อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ของใช้จำเป็นสำหรับผู้ป่วย กลับบ้านทั้งทีต้องมีอะไรบ้าง
หมวดหมู่สินค้า: A149 ดูแลผู้ป่วย
26 กุมภาพันธ์ 2565
ผู้ชม 217 ผู้ชม
ดูแลผู้สูงอายุ&ผู้ป่วยพักฟื้น | อบอุ่น ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ
ศูนย์แลผู้สูงอายุผู้ป่วย รับเฝ้าไข้ตามบ้าน โรงพยาบาล ดูแลเด็กตามบ้านและผู้สูงอายุ จัดหาพนักงานดูแลผู้สูงอายุ ดูแลผู้ป่วย แม่บ้าน พี่เลี้ยงเด็ก เจ้าหน้าที่เราผ่านการฝึกอบรม
รับดูแลผู้ป่วยตามบ้าน
รับดูแลคนชราตามบ้าน
รับดูแลคนแก่ตามบ้าน
รับเฝ้าไข้ตามบ้าน
ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุที่ไหนดี
ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุที่ไหนดี
อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ของใช้จำเป็นสำหรับผู้ป่วย กลับบ้านทั้งทีต้องมีอะไรบ้าง
สำหรับผู้ป่วยบางราย เมื่อมีอาการดีขึ้นเเล้ว แพทย์อาจจะอนุญาติให้กลับมารักษาที่บ้าน ซึ่งนอกจากจำเป็นจะต้องมีผู้ดูแลแล้ว อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน หรือของใช้จำเป็นที่ผู้ป่วยควรมีก็สำคัญไม่แพ้กัน เพราะนอกจากจะช่วยในการรักษาแล้ว ยังช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิตของผู้ป่วย และแบ่งเบาภาระให้กับผู้ดูแลอีกด้วย
อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ของใช้จำเป็นสำหรับผู้ป่วย ควรมีอะไรบ้าง?
- ห้องนอน
- ห้องน้ำ
- อื่น ๆ
ก่อนออกจากโรงพยาบาลมาพักฟื้นที่บ้าน ควรเตรียมตัวอย่างไรบ้าง?
หลายคนอาจเข้าใจว่า การพาผู้ป่วยกลับมารักษาตัวที่บ้าน จะสามารถทำได้เลยทันที แต่จริง ๆ แล้ว ผู้ดูแลจำเป็นที่จะต้องพิจารณาถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการรักษา และการใช้ชีวิตของผู้ป่วย เพราะเนื่องจากอาการป่วยที่เป็นอยู่ จึงทำให้ไม่สามารถใช้ชีวิตได้เสรีเหมือนกับคนทั่วไป ดังนั้น ก่อนที่ผู้ป่วยจะออกจากโรงพยาบาลมารักษาตัวที่บ้าน ผู้ดูแลควรพิจารณาและเตรียมตัว ดังนี้ค่ะ
ปรึกษาแพทย์ถึงอาการของผู้ป่วย ว่าควรมีแนวทางในการดูแลประคับประคองอาการอย่างไรบ้าง และควรปฏิบัติตามคำสั่งแพทย์อย่างเคร่งครัด
วางแผนถึงการดูแลผู้ป่วยล่วงหน้า เช่น กลับบ้านไปมีผู้ดูแลหรือไม่? ต้องจ้างคนดูแลหรือเปล่า? ต้องกายภาพบำบัดไหม?
พิจารณาและจัดเตรียม อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ว่าควรมีอะไรบ้าง? หาซื้อที่ไหน? ค่าใช้จ่ายเท่าไหร่?
ประเมินสิ่งแวดล้อมภายในบ้าน และจัดเตรียมสถานที่ให้เหมาะสมกับการใช้ชีวิตของผู้ป่วย
การแบ่งประเภทผู้ป่วยพักฟื้นที่บ้าน
แม้ผู้ป่วยจะได้รับคำแนะนำให้กลับมารักษาตัวที่บ้านจากแพทย์เหมือนกัน แต่ไม่ได้แปลว่ามีอาการเหมือนกันทุกคนนะคะ สาเหตุที่แพทย์ให้กลับก็แตกต่างกันออกไป เช่น อาการคงที่ อาการอาจไม่ดีขึ้นแล้ว หรืออาการรุนแรงจนไม่สามารถรักษาให้หายได้แล้ว บทความนี้จะแบ่งประเภทของผู้ป่วย ตามลักษณะอาการและความสามารถในการช่วยเหลือตนเองของผู้ป่วย ออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้
ระดับที่ 1 สีเขียว : ผู้ป่วยระดับนี้ สามารถรู้สึกตัวได้ดี หรืออาจมีการตอบสนองช้าบ้างเป็นบางครั้ง โดยส่วนใหญ่สามารถดูแลตนเองได้ ต้องการความช่วยเหลือบ้างในบางกิจกรรม เช่น สามารถอาบน้ำได้เอง แต่อาจต้องการให้เตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ ไว้ให้ หรือในบางรายอาจ ต้องการให้ทำความสะอาดในส่วนที่ไม่ถนัดให้ ผู้ดูแลต้องคอยช่วยเหลือในเรื่องของการกินยาให้ครบถ้วน และคอยสังเกตอาการของผู้ป่วยบ้าง ซึ่งผู้ป่วยในระดับนี้ จะเข้าใจและยอมรับถึงอาการเจ็บป่วยของตน และให้ความร่วมมือในการรักษา
ระดับที่ 2 สีเหลือง : เป็นผู้ป่วยที่ต้องการความช่วยเหลือระดับปานกลาง รู้สึกตัว แต่มีอาการซึม มึนงง ตอบคำถามถูกบ้างผิดบ้าง เคลื่อนไหวร่างกายได้น้อย ผู้ดูแลต้องคอยป้อนอาหารให้ สามารถขับถ่ายเองบนเตียงได้ แต่ต้องทำความสะอาดให้ นอกจากนี้ ผู้ป่วยจะมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นได้บ่อย เช่น หอบ เหนื่อย ผู้ดูแลต้องคอยดูแลเรื่องของยา โดยเฉพาะยาที่ผู้ป่วยไม่สามารถกินได้เอง เช่น ยาพ่น และต้องคอยสังเกตอาการหลังได้รับยาด้วย
ระดับที่ 3 สีส้ม : ในระดับนี้ ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือทั้งหมด เนื่องจากเคลื่อนไหวร่างกายได้น้อยมาก แต่สามารถพลิกตัวเองได้ ขับถ่ายได้เองโดยไม่ต้องสวน ผู้ดูแลต้องระมัดระวังในเรื่องของการสำลักขณะป้อนอาหาร รู้สึกตัว ลืมตาได้เอง แต่ตอบคำถามหรือทำตามคำสั่งไม่ได้ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าไม่ถูก มักมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นบ่อยครั้ง แต่ยังสามารถควบคุมอาการได้ จึงต้องคอยสังเกตอาการทุก 2 – 4 ชั่วโมง ผู้ป่วยในระดับนี้ มักจะเกิดความกังวล ซึมเศร้า มีแนวโน้มทำร้ายตนเอง และคนรอบข้าง มักต่อต้านการรักษา จำเป็นต้องดูแลอย่างใกล้ชิด
ระดับที่ 4 สีแดง : ผู้ป่วยในระดับนี้ ต้องการความช่วยเหลือโดยสมบูรณ์ ไม่รู้สึกตัวและไม่ตอบสนอง ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้เลย ต้องให้อาหารทางสาย ขับถ่ายเองไม่ได้ ต้องสวนหรือใช้ยาระบายทุกครั้ง มักเกิดอาการผิดปกติเกือบตลอดเวลา เช่น หยุดหายใจ ผู้ดูแลจึงต้องเฝ้าสังเกตอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะอาการทั้งก่อนและหลังให้ยารักษา
อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ของใช้จำเป็นสำหรับผู้ป่วย ควรมีอะไรบ้าง?
ก่อนที่จะตัดสินใจเลือกซื้ออุปกรณ์ดูแลผู้ป่วย เราควรพิจารณาก่อนนะคะ ว่าผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองได้ดีแค่ไหน จัดอยู่ในระดับใด เพื่อที่จะได้เลือกซื้ออุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม และตอบโจทย์ต่อการใช้งานมากที่สุด จากนั้นก็มาพิจารณาถึงแต่ละบริเวณที่ผู้ป่วยจำเป็นต้องใช้งานค่ะ
1.ห้องนอน เป็นบริเวณที่ผู้ป่วยใช้งานมากที่สุด ผู้ป่วยบางประเภทใช้ห้องนอนเป็นทั้งที่พักผ่อน กินข้าว ขับถ่าย อาบน้ำ เพราะฉะนั้นห้องนอน จึงถือเป็นบริเวณหนึ่งที่สำคัญสำหรับผู้ป่วย
เตียงนอน
ป็นอุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยที่ควรให้ความสำคัญที่สุด เพราะผู้ป่วยมักใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่บนเตียงนอน ควรเลือกเตียงนอนที่มีความกว้างไม่เกิน 3 – 3.5 ฟุต มีราวข้างเตียง เพื่อกันผู้ป่วยพลัดตก และสามารถปรับระดับหรือท่าทางได้ เพื่อให้เหมาะสมกับการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของผู้ป่วย เช่น กินข้าว อาบน้ำ นอนหลับ มีทั้งแบบมือหมุน และแบบไฟฟ้า
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยทุกระดับ
ที่นอนป้องกันแผลกดทับ
ป็นอุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยที่ควรให้ความสำคัญที่สุด เพราะผู้ป่วยมักใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่บนเตียงนอน ควรเลือกเตียงนอนที่มีความกว้างไม่เกิน 3 – 3.5 ฟุต มีราวข้างเตียง เพื่อกันผู้ป่วยพลัดตก และสามารถปรับระดับหรือท่าทางได้ เพื่อให้เหมาะสมกับการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของผู้ป่วย เช่น กินข้าว อาบน้ำ นอนหลับ มีทั้งแบบมือหมุน และแบบไฟฟ้า
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยทุกระดับ
ที่นอนป้องกันแผลกดทับ
ปัญหาผู้ป่วยปัสสาวะหรืออุจจาระรดที่นอน เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้บ่อย การใช้ผ้ารองกันเปื้อนกับผู้ป่วยจะช่วยป้องกันของเหลวเหล่านั้น ไม่ให้ซึมเข้าสู่ที่นอน ช่วยลดการเกิดแผลกดทับจากความอับชื้นได้
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยทุกระดับ
โต๊ะคร่อมเตียง
สำหรับผู้ป่วยที่ต้องทำกิจกรรมส่วนใหญ่บนเตียง โต๊ะคร่อมเตียง จะช่วยอำนวยความสะดวกให้กับผู้ป่วยบนเตียง เช่น เวลาทานอาหาร อ่านหนังสือ และช่วยให้ผู้ดูแลใช้วางสิ่งของต่าง ๆ ขณะดูแลผู้ป่วย สะดวกต่อการหยิบใช้งาน
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยทุกระดับ
ผ้ายกตัวผู้ป่วย
สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายลงจากเตียงได้เอง ผู้ดูแลจึงต้องเข้ามาช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย แต่การจับตัวผู้ป่วยแล้วเคลื่อนย้าย อาจเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุหรือสร้างความเจ็บปวดให้กับผู้ป่วยได้ จึงจำเป็นต้องใช้ผ้ายกตัวผู้ป่วย สำหรับเคลื่อนย้ายผู้ป่วยลงจากเตียงไปยังอีกบริเวณหนึ่ง เช่น จากเตียงไปยังวีลแชร์
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีแดง สีส้ม สีเหลือง
อ่างสระผมบนเตียง
การที่ป่วยไม่สามารถลุกไปอาบน้ำในห้องน้ำได้ ทำให้ต้องทำความสะอาดร่างกายบนเตียงนอน ซึ่งการสระผมเป็นวิธีการทำความสะอาดร่างกายที่ลำบาก เนื่องจากต้องคอยระวังน้ำหกหรือเปียกเลอะที่นอน หากมีอ่างสระผมจะช่วยให้การสระผมบนเตียงของผู้ป่วยง่ายขึ้น สะดวกสบายกับผู้ดูแล
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีแดง สีส้ม สีเหลือง
กระเป๋าน้ำร้อน
การที่ป่วยไม่สามารถลุกไปอาบน้ำในห้องน้ำได้ ทำให้ต้องทำความสะอาดร่างกายบนเตียงนอน ซึ่งการสระผมเป็นวิธีการทำความสะอาดร่างกายที่ลำบาก เนื่องจากต้องคอยระวังน้ำหกหรือเปียกเลอะที่นอน หากมีอ่างสระผมจะช่วยให้การสระผมบนเตียงของผู้ป่วยง่ายขึ้น สะดวกสบายกับผู้ดูแล
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีแดง สีส้ม สีเหลือง
กระเป๋าน้ำร้อน
สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการดิ้น ชอบแกะเกาบริเวณที่มีแผล มักดึงสายน้ำเกลือออกบ่อย ๆ มีภาวะเกร็งข้อมือ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีถุงมือกันผู้ป่วยดึงสาย เพื่อลดความเสี่ยงผู้ป่วยบาดเจ็บจากปัญหาเหล่านี้
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีส้ม สีเหลือง สีเขียว (โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องด้านการรับรู้หรือมีอาการอัลไซเมอร์)
เข็มขัดพยุงตัวผู้ป่วย
นื่องจากร่างกายที่ไม่แข็งแรง ส่งผลให้ผู้ป่วยสูญเสียการทรงตัว จนอาจเกิดอุบัติเหตุได้ เช่น ขณะลงจากเตียงไปยังห้องน้ำ เข็มขัดพยุงตัวจะช่วยให้ผู้ดูแลพยุงตัวผู้ป่วยได้ดียิ่งขึ้น โดยเฉาะผู้ป่วยที่กำลังฝึกเดิน
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีเขียว
2.ห้องน้ำ เป็นอีกหนึ่งบริเวณที่ผู้ป่วยบางรายใช้งานบ่อย ทั้งขับถ่ายและทำความสะอาดร่างกาย แต่ห้องน้ำกลับเป็นบริเวณที่ง่ายต่อการเกิดอุบัติเหตุกับผู้ป่วยมากที่สุด ผู้ดูแลจึงจำเป็นจะต้องดูแลเป็นพิเศษ
เก้าอี้อาบน้ำ – นั่งถ่าย
เก้าอี้อาบน้ำและนั่งถ่าย จะช่วยลดอุบัติเหตุในการเข้าห้องน้ำของผู้ป่วย สามารถขับถ่ายและอาบน้ำได้บนเก้าอี้ ป้องกันการลื่นหกล้มได้
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีส้ม สีเหลือง สีเขียว
แผ่นยางกันลื่น
เนื่องจากพื้นห้องน้ำที่มีความเปียกและลื่นตลอดเวลา จึงส่งผลให้เกิดความอันตรายกับผู้ป่วย เนื่องจากการทรงตัวไม่ได้ และความไม่แข็งแรงของร่างกาย แผ่นยางกันลื่น จะช่วยลดความเสี่ยงในการลื่นล้มของผู้ป่วยได้ แต่อย่างไรผู้ดูแล ก็จำเป็นที่จะต้องคอยสังเกตและเฝ้าระวังอยู่ตลอด
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีเขียว
3.อุปกรณ์อื่น ๆ สามารถใช้ได้กับทุกบริเวณ ทั้งในบ้านและนอกบ้าน หรือเป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ผู้ป่วยบางรายต้องใช้
ชุดผู้ป่วย
ควรเป็นชุดที่มีความเบาสบาย ไม่หนาหรือบางจนเกินไป ไม่ควรรัดตัวผู้ป่วย ควรเลือกเสื้อที่มีกระดุมหรือผูกด้านหน้า เพื่อให้ง่ายต่อการถอด-ใส่ เมื่อทำความสะอาดร่างกายผู้ป่วย
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยทุกระดับ
เครื่องวัดความดันโลหิต
แม้จะกลับมารักษาตัวที่บ้าน ผู้ป่วยก็ยังคงต้องตรวจวัดความดันโลหิตทุกวัน เพื่อคอยเฝ้าระวังภาวะผิดปกติ เพราะหากเกิดความผิดปกติใดขึ้นมา จะได้ปรึกษาแพทย์ได้อย่างทันท่วงที
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยทุกระดับ
เครื่องวัดระดับน้ำตาลในเลือด
เหมาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวอย่างเบาหวาน เพื่อคอยตรวจเช็กค่าระดับน้ำตาล แต่ถึงแม้ผู้ป่วยจะไม่ได้ป่วยเป็นเบาหวาน ก็ควรตรวจเช็กเช่นกัน เพราะอาจเป็นโรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นได้
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยทุกระดับ
เครื่องวัดอุณหภูมิ
อุณหภูมิร่างกายที่ผิดปกติ ก็เป็นสัญญาณเตือนถึงโรคที่อาจจะกำลังเกิดขึ้นกับผู้ป่วย จึงต้องหมั่นตรวจเช็กอุณหภูมิของผู้ป่วยอยู่เสมอ หากมีความผิดปกติ ควรรีบปรึกษาแพทย์ทันที
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยทุกระดับ
ถุงให้อาหารทางสายยาง
สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถทานอาหารเองได้ จำเป็นจะต้องมีถุงให้อาหารทางสายยาง ซึ่งแพทย์จะใส่สายยางทางจมูกหรือเจาะใส่สายยางผ่านทางหน้าท้อง ซึ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย ดังนั้น ควรปรึกษาและปฏิบัติตามคำสั่งแพทย์อย่างเคร่งครัด
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีแดง (หรือผู้ป่วยที่แพทย์มีคำสั่งให้ใช้)
เครื่องดูดเสมหะ
เนื่องจากผู้ป่วยบางราย ไม่สามารถไอขับเสมหะออกเองได้ จึงต้องใช้สายยางดูดเสมหะ ผ่านเข้าทางปาก จมูก หรืออุปกรณ์ที่ใส่เข้าไปในหลอดลม เพื่อนำเสมหะออกจากทางเดินหายใจ เพื่อให้ผู้ป่วยหายใจสะดวก ในโรงพยาบาลอาจจะมีเครื่องดูดเสมหะชนิดติดฝาผนัง แต่สำหรับผู้ป่วยที่พักฟื้นที่บ้าน จะเป็นเครื่องดูดเสมหะแบบพกพา อย่างไรก็ตาม ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้งานกับผู้ป่วย
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีแดง (หรือผู้ป่วยที่แพทย์มีคำสั่งให้ใช้)
เสาน้ำเกลือ
ผู้ป่วยบางรายมีความจำเป็นจะต้องให้น้ำเกลือผ่านทางเส้นเลือด เพื่อทดแทนสารน้ำที่จำเป็นและสารโซเดียมคลอไรด์ เนื่องมาจากผู้ป่วยมีภาวะร่างกายขาดน้ำและเกลือแร่จากอาการป่วย โดยแพทย์จะเจาะเส้นเลือดของผู้ป่วย แล้วให้น้ำเกลือเข้าสู่ร่างกายในปริมาณที่เหมาะสม
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีแดง (หรือผู้ป่วยที่แพทย์มีคำสั่งให้ใช้)
ถังออกซิเจน
ผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจลำบากหรือไม่สามารถหายใจได้เอง แพทย์จะให้ออกซิเจน เพื่อช่วยในการหายใจ ซึ่งการดูแลผู้ป่วยที่ต้องการออกซิเจน ผู้ดูแลต้องมีความรู้ความเข้าใจในสภาพของผู้ป่วย และสามารถใช้อุปกรณ์การให้ออกซิเจนได้อย่างถูกวิธี
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีแดง (หรือผู้ป่วยที่แพทย์มีคำสั่งให้ใช้)
ผ้าอ้อมผู้ใหญ่ (แพมเพิร์ส)
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถลุกไปเข้าห้องน้ำ หรือนั่งกระโถนได้ จำเป็นจะต้องใช้แพมเพิร์ส เพื่อขับถ่ายบนเตียงแทน
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีแดง สีส้ม สีเหลือง
รถเข็นผู้ป่วยวีลแชร์
สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถทรงตัวได้ เดินไม่คล่อง หรือไม่สามารถเดินได้เลย รถเข็นผู้ป่วย จะช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปยังบริเวณต่าง ๆ ใช้ได้ทั้งในบ้านและนอกบ้าน ผู้ป่วยบางรายสามารถใช้รถเข็นวีลแชร์ได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ดูแล
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีส้ม สีเหลือง สีเขียว
กระบอกปัสสาวะ / กระโถน
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถลุกไปเข้าห้องน้ำได้ อาจจะใช้กระบอกปัสสาวะหรือกระโถนในการขับถ่าย
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีส้ม สีเหลือง
อุปกรณ์บริหารปอด
การที่ผู้ป่วยต้องนอนอยู่บนเตียงนาน ๆ ไม่สามารถออกกำลังกายได้ อาจส่งผลให้ปอดแฟบ อุปกรณ์บริหารปอด เป็นเครื่องมือกายภาพหนึ่งที่จะช่วยทำให้ปอดของผู้ป่วยแข็งแรง โดยไม่ต้องออกกำลังกาย
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีส้ม สีเหลือง สีเขียว
กล่องใส่ยา
เมื่อผู้ป่วยกลับมาพักฟื้นที่บ้าน สิ่งที่จะได้กลับมาด้วยก็คือยารักษา ที่แพทย์จะจ่ายให้ตามอาการ ซึ่งในแต่ละวันหรือแต่ละมื้อ ก็มีประเภทและปริมาณยาที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งหากกินยาผิดประเภทอาจส่งผลเสียกับผู้ป่วยได้ เพื่อป้องกันการกินยาผิดพลาด ควรมีกล่องใส่ยา เพื่อแยกประเภทของยาที่ต้องกินในแต่ละวัน
เหมาะสำหรับ :ผู้ป่วยระดับสีส้ม สีเหลือง สีเขียว
กล่องตัดยา
สำหรับผู้ป่วยที่แพทย์มีคำสั่งในกินยาในประมาณครึ่งเม็ดหรือ 1/4 เม็ด อาจสร้างความลำบากให้กับผู้ป่วยหรือผู้ดูแลเอง อีกทั้งยังอันตรายขณะใช้มีดตัดยาด้วย จึงแนะนำให้ใช้กล่องตัดยา เพื่อช่วยให้การแบ่งเม็ดยามีความแม่นยำและปลอดภัยมากขึ้น
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีส้ม สีเหลือง สีเขียว
อุปกรณ์ช่วยเดิน
สำหรับผู้ป่วยที่สามารถเดินได้เองหรือต้องกายภาพบำบัดการเดิน จำเป็นที่จะต้องมีอุปกรณ์ช่วยเดิน เพื่อช่วยในการทรงตัว ป้องกันการล้มที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เช่น ไม้เท้า วอล์คเกอร์ เลือกใช้ตามความสามารถของผู้ป่วย
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีเขียว
ราวจับ
ราวจับจะช่วยให้ผู้ป่วย สามารถพยุงตัว ป้องกันการลื่นหรือหกล้มได้ ควรติดในบริเวณที่ผู้ป่วยใช้บ่อย เช่น ห้องนอน ห้องน้ำ ทางเดิน
เหมาะสำหรับ : ผู้ป่วยระดับสีเขียว
สรุป
สำหรับผู้ป่วยที่กลับมาพักฟื้นที่บ้าน จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีอุปกรณ์ไว้ช่วยเหลือผู้ป่วย เพื่อให้การใช้ชีวิตที่บ้านของผู้ป่วย เป็นไปได้อย่างราบรื่น ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้อาจตามมาซึ่งค่าใช้จ่ายมากมาย สิ่งที่ดีที่สุด คือการดูแลรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง แม้จะยังไม่เจ็บป่วย เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงปัญหาเหล่านี้นะคะ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเชียงราย
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเชียงใหม่
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านน่าน
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพะเยา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านแพร่
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านแม่ฮ่องสอน
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านลำปาง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านลำพูน
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านอุตรดิตถ์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านกาฬสินธุ์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านขอนแก่น
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านชัยภูมิ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านนครพนม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านนครราชสีมา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบึงกาฬ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบุรีรัมย์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านมหาสารคาม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านมุกดาหาร
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านยโสธร
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านร้อยเอ็ด
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเลย
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสกลนคร
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสุรินทร์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านศรีสะเกษ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านหนองคาย
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านหนองบัวลำภู
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านอุดรธานี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านอุบลราชธานี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านอำนาจเจริญ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านกำแพงเพชร
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านชัยนาท
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านนครนายก
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านนครปฐม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านนครสวรรค์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านนนทบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านปทุมธานี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพระนครศรีอยุธยา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพิจิตร
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพิษณุโลก
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเพชรบูรณ์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านลพบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสมุทรปราการ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสมุทรสงคราม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสมุทรสาคร
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสิงห์บุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสุโขทัย
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสุพรรณบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสระบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านอ่างทอง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านอุทัยธานี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านจันทบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านฉะเชิงเทรา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านชลบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านตราด
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านปราจีนบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านระยอง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสระแก้ว
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านกาญจนบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านตาก
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านประจวบคีรีขันธ์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเพชรบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านราชบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านกระบี่
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านชุมพร
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านตรัง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านนครศรีธรรมราช
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านนราธิวาส
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านปัตตานี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพังงา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพัทลุง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านภูเก็ต
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านระนอง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสตูล
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสงขลา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสุราษฎร์ธานี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านยะลา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านกรุงเทพมหานคร
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านคลองสาน
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านคลองสามวา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านคลองเตย
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านคันนายาว
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านจอมทอง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านดอนเมือง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านดินแดง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านดุสิต
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านตลิ่งชัน
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านทวีวัฒนา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านทุ่งครุ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านธนบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางกอกน้อย
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางกอกใหญ่
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางกะปิ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางคอแหลม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางซื่อ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางนา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางพลัด
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางรัก
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางเขน
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางแค
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบึงกุ่ม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านปทุมวัน
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านประเวศ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านป้อมปราบศัตรูพ่าย
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพญาไท
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพระนคร
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพระโขนง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านภาษีเจริญ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านมีนบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านยานนาวา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านราชเทวี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านราษฎร์บูรณะ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านลาดกระบัง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านลาดพร้าว
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านวังทองหลาง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านวัฒนา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสวนหลวง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสะพานสูง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสัมพันธวงศ์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสาทร
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสายไหม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านหนองจอก
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านหนองแขม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านหลักสี่
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านห้วยขวาง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเมืองนครปฐม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านกำแพงแสน
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านดอนตูม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านนครชัยศรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางเลน
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพุทธมณฑล
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสามพราน
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเมืองนนทบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางกรวย
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางบัวทอง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางใหญ่
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านปากเกร็ด
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านไทรน้อย
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเมืองปทุมธานี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านคลองหลวง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านธัญบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านลาดหลุมแก้ว
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านลำลูกกา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสามโคก
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านหนองเสือ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเมืองสมุทรปราการ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางพลี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางเสาธง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพระประแดง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพระสมุทรเจดีย์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเมืองระยอง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านนิคมพัฒนา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเขาชะเมา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบ้านฉาง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านปลวกแดง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านวังจันทร์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านแกลง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเมืองชลบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเกาะจันทร์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางละมุง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบ่อทอง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบ้านบึง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพนัสนิคม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพานทอง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านศรีราชา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสัตหีบ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านหนองใหญ่
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเกาะสีชัง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเมืองสมุทรสาคร
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านกระทุ่มแบน
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบ้านแพ้ว
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านมหาชัย
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเมืองสมุทร
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านอัมพวา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางคนที
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเมืองราชบุรี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบ้านคา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านจอมบึง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านดำเนินสะดวก
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางแพ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบ้านโป่ง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านปากท่อ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านวัดเพลง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสวนผึ้ง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านโพธาราม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเมืองฉะเชิงเทรา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านคลองเขื่อน
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านท่าตะเกียบ
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางคล้า
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางน้ำเปรี้ยว
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบางปะกง
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบ้านโพธิ์
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านพนมสารคาม
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านราชสาส์น
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านสนามชัยเขต
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านแปลงยาว
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านเมืองนครนายก
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านปากพลี
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านบ้านนา
ดูแลผู้ป่วยตามบ้านองครักษ์