บายศรี เครื่องใช้ในพิธีกรรม เพื่อความเป็นสิริมงคล
หมวดหมู่สินค้า: A174 บายศรี
26 กุมภาพันธ์ 2565
ผู้ชม 132 ผู้ชม
รับทำบายศรี
ช่างบายศรีปากชาม
บายศรีสู่ขวัญ ผลงานของเรา
บายศรีเทพ
อุปกรณ์พิธีสงฆ์
พิธีบวงสรวง
รับจัดพิธีสงฆ์
จัดพิธีพราหมณ์
จัดเลี้ยงพระ
บายศรี เครื่องใช้ในพิธีกรรม เพื่อความเป็นสิริมงคล
บายศรีพญานาคเชียงราย
เมื่อพูดถึง “บายศรี” เชื่อว่าคนไทยส่วนใหญ่จะรู้จักและคุ้นเคยเพราะพบเห็นบ่อยในพิธีกรรมต่างๆ แทบทุกภาคของไทย เช่น การทำขวัญคน การทำขวัญข้าว การบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ การไหว้ครูนาฏศิลป์ดนตรี และพิธีสมโภชพระพุทธรูป เป็นต้น ซึ่งพิธีกรรมเหล่านี้ล้วนต้องใช้บายศรีเป็นเครื่องประกอบทั้งสิ้น
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ได้ให้ความหมายของคำว่า “บายศรี”ว่าหมายถึงเครื่องเชิญขวัญหรือรับขวัญ ทำด้วยใบตองรูปคล้ายกระทงเป็นชั้นๆ มีขนาดใหญ่เล็กสอบขึ้นไปตามลำดับ เป็น 3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น หรือ 9 ชั้น มีเสาปักตรงกลางเป็นแกน มีเครื่องสังเวยอยู่ในบายศรีและมีไข่ขวัญเสียบอยู่บนยอดบายศรี คำว่า “บายศรี” เกิดจากคำสองคำรวมกันคือ “บาย” เป็นภาษาเขมรแปลว่า “ข้าว” และคำว่า “ศรี”เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า “มิ่งขวัญ สิริมงคล” รวมความแล้ว “บายศรี” ก็คือ ข้าวขวัญหรือข้าวที่มีสิริมงคล เราจึงพบว่า ตัวบายศรีมักมีข้าวสุกเป็นส่วนประกอบและมักขาดไม่ได้ แต่โดยทั่วไปเราจะหมายถึง ภาชนะที่จัดตกแต่งให้สวยงามเป็นพิเศษด้วยใบตองทำเป็นกระทง หรือใช้พานเงินพานทองตกแต่งด้วยดอกไม้เพื่อเป็นสำรับใส่อาหารคาวหวานในพิธี สังเวยบูชาและพิธีทำขวัญต่างๆ
ประวัติความเป็นมาของบายศรีนั้น ไม่มีหลักฐานแน่นอนแต่มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาแล้ว เนื่องจากมีการกล่าวถึงบายศรีในวรรณกรรมมหาชาติคำหลวง กัณฑ์มหาราชซึ่งแต่งในสมัยอยุธยาว่า “แล้ว ธ ก็ให้บอกบายศรีบอกมิ่ง” อีกทั้งศิลปวัตถุตู้ลายรดน้ำสมัยอยุธยา ก็ปรากฏเรื่องราวเกี่ยวกับบายศรี อย่างไรก็ดีเชื่อว่าบายศรีนี้น่าจะได้คติมาจากพราหมณ์แน่นอน เพราะบายศรีต้องใช้ใบตองเป็นหลัก ซึ่งตามคติของพราหมณ์เชื่อว่าใบตองเป็นของบริสุทธิ์สะอาดไม่มีมลทินของอาหาร เก่าแปดเปื้อนเหมือนถ้วยชาม จึงนำมาทำภาชนะใส่อาหารเป็นรูปกระทง ต่อมาจึงมีการประดับประดาตกแต่งให้สวยงามขึ้น โดยทั่วไปบายศรีจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ บายศรีของราษฎร และบายศรีของหลวง
บายศรีของราษฎร ได้แก่ บายศรีที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในพิธีกรรมต่างๆ ของราษฎร ซึ่งแต่ละท้องถิ่นก็มีรายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกันไป แต่แบ่งได้เป็น 2 ชนิดคือ บายศรีปากชาม และบายศรีใหญ่หรือบายศรีต้น
บายศรีปากชาม จะเป็นบายศรีขนาดเล็กนำใบตองมาม้วนเป็นรูปกรวยใส่ข้าวสุกข้างใน ตั้งกรวยคว่ำไว้กลางชามขนาดใหญ่ ให้ยอดแหลมของกรวยอยู่ข้างบนและบนยอดให้ใช้ไม้เสียบไข่ต้มสุกปอกเปลือกที่ เรียกว่า “ไข่ขวัญ” ปักไว้โดยมีดอกไม้เสียบต่อขึ้นไปอีกที การจัดทำบายศรีเพื่อประกอบพิธีกรรมตอนเช้ามักจะมีเครื่องประกอบบายศรีเป็น อาหารง่ายๆ เช่น ข้าว ไข่ กล้วย และแตงกวา แต่ถ้าหลังเที่ยงไปแล้วไม่นิยมใส่ข้าว ไข่ แต่จะใช้ดอกบัวเสียบบนยอดกรวยแทนและใช้ดอกไม้ตกแต่งแทนกล้วยและแตงกวา
บายศรีใหญ่หรือบายศรีต้น จะเป็นบายศรีที่มีขนาดใหญ่กว่าบายศรีปากชาม นิยมทำเป็น 3 ชั้น 5 ชั้น และ 7 ชั้น หรือบางทีก็ทำถึง 9 ชั้น ด้วยเหตุว่านำคติเรื่องฉัตรมาเกี่ยวข้อง ซึ่งแท้จริงแล้วการทำบายศรีใหญ่หรือบายศรีต้นนี้ไม่มีการกำหนดชั้นตายตัว สุดแต่ผู้ทำจะเห็นว่าสวยงาม ถ้าทำชั้นมากก็ถือว่าเป็นเกียรติมากและในแต่ละชั้นของบายศรีมักใส่อาหาร ขนม ดอกไม้ ธูปเทียน ลงไปด้วย ปัจจุบันทั้งบายศรีปากชามและบายศรีใหญ่อาจจะใช้วัสดุอื่นๆ แทนใบตองซึ่งหาได้ยากขึ้น เช่น ใช้ผ้า กระดาษหรือวัสดุเทียมอื่นๆ ที่คล้ายใบตองมาตกแต่ง แต่รูปแบบโดยทั่วไป ก็ยังคงลักษณะบายศรีอยู่
บายศรีของหลวง ได้แก่ บายศรีที่ใช้ในพระราชพิธีต่างๆ อันเกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์ พระมเหสี พระราชโอรส พระราชธิดา และพระบรมวงศานุวงศ์ ทั้งในโบราณราชประเพณี และพระราชพิธีที่ทรงมีพระประสงค์ให้จัดขึ้นในโอกาสพิเศษต่างๆ รวมไปถึงรัฐพิธีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ด้วย ทั้งนี้ บายศรีของหลวงในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ
บายศรีต้น เป็นบายศรีที่ทำด้วยใบตองมีแป้นไม้เป็นโครง มีลักษณะอย่างบายศรีของราษฎร แต่จะมี 3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น และ 9 ชั้น ส่วนใหญ่ถ้าเป็น 9 ชั้น มักจะทำสำหรับพระมหากษัตริย์ พระราชินี ส่วน 7 ชั้น สำหรับพระมหาอุปราชา เช่น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ 5 ชั้น สำหรับเจ้านายพระราชวงศ์ ส่วนขุนนางและประชาชนทั่วไปนิยมทำ 3 ชั้น
บายศรีแก้ว ทอง เงิน บายศรีชนิดนี้ประกอบด้วยพานแก้ว พานทอง และพานเงิน ขนาดใหญ่ เล็ก วางซ้อนกันขึ้นไปตามลำดับเป็นชั้นๆ 5 ชั้น โดยจะตั้งบายศรีแก้วไว้ตรงกลาง บายศรีทองทางขวา และบายศรีเงินตั้งทางซ้ายของผู้รับการสมโภช
บายศรีตองรองทองขาว เป็นบายศรีที่ทำด้วยใบตองอย่างบายศรีใหญ่ของราษฎร มีลักษณะเป็น 5 ชั้น หรือ 7 ชั้น แต่โดยมากมักทำ 7 ชั้น บายศรีตองชนิดนี้มักตั้งบนพานใหญ่ซึ่งเป็นโลหะทองขาว จึงเรียกว่าบายศรีตองรองทองขาว ส่วนใหญ่จะตั้งคู่กับบายศรีแก้ว ทอง เงิน มักใช้ในงานพระราชพิธีใหญ่ เช่น พระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ พระราชพิธีสมโภชขึ้นระวางช้างสำคัญ เป็นต้น
ส่วนการใช้บายศรีชนิดใดในโอกาสไหนนั้น มีข้อสังเกตง่ายๆ ว่าบายศรีปากชาม มักใช้ในพิธีทำขวัญในครัวเรือนอย่างง่ายๆ ที่มิใช่งานใหญ่โต เช่น การทำขวัญเดือนเด็ก หรือในพิธีตั้งศาลหรือถอนศาลพระภูมิ เป็นต้น ส่วนบายศรีต้นหรือบายศรีใหญ่ มักใช้เป็นเครื่องบูชาเทพยดาตามลัทธิพราหมณ์ที่มิใช่บูชาพระ หรือมักใช้ในงานใหญ่ที่ครึกครื้น เช่น ทำขวัญนาค ฉลองสมณศักดิ์ หรือในการไหว้ครู เป็นต้น แต่ในบางงานก็อาจจะใช้ทั้งสองชนิดควบคู่กันไปก็มี เป็นที่น่าสังเกตว่าในภาคกลางเรามักจะเป็นการใช้บายศรีในการบวงสรวง พิธีไหว้ครูหรือพิธีสมโภช ส่วนภาคอีสานและล้านนามักใช้บายศรีในการทำขวัญต่างๆ โดยทางล้านนาจะเขียนเป็น “บายศรี”(อ่านว่า บายสี) แต่นิยมเรียกว่า “ใบสี”หรือ “ใบสรี”ส่วนอีสานจะเรียกบายศรีว่า “พาบายศรี”หรือ “พาขวัญ”หรือบางท้องถิ่นก็เรียก “ขันบายศรี” ก็มี
บายศรีพญานาคเชียงราย
บายศรีพญานาคเชียงใหม่
บายศรีพญานาคน่าน
บายศรีพญานาคพะเยา
บายศรีพญานาคแพร่
บายศรีพญานาคแม่ฮ่องสอน
บายศรีพญานาคลำปาง
บายศรีพญานาคลำพูน
บายศรีพญานาคอุตรดิตถ์
บายศรีพญานาคกาฬสินธุ์
บายศรีพญานาคขอนแก่น
บายศรีพญานาคชัยภูมิ
บายศรีพญานาคนครพนม
บายศรีพญานาคนครราชสีมา
บายศรีพญานาคบึงกาฬ
บายศรีพญานาคบุรีรัมย์
บายศรีพญานาคมหาสารคาม
บายศรีพญานาคมุกดาหาร
บายศรีพญานาคยโสธร
บายศรีพญานาคร้อยเอ็ด
บายศรีพญานาคเลย
บายศรีพญานาคสกลนคร
บายศรีพญานาคสุรินทร์
บายศรีพญานาคศรีสะเกษ
บายศรีพญานาคหนองคาย
บายศรีพญานาคหนองบัวลำภู
บายศรีพญานาคอุดรธานี
บายศรีพญานาคอุบลราชธานี
บายศรีพญานาคอำนาจเจริญ
บายศรีพญานาคกำแพงเพชร
บายศรีพญานาคชัยนาท
บายศรีพญานาคนครนายก
บายศรีพญานาคนครปฐม
บายศรีพญานาคนครสวรรค์
บายศรีพญานาคนนทบุรี
บายศรีพญานาคปทุมธานี
บายศรีพญานาคพระนครศรีอยุธยา
บายศรีพญานาคพิจิตร
บายศรีพญานาคพิษณุโลก
บายศรีพญานาคเพชรบูรณ์
บายศรีพญานาคลพบุรี
บายศรีพญานาคสมุทรปราการ
บายศรีพญานาคสมุทรสงคราม
บายศรีพญานาคสมุทรสาคร
บายศรีพญานาคสิงห์บุรี
บายศรีพญานาคสุโขทัย
บายศรีพญานาคสุพรรณบุรี
บายศรีพญานาคสระบุรี
บายศรีพญานาคอ่างทอง
บายศรีพญานาคอุทัยธานี
บายศรีพญานาคจันทบุรี
บายศรีพญานาคฉะเชิงเทรา
บายศรีพญานาคชลบุรี
บายศรีพญานาคตราด
บายศรีพญานาคปราจีนบุรี
บายศรีพญานาคระยอง
บายศรีพญานาคสระแก้ว
บายศรีพญานาคกาญจนบุรี
บายศรีพญานาคตาก
บายศรีพญานาคประจวบคีรีขันธ์
บายศรีพญานาคเพชรบุรี
บายศรีพญานาคราชบุรี
บายศรีพญานาคกระบี่
บายศรีพญานาคชุมพร
บายศรีพญานาคตรัง
บายศรีพญานาคนครศรีธรรมราช
บายศรีพญานาคนราธิวาส
บายศรีพญานาคปัตตานี
บายศรีพญานาคพังงา
บายศรีพญานาคพัทลุง
บายศรีพญานาคภูเก็ต
บายศรีพญานาคระนอง
บายศรีพญานาคสตูล
บายศรีพญานาคสงขลา
บายศรีพญานาคสุราษฎร์ธานี
บายศรีพญานาคยะลา
บายศรีพญานาคกรุงเทพมหานคร
บายศรีพญานาคคลองสาน
บายศรีพญานาคคลองสามวา
บายศรีพญานาคคลองเตย
บายศรีพญานาคคันนายาว
บายศรีพญานาคจอมทอง
บายศรีพญานาคดอนเมือง
บายศรีพญานาคดินแดง
บายศรีพญานาคดุสิต
บายศรีพญานาคตลิ่งชัน
บายศรีพญานาคทวีวัฒนา
บายศรีพญานาคทุ่งครุ
บายศรีพญานาคธนบุรี
บายศรีพญานาคบางกอกน้อย
บายศรีพญานาคบางกอกใหญ่
บายศรีพญานาคบางกะปิ
บายศรีพญานาคบางคอแหลม
บายศรีพญานาคบางซื่อ
บายศรีพญานาคบางนา
บายศรีพญานาคบางพลัด
บายศรีพญานาคบางรัก
บายศรีพญานาคบางเขน
บายศรีพญานาคบางแค
บายศรีพญานาคบึงกุ่ม
บายศรีพญานาคปทุมวัน
บายศรีพญานาคประเวศ
บายศรีพญานาคป้อมปราบศัตรูพ่าย
บายศรีพญานาคพญาไท
บายศรีพญานาคพระนคร
บายศรีพญานาคพระโขนง
บายศรีพญานาคภาษีเจริญ
บายศรีพญานาคมีนบุรี
บายศรีพญานาคยานนาวา
บายศรีพญานาคราชเทวี
บายศรีพญานาคราษฎร์บูรณะ
บายศรีพญานาคลาดกระบัง
บายศรีพญานาคลาดพร้าว
บายศรีพญานาควังทองหลาง
บายศรีพญานาควัฒนา
บายศรีพญานาคสวนหลวง
บายศรีพญานาคสะพานสูง
บายศรีพญานาคสัมพันธวงศ์
บายศรีพญานาคสาทร
บายศรีพญานาคสายไหม
บายศรีพญานาคหนองจอก
บายศรีพญานาคหนองแขม
บายศรีพญานาคหลักสี่
บายศรีพญานาคห้วยขวาง
บายศรีพญานาคเมืองนครปฐม
บายศรีพญานาคกำแพงแสน
บายศรีพญานาคดอนตูม
บายศรีพญานาคนครชัยศรี
บายศรีพญานาคบางเลน
บายศรีพญานาคพุทธมณฑล
บายศรีพญานาคสามพราน
บายศรีพญานาคเมืองนนทบุรี
บายศรีพญานาคบางกรวย
บายศรีพญานาคบางบัวทอง
บายศรีพญานาคบางใหญ่
บายศรีพญานาคปากเกร็ด
บายศรีพญานาคไทรน้อย
บายศรีพญานาคเมืองปทุมธานี
บายศรีพญานาคคลองหลวง
บายศรีพญานาคธัญบุรี
บายศรีพญานาคลาดหลุมแก้ว
บายศรีพญานาคลำลูกกา
บายศรีพญานาคสามโคก
บายศรีพญานาคหนองเสือ
บายศรีพญานาคเมืองสมุทรปราการ
บายศรีพญานาคบางพลี
บายศรีพญานาคบางเสาธง
บายศรีพญานาคพระประแดง
บายศรีพญานาคพระสมุทรเจดีย์
บายศรีพญานาคเมืองระยอง
บายศรีพญานาคนิคมพัฒนา
บายศรีพญานาคเขาชะเมา
บายศรีพญานาคบ้านฉาง
บายศรีพญานาคปลวกแดง
บายศรีพญานาควังจันทร์
บายศรีพญานาคแกลง
บายศรีพญานาคเมืองชลบุรี
บายศรีพญานาคเกาะจันทร์
บายศรีพญานาคบางละมุง
บายศรีพญานาคบ่อทอง
บายศรีพญานาคบ้านบึง
บายศรีพญานาคพนัสนิคม
บายศรีพญานาคพานทอง
บายศรีพญานาคศรีราชา
บายศรีพญานาคสัตหีบ
บายศรีพญานาคหนองใหญ่
บายศรีพญานาคเกาะสีชัง
บายศรีพญานาคเมืองสมุทรสาคร
บายศรีพญานาคกระทุ่มแบน
บายศรีพญานาคบ้านแพ้ว
บายศรีพญานาคมหาชัย
บายศรีพญานาคเมืองสมุทร
บายศรีพญานาคอัมพวา
บายศรีพญานาคบางคนที
บายศรีพญานาคเมืองราชบุรี
บายศรีพญานาคบ้านคา
บายศรีพญานาคจอมบึง
บายศรีพญานาคดำเนินสะดวก
บายศรีพญานาคบางแพ
บายศรีพญานาคบ้านโป่ง
บายศรีพญานาคปากท่อ
บายศรีพญานาควัดเพลง
บายศรีพญานาคสวนผึ้ง
บายศรีพญานาคโพธาราม
บายศรีพญานาคเมืองฉะเชิงเทรา
บายศรีพญานาคคลองเขื่อน
บายศรีพญานาคท่าตะเกียบ
บายศรีพญานาคบางคล้า
บายศรีพญานาคบางน้ำเปรี้ยว
บายศรีพญานาคบางปะกง
บายศรีพญานาคบ้านโพธิ์
บายศรีพญานาคพนมสารคาม
บายศรีพญานาคราชสาส์น
บายศรีพญานาคสนามชัยเขต
บายศรีพญานาคแปลงยาว
บายศรีพญานาคเมืองนครนายก
บายศรีพญานาคปากพลี
บายศรีพญานาคบ้านนา
บายศรีพญานาคองครักษ์