองสมุทรปราการ
บายศรีพญานาคบางพลี
บายศรีพญานาคบางเสาธง
บายศรีพญานาคพระประแดง
บายศรีพญานาคพระสมุทรเจดีย์
บายศรีพญานาคเมืองระยอง
บายศรีพญานาคนิคมพัฒนา
บายศรีพญานาคเขาชะเมา
บายศรีพญานาคบ้านฉาง
บายศรีพญานาคปลวกแดง
บายศรีพญานาควังจันทร์
บายศรีพญานาคแกลง
บายศรีพญานาคเมืองชลบุรี
บายศรีพญานาคเกาะจันทร์
บายศรีพญานาคบางละมุง
บายศรีพญานาคบ่อทอง
บายศรีพญานาคบ้านบึง
บายศรีพญานาคพนัสนิคม
บายศรีพญานาคพานทอง
บายศรีพญานาคศรีราชา
บายศรีพญานาคสัตหีบ
บายศรีพญานาคหนองใหญ่
บายศรีพญานาคเกาะสีชัง
บายศรีพญานาคเมืองสมุทรสาคร
บายศรีพญานาคกระทุ่มแบน
บายศรีพญานาคบ้านแพ้ว
บายศรีพญานาคมหาชัย
บายศรีพญานาคเมืองสมุทร
บายศรีพญานาคอัมพวา
บายศรีพญานาคบางคนที
บายศรีพญานาคเมืองราชบุรี
บายศรีพญานาคบ้านคา
บายศรีพญานาคจอมบึง
บายศรีพญานาคดำเนินสะดวก
บายศรีพญานาคบางแพ
บายศรีพญานาคบ้านโป่ง
บายศรีพญานาคปากท่อ
บายศรีพญานาควัดเพลง
บายศรีพญานาคสวนผึ้ง
บายศรีพญานาคโพธาราม
บายศรีพญานาคเมืองฉะเชิงเทรา
บายศรีพญานาคคลองเขื่อน
บายศรีพญานาคท่าตะเกียบ
บายศรีพญานาคบางคล้า
บายศรีพญานาคบางน้ำเปรี้ยว
บายศรีพญานาคบางปะกง
บายศรีพญานาคบ้านโพธิ์
บายศรีพญานาคพนมสารคาม
บายศรีพญานาคราชสาส์น
บายศรีพญานาคสนามชัยเขต
บายศรีพญานาคแปลงยาว
บายศรีพญานาคเมืองนครนายก
บายศรีพญานาคปากพลี
บายศรีพญานาคบ้านนา
บายศรีพญานาคองครักษ์