9489394

คู่มือการเจาะน้ำบาดาล

หมวดหมู่สินค้า: A170 น้ำบาดาล

26 กุมภาพันธ์ 2565

ผู้ชม 287 ผู้ชม

ช่างเจาะบาดาล
การเจาะบ่อน้ำบาดาล
บริการขุดเจาะบาดาล
รับเจาะบ่อน้ำบาดาล
ขุดเจาะบาดาล
การจัดหาแหล่งน้ำบาดาล
แนะนำช่างเจาะบ่อน้ำบาดาลในจังหวัด
รับสำรวจหาแหล่งน้ำบาดาล
ขุดเจาะบ่อน้ำบาดาล

        ติดต่อช่างเจาะบาดาล




คู่มือการเจาะน้ำบาดาล
 
การเลือกที่เจาะ
 
การเลือกที่เจาะที่ถูกหลัก ในท้องที่ที่ไม่เคยเจาะน้ำบาดาลมาก่อน หรือในท้องที่ที่ชั้นน้ำเป็นหินแข็ง จะต้องใช้ความรู้ทางวิชาการประกอบกับผลที่ได้จากการสำรวจด้วยวิธีการต่างๆที่กล่าวข้างต้น วิชาการส่วนใหญ่ที่ใช้ประกอบในการเลือกที่เจาะ คือ ความรู้ทางธรณีวิทยา และอุทกวิทยาน้ำบาดาลในบริเวณที่จะเจาะ การเจาะบ่อขนาดใหญ่ที่ต้องการน้ำมาก ๆ ในบางแห่งยังต้องมีการเจาะบ่อทดสอบ ( Test hole ) ดูเสียก่อน 2 – 3 บ่อ การเจาะบ่อทดสอบมีวัตถุประสงค์ที่จะหาความลึกของแหล่งน้ำบาดาล จุดที่ชั้นน้ำบาดาลหนาที่สุด จุดที่น้ำบาดาลมากที่สุด คุณภาพน้ำที่ดีที่สุด ผลจากการทดสอบและรายละเอียดการตรวจสอบอื่นๆ เช่น การตรวจสอบชั้นหิน การตรวจชั้นน้ำด้วยเครื่องมือไฟฟ้า และการทดสอบปริมาณน้ำ เมื่อมาประเมินให้ถูกหลักก็จะกำหนดจุดเจาะให้ได้ผลดีที่สุดได้ แต่ในบางกรณีผู้ที่จะเจาะน้ำบาดาล หรือผู้ที่อยากได้บ่อบาดาลไม่มีประสบการณ์หรือขาดความรู้ หรือขาดทุนทรัพย์ที่จะดำเนินการดังกล่าวข้างต้นได้ การเลือกที่เจาะจึงมักจะไม่ค่อยถูกหลัก ยิ่งกว่านั้นบางรายมักจะไปจ้างพ่อมดหมอผี หรือคนทรงนั่งทางในมาเลือกที่เจาะหรือขุดให้ บางรายก็ประสบผลสำเร็จ บางรายก็เสียเงินเปล่า ที่สำเร็จนั้นส่วนใหญ่มักจะเป็นที่ซึ่งไม่จำเป็นต้องให้ใครเลือกให้ หรือไม่จำเป็นต้องใช้หมอผี จะขุดตรงไหนก็ได้น้ำ ข้อแนะนำข้างล่างนี้ให้ไว้สำหรับประชาชนทั่วไป ไม่ใช่เพื่อนักวิชาการและหลักการที่ให้ไว้นี้ ก็เป็นหลักทั่วๆไป ไม่ใช่เฉพาะแห่งหนึ่งแห่งใด การเลือกใช้ข้อหนึ่งข้อใดเป็นแนวทาง ควรที่จะเลือกใช้ลักษณะภูมิประเทศของที่นั้นๆ มาร่วมพิจารณาด้วย
1) พื้นที่ใดมีลักษณะเป็นทุ่งราบ ถามนักธรณีวิทยาได้ความรู้ว่า พื้นที่นั้นรองรับด้วยแหล่งกรวด ทราย หนาเกินกว่า 25 เมตร จากผิวดินลงไป ตรวจดูบ่อชาวบ้านถ้ามีบ่อน้ำใช้ตลอดปี ระดับน้ำในบ่อไม่ลึกมาก และกรวดทรายที่ชาวบ้านขุดขึ้นมามีลักษณะกลมมน พื้นที่นั้นๆ มักจะเป็นแหล่งน้ำ จะเลือกเจาะที่ไหนก็ได้
2) พื้นที่ใดมีลักษณะเหมือนในข้อ 1 แต่กรวดทรายที่ชาวบ้านขุดขึ้นมาไม่กลมมน แต่มีเหลี่ยม มีแง่หรือมุม มีดินเหนียวขาว ๆ ปนอยู่ทั่วไป ลักษณะท้องที่นั้น มักจะไม่มีแหล่งน้ำ ทุกจุดที่เจาะ การเลือกที่เจาะควรปรึกษานักวิชาการน้ำบาดาลดีกว่าที่จะเลือกเอง
3) พื้นที่ใดเป็นทุ่งราบหรือหุบเขา มีแม่น้ำลำธารไหลผ่าน ตัวน้ำคดเคี้ยวไปมา และมีหาดทรายกว้างขวาง ฤดูฝนมักจะมีน้ำล้นฝั่ง ฤดูแล้งมีน้ำไหล ท้องที่นั้นจะเป็นแหล่งน้ำบาดาลอย่างดี จะเจาะตรงไหนก็ได้ไม่จำเป็นต้องไปจ้างคนทรงให้มานั่งทางในชี้จุดเจาะให้
4) พื้นที่ใดเป็นคุ้งน้ำ ควรเลือกเจาะบริเวณคุ้งน้ำด้านที่มีหาดทราย ด้านตรงข้ามซึ่งมีตลิ่งชันและน้ำเซาะไม่ควรเจาะ
5) ท้องที่ใดมีลักษณะเป็นทุ่งราบกว้างขวางริมทะเล จะเจาะที่ไหนก็ได้น้ำบาดาล แต่อย่าเจาะให้ลึกเกินไป อาจได้น้ำเค็ม
6) พื้นที่ใดมีลักษณะเป็นที่ราบลานเทขั้นบันไดหลายชั้น ควรเลือกเจาะในบริเวณที่อยู่ระดับที่ต่ำที่สุด ที่ราบอยู่ระดับสูงๆ ถึงแม้จะมีน้ำก็จะมีระดับลึก
7) โดยปกติจะมีชั้นดินเหนียวสลับอยู่ในชั้นกรวดทราย การขุดบ่อในที่ใด ถ้าพบดินเหนียวไม่มีน้ำก็อย่าเพิ่งหมดหวัง ถ้ามีความสามารถจะขุดลึกลงไปอีก ก็จะถึงชั้นทรายมีน้ำ
8) บ่อเจาะ หรือขุด ควรอยู่ห่างจากแหล่งน้ำโสโครก เช่น ส้วม หรือ ท่อระบายน้ำ ให้มาก ที่สุดเท่าที่จะมากได้ กระทรวงสาธารณสุขสหรัฐอเมริกาแนะนำว่า บ่อขุดควรอยู่ห่างจากส้วมไม่น้อยกว่า 50 ฟุต
9) พื้นที่ใดเป็นทุ่งราบแล้ง แต่มีต้นไม้ขึ้นเขียวชอุ่มเป็นแนวยาว เป็นตอน ๆ ตลอดปี แสดงว่าบริเวณนั้นมีแหล่งน้ำบาดาล ซึ่งอาจจะอยู่ในบริเวณร่องน้ำเก่า ๆ ก็ได้ ถ้าจะเจาะน้ำบาดาลบริเวณที่มี ป่าไม้ก็จะได้ผล
10) พื้นที่ใดเป็นหินไม่ว่าจะเป็นแบบโผล่ให้เห็นบนผิวดิน หรือฝั่งตื้นๆ อยู่ใต้ผิวดิน การเลือกเจาะน้ำบาดาลในบริเวณนั้นควรจะให้นักวิชาการเลือกให้ หรือให้คำแนะนำ เพราะแหล่งน้ำบาดาลในหินมิได้มีอยู่ทั่ว ๆ ไปเหมือนในกรวดทราย การเลือกจุดเจาะต้องอาศัยข้อมูลทางธรณีวิทยาเป็นหลัก แต่ถ้าจำเป็นต้องเลือกเองจริง ๆ ก็ควรจะเลือกในบริเวณต่ำ ๆ ยิ่งถ้ามีที่เจาะในที่ซึ่งเป็นหุบแนวยาว ๆ ด้วย ก็ยิ่งมีโอกาสได้น้ำ
11) พื้นที่ที่เป็นแหล่งน้ำเค็ม หรือแหล่งเกลือ ดังเช่น ในที่ราบตอนกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ควรจะเลือกที่เจาะในบริเวณที่เป็นเนินสูง ๆ มีป่าหรือพุ่มไม้ทั่วไป เพราะอาจมีโอกาสได้น้ำจืด
12) พื้นที่ซึ่งเป็นภูเขา มีหินแข็งโผล่ให้เห็นทั่วไป ชั้นหินก็เอียงเทลงไปทางเชิงเขา ไม่ควรอย่างยิ่งที่จะเจาะน้ำบาดาลในบริเวณนั้น แต่ถ้าต้องการน้ำจริงๆ ก็ควรเลื่อนที่เจาะลงไปทางเชิงเขาอาจจะได้น้ำ และน้ำอาจจะพุ
 
 
การก่อสร้างบ่อ(Well Completion)
การทำรูเจาะ ( Hole ) ให้เป็นบ่อน้ำ ( Water Well ) พร้อมที่จะพัฒนาเอาน้ำขึ้นมาใช้ได้ เรียกว่าการทำบ่อ ( Well Completion ) ซึ่งประกอบด้วยการออกแบบบ่อ ( Well Design ) การใส่ท่อกรุท่อกรอง และการกรุกรวด ( Gravel Packing)
1.การออกแบบบ่อ
การออกแบบบ่อ หมายถึงการนำรายละเอียดต่าง ๆ ที่ได้จากการเจาะบ่อนั้น ๆ มาวางแผนการทำบ่อให้ได้ผลที่สุด ทั้งด้านปริมาณน้ำและคุณภาพน้ำ หลักใหญ่ของการออกแบบ อยู่ที่การใส่ท่อกรุและท่อกรอง ให้ถูกขนาดและถูกตำแหน่งที่ควรจะอยู่ เช่น ท่อกรองจะต้องมีความยาวอย่างน้อย 2/3 ของความหนาของชั้นน้ำ ตำแหน่งของท่อกรองจะต้องอยู่ตรงกับชั้นน้ำ ในกรณีที่บ่อนั้นเจาะผ่านชั้นน้ำเค็ม ก็ต้องกำหนดวิธีการอุดหรือกันน้ำเค็มไม่ให้ปนกับน้ำจืด และเข้ามาในบ่อ เหล่านี้ เป็นต้น เพื่อเป็นอุทาหรณ์ใคร่จะนำการออกแบบบ่อจริง ๆ บ่อหนึ่งมาเป็นตัวอย่างดังนี้
บ่อกรมทรัพยากรธรณีบริเวณใกล้เคียงอำเภอพระประแดง เจาะลึก 900 ฟุต ด้วยหัวเจาะ ขนาด ? 6 1/4 นิ้ว มีจุดประสงค์ที่จะเจาะสำรวจสภาพน้ำบาดาลและชั้นหิน และพัฒนาเอาน้ำจืดขึ้นมาใช้ด้วย บ่อนี้เจาะชั้นกรวดทราย และดินเหนียวสลับกันไปถึงก้นบ่อ จากการตรวจด้วยเครื่องตรวจชั้นน้ำแบบ ไฟฟ้า และแบบกัมมันตภาพรังสี ปรากฏว่า มีชั้นทรายน้ำจืดอยู่ที่ความลึก 252-307 ฟุต
1. คว้านบ่อด้วยหัวเจาะ 15 นิ้ว เพื่อใส่ท่อกรุและท่อกรองขนาด 8 นิ้ว
2. คว้านบ่อลงไปจนถึง 350 ฟุต ละปล่อยให้เศษดินลักรวดทรายลงไปถมถึง 900 ฟุต หากไม่เต็มก็ต้องหาดินหรือทรายจาก
ภายนอกใส่เพิ่มเข้าไปจนเต็มถึงระดับ 350 ฟุต
3. อุดซีเมนต์ในบ่อที่คว้านขนาด 15 นิ้วนี้แล้ว จาก 295 ฟุต ไปจนถึง 350 ฟุต เพื่อไม่ให้น้ำ เค็ม ชั้นล่างเข้ามาปนน้ำจืด
(ระยะจาก 295-307 ฟุต ซึ่งเป็นชั้นน้ำจืดนั้นอุดซีเมนต์ไว้ด้วย เพื่อให้การอุดมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น)
4. ใส่ท่อกรุขนาด 8 นิ้ว จากผิวดินลงไปจนถึงความลึก 270 ฟุต จาก 270-290 ฟุต ใส่ท่อกรองขนาดเดียวกัน โดยใช้ท่อ
กรองขนาดช่องว่าง 50/1000 นิ้ว จากระดับ 290-295 ฟุต อันเป็นระดับซีเมนต์ก้นบ่อ ใส่ท่อกรุอีกท่อนหนึ่งขนาดเดียว
กัน ปลายท่อกรุล่างสุดปิด
5. ใส่กรวดคัดขนาด 1/8 – 1/4 นิ้ว รอบๆ ท่อกรองและท่อกรุ จากระดับ 265-295 ฟุต
6. ช่องว่างระหว่างท่อกรุกับผนังบ่อ ตั้งแต่ผิวดินจนถึง 265 ฟุต อุดไว้ด้วยซีเมนต์อีกครั้งเพื่อกันน้ำเค็มตอนบนลงไปปนน้ำจืด
7. ซีเมนต์ที่ใช้ทั้งหมดคำนวณได้ 18 ตัน ผลการทำบ่อนี้ ปรากฏว่า เมื่อพัฒนาบ่อเสร็จแล้ว ได้น้ำจืดตามความประสงค์
 
2. การใส่ท่อกรุท่อกรอง
ท่อกรุเป็นเหล็กเหนียวใช้ใส่ในบ่อเพื่อเป็นผนังถาวรของบ่อ และเป็นเรือนรับหัวดูดของเครื่องสูบน้ำบาดาลด้วย บ่อทุกบ่อที่จะเจาะในหินร่วนต้องใส่ท่อกรุเพื่อกันไม่ให้บ่อพัง บ่อเจาะในหินแข็งซึ่งเมื่อถูกน้ำแช่นาน จะแตกเปื่อยยุ่ย เช่นหินดินดานก็ต้องใส่ท่อกรุด้วย ส่วนบ่อที่เจาะในหินแข็งซึ่งสามารถจะทรงตัวอยู่ได้ไม่ว่าจะมีน้ำหรือไม่มี ก็ไม่จำเป็นต้องใส่ บ่อที่ไม่ใส่ท่อกรุเรียกว่า บ่อเปิด ( Open Hole )
 
ท่อกรุบ่อน้ำบาดาลส่วนใหญ่ยาวประมาณ 20 ฟุต โดยเฉลี่ยมีหลายขนาดตั้งแต่ 4 นิ้ว จนถึง 24 นิ้ว การเลือกใช้ท่อกรุ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ที่จะใช้น้ำ เช่น ถ้าใช้น้ำสำหรับครัวเรือนก็ใช้ขนาดเล็ก 4-6 นิ้ว ถ้าใช้น้ำเพื่อกิจการอื่น ๆ ที่ต้องการน้ำมาก ๆ ก็ใช้ขนาดตั้งแต่ 8 นิ้วขึ้นไป ทั้งนี้เพื่อสะดวกแก่การติดตั้งเครื่องสูบที่มีขนาดต่าง ๆ กัน ตารางข้างล่างแสดงความสัมพันธ์ระหว่างขนาดท่อกรุกับปริมาณน้ำที่จะสูบใช้ได้มากที่สุด โดยใช้เครื่องสูบน้ำแบบเทอร์ไบน์
 
3. การกรุกรวด(Gravel Packing)
ได้กล่าวในตอนต้นแล้วว่าช่องว่างระหว่างผนังบ่อกับท่อกรองต้องใส่กรวดไว้โดยรอบ กรวดเหล่านี้ทำหน้าที่เหมือนกับบ่ออีกบ่อหนึ่งหุ้มบ่อจริงไว้ บ่อเทียมนี้ประกอบด้วยกรวดที่มีความพรุนและความซึมได้สูง จึงยอมให้น้ำไหลผ่านได้มากที่สุด นอกนั้นยังช่วยกรองตะกอนต่าง ๆ ไม่ให้เข้าไปในบ่อจริง ๆ และช่วยกันไม่ให้ดินหรือทรายจากส่วนอื่น ๆ พังลงไปทับท่อกรุหรือท่อกรองด้วย กรวดที่กรุลงไปข้าง ๆ บ่อนี้ ถ้าทำได้ถูกต้องจริง ๆ จะทำให้น้ำไหลเข้าบ่อมากกว่าธรรมดา และแก้ไขปัญหาเรื่องทรายเข้าบ่อได้โดยเด็ดขาด ฉะนั้นการใช้กรวดที่ถูกขนาดและได้สัดส่วนกับรูของท่อกรอง หรือท่อเซาะร่องและขนาดเม็ดทรายในชั้นน้ำ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ขนาดเม็ดทรายในชั้นน้ำหาได้แน่นอน โดยใช้วิธีการแยกส่วนโดยใช้ตะแกรงร่อน ส่วนขนาดท่อกรองรู้ได้โดยตรงจากบริษัทผู้ผลิต ซึ่งมักปั๊มเลขขนาดรูเอาไว้ที่ตัวท่อกรองแล้ว แต่อย่างไรก็ตามการแยกส่วนเม็ดกรวดทรายโดยให้ตะแกรงร่อนมักจะทำกันไม่ได้ทั่วไป จึงกำหนดขนาดเม็ดกรวดที่ใส่รอบๆ บ่อไว้ว่าถ้าได้ขนาดตั้งแต่ทรายหยาบไปจนถึงกรวดขนาด 1/4 นิ้ว ก็จะได้ผลดี
 
ความหนาของกรวดกรุรอบ ๆ บ่อ ไม่จำเป็นต้องมีขอบเขตอยู่ที่ผนังบ่อ แต่ยิ่งหนาได้เท่าไรก็จะยิ่งดีขึ้นเท่านั้น ในการพัฒนาบ่อมีวิธีการที่จะให้ผนังบ่อตรงชั้นน้ำขยายกว้างออกไป จึงเป็นช่องทางที่จะให้เติมกรวดเพิ่มให้มีความหนามากขึ้น บ่อที่มีกรวดกรุรอบ ๆ หนามาก จะสูบน้ำได้มากกว่าบ่อที่มีกรวดกรุบางๆเสมอไป
4. การพัฒนาบ่อ
เป็นงานขั้นสุดท้ายในการทำบ่อก่อนที่จะสูบน้ำจากบ่อออกไปใช้ การพัฒนาบ่อมีวัตถุประสงค์ที่จะทำให้บ่อมีน้ำเพิ่มมากขึ้น ป้องกันไม่ให้ทรายเข้าบ่อ และทำให้อายุการใช้งานของบ่อ ยืนยาวขึ้น โดยมีรายละเอียดการดำเนินการบรรยายไว้ใน คู่มือการเป่าล้างบ่อน้ำบาดาล (คป.7)
5. การทดสอบปริมาณน้ำ
บ่อที่พัฒนาเสร็จเรียบร้อยแล้วถือว่าพร้อมที่จะติดตั้งเครื่องสูบ สูบน้ำขึ้นมาใช้ แต่ในทางปฏิบัติควรจะทดสอบปริมาณน้ำ ( Pumping test ) เสียก่อน เพื่อให้ได้รายละเอียดเกี่ยวกับปริมาณน้ำที่จะสูบขึ้นมาได้ และเพื่อหาข้อมูลสำหรับการเลือกใช้เครื่องสูบให้ถูกต้อง โดยมีรายละเอียดการดำเนินการบรรยายไว้ใน คู่มือ การทดสอบปริมาณน้ำ (คป. 8



เจาะบาดาลเชียงราย 
เจาะบาดาลเชียงใหม่ 
เจาะบาดาลน่าน 
เจาะบาดาลพะเยา 
เจาะบาดาลแพร่ 
เจาะบาดาลแม่ฮ่องสอน 
เจาะบาดาลลำปาง 
เจาะบาดาลลำพูน 
เจาะบาดาลอุตรดิตถ์
เจาะบาดาลกาฬสินธุ์ 
เจาะบาดาลขอนแก่น 
เจาะบาดาลชัยภูมิ 
เจาะบาดาลนครพนม 
เจาะบาดาลนครราชสีมา 
เจาะบาดาลบึงกาฬ 
เจาะบาดาลบุรีรัมย์ 
เจาะบาดาลมหาสารคาม 
เจาะบาดาลมุกดาหาร 
เจาะบาดาลยโสธร 
เจาะบาดาลร้อยเอ็ด 
เจาะบาดาลเลย 
เจาะบาดาลสกลนคร 
เจาะบาดาลสุรินทร์ 
เจาะบาดาลศรีสะเกษ 
เจาะบาดาลหนองคาย 
เจาะบาดาลหนองบัวลำภู 
เจาะบาดาลอุดรธานี 
เจาะบาดาลอุบลราชธานี 
เจาะบาดาลอำนาจเจริญ 
เจาะบาดาลกำแพงเพชร 
เจาะบาดาลชัยนาท 
เจาะบาดาลนครนายก 
เจาะบาดาลนครปฐม 
เจาะบาดาลนครสวรรค์ 
เจาะบาดาลนนทบุรี 
เจาะบาดาลปทุมธานี 
เจาะบาดาลพระนครศรีอยุธยา 
เจาะบาดาลพิจิตร 
เจาะบาดาลพิษณุโลก 
เจาะบาดาลเพชรบูรณ์ 
เจาะบาดาลลพบุรี 
เจาะบาดาลสมุทรปราการ 
เจาะบาดาลสมุทรสงคราม 
เจาะบาดาลสมุทรสาคร 
เจาะบาดาลสิงห์บุรี 
เจาะบาดาลสุโขทัย 
เจาะบาดาลสุพรรณบุรี 
เจาะบาดาลสระบุรี 
เจาะบาดาลอ่างทอง 
เจาะบาดาลอุทัยธานี 
เจาะบาดาลจันทบุรี 
เจาะบาดาลฉะเชิงเทรา 
เจาะบาดาลชลบุรี 
เจาะบาดาลตราด 
เจาะบาดาลปราจีนบุรี 
เจาะบาดาลระยอง 
เจาะบาดาลสระแก้ว 
เจาะบาดาลกาญจนบุรี 
เจาะบาดาลตาก 
เจาะบาดาลประจวบคีรีขันธ์ 
เจาะบาดาลเพชรบุรี 
เจาะบาดาลราชบุรี 
เจาะบาดาลกระบี่ 
เจาะบาดาลชุมพร 
เจาะบาดาลตรัง 
เจาะบาดาลนครศรีธรรมราช 
เจาะบาดาลนราธิวาส 
เจาะบาดาลปัตตานี 
เจาะบาดาลพังงา 
เจาะบาดาลพัทลุง 
เจาะบาดาลภูเก็ต 
เจาะบาดาลระนอง 
เจาะบาดาลสตูล 
เจาะบาดาลสงขลา 
เจาะบาดาลสุราษฎร์ธานี 
เจาะบาดาลยะลา 
เจาะบาดาลกรุงเทพมหานคร
 
เจาะบาดาลคลองสาน 
เจาะบาดาลคลองสามวา 
เจาะบาดาลคลองเตย
เจาะบาดาลคันนายาว 
เจาะบาดาลจอมทอง 
เจาะบาดาลดอนเมือง
เจาะบาดาลดินแดง 
เจาะบาดาลดุสิต 
เจาะบาดาลตลิ่งชัน 
เจาะบาดาลทวีวัฒนา
เจาะบาดาลทุ่งครุ 
เจาะบาดาลธนบุรี 
เจาะบาดาลบางกอกน้อย
เจาะบาดาลบางกอกใหญ่ 
เจาะบาดาลบางกะปิ 
เจาะบาดาลบางคอแหลม
เจาะบาดาลบางซื่อ 
เจาะบาดาลบางนา 
เจาะบาดาลบางพลัด 
เจาะบาดาลบางรัก
เจาะบาดาลบางเขน 
เจาะบาดาลบางแค 
เจาะบาดาลบึงกุ่ม 
เจาะบาดาลปทุมวัน
เจาะบาดาลประเวศ 
เจาะบาดาลป้อมปราบศัตรูพ่าย 
เจาะบาดาลพญาไท
เจาะบาดาลพระนคร 
เจาะบาดาลพระโขนง 
เจาะบาดาลภาษีเจริญ 
เจาะบาดาลมีนบุรี
เจาะบาดาลยานนาวา 
เจาะบาดาลราชเทวี 
เจาะบาดาลราษฎร์บูรณะ
เจาะบาดาลลาดกระบัง 
เจาะบาดาลลาดพร้าว 
เจาะบาดาลวังทองหลาง
เจาะบาดาลวัฒนา 
เจาะบาดาลสวนหลวง 
เจาะบาดาลสะพานสูง
เจาะบาดาลสัมพันธวงศ์ 
เจาะบาดาลสาทร 
เจาะบาดาลสายไหม
เจาะบาดาลหนองจอก 
เจาะบาดาลหนองแขม 
เจาะบาดาลหลักสี่ 
เจาะบาดาลห้วยขวาง
เจาะบาดาลเมืองนครปฐม 
เจาะบาดาลกำแพงแสน 
เจาะบาดาลดอนตูม
เจาะบาดาลนครชัยศรี 
เจาะบาดาลบางเลน 
เจาะบาดาลพุทธมณฑล 
เจาะบาดาลสามพราน
เจาะบาดาลเมืองนนทบุรี 
เจาะบาดาลบางกรวย 
เจาะบาดาลบางบัวทอง
เจาะบาดาลบางใหญ่ 
เจาะบาดาลปากเกร็ด 
เจาะบาดาลไทรน้อย
เจาะบาดาลเมืองปทุมธานี 
เจาะบาดาลคลองหลวง 
เจาะบาดาลธัญบุรี
เจาะบาดาลลาดหลุมแก้ว 
เจาะบาดาลลำลูกกา 
เจาะบาดาลสามโคก 
เจาะบาดาลหนองเสือ
เจาะบาดาลเมืองสมุทรปราการ 
เจาะบาดาลบางพลี 
เจาะบาดาลบางเสาธง
เจาะบาดาลพระประแดง
 เจาะบาดาลพระสมุทรเจดีย์
เจาะบาดาลเมืองระยอง
เจาะบาดาลนิคมพัฒนา 
เจาะบาดาลเขาชะเมา
เจาะบาดาลบ้านฉาง 
เจาะบาดาลปลวกแดง 
เจาะบาดาลวังจันทร์ 
เจาะบาดาลแกลง
เจาะบาดาลเมืองชลบุรี 
เจาะบาดาลเกาะจันทร์ 
เจาะบาดาลบางละมุง
เจาะบาดาลบ่อทอง  
เจาะบาดาลบ้านบึง 
เจาะบาดาลพนัสนิคม
เจาะบาดาลพานทอง
เจาะบาดาลศรีราชา 
เจาะบาดาลสัตหีบ 
เจาะบาดาลหนองใหญ่ 
เจาะบาดาลเกาะสีชัง
เจาะบาดาลเมืองสมุทรสาคร 
เจาะบาดาลกระทุ่มแบน 
เจาะบาดาลบ้านแพ้ว 
เจาะบาดาลมหาชัย
เจาะบาดาลเมืองสมุทร
เจาะบาดาลอัมพวา 
เจาะบาดาลบางคนที
เจาะบาดาลเมืองราชบุรี 
เจาะบาดาลบ้านคา 
เจาะบาดาลจอมบึง
เจาะบาดาลดำเนินสะดวก 
เจาะบาดาลบางแพ 
เจาะบาดาลบ้านโป่ง
เจาะบาดาลปากท่อ
เจาะบาดาลวัดเพลง 
เจาะบาดาลสวนผึ้ง 
เจาะบาดาลโพธาราม
เจาะบาดาลเมืองฉะเชิงเทรา 
เจาะบาดาลคลองเขื่อน 
เจาะบาดาลท่าตะเกียบ 
เจาะบาดาลบางคล้า
เจาะบาดาลบางน้ำเปรี้ยว 
เจาะบาดาลบางปะกง 
เจาะบาดาลบ้านโพธิ์
เจาะบาดาลพนมสารคาม
เจาะบาดาลราชสาส์น 
เจาะบาดาลสนามชัยเขต 
เจาะบาดาลแปลงยาว
เจาะบาดาลเมืองนครนายก 
เจาะบาดาลปากพลี 
เจาะบาดาลบ้านนา 
เจาะบาดาลองครักษ์
 
Engine by shopup.com