ฟิล์มกันรอยมีกี่แบบ แต่ละแบบต่างกันอย่างไร และเหมาะกับการใช้งานแบบไหน
หมวดหมู่สินค้า: A112 ฟิล์มกระจก
25 กุมภาพันธ์ 2565
ผู้ชม 214 ผู้ชม
ติดฟิล์มกระจก
ฟิล์มติดกระจกบ้าน
ฟิล์มติดกระจก
ฟิล์มกรองแสงอาคาร
ฟิล์มอาคาร
ฟิล์มติดกระจกบ้าน
ติดฟิล์มอาคาร
ฟิล์มกันรอยมีกี่แบบ แต่ละแบบต่างกันอย่างไร และเหมาะกับการใช้งานแบบไหน?
หลังจากที่ได้สมาร์ทโฟนสุดรักมาไว้ในครอบครองแล้ว แน่นอนว่านอกจากการใช้งานในแต่ละวันแล้ว ยังต้องมีการปกป้องดูแลตัวเครื่องเพื่อให้สมาร์ทโฟนของเรานี้มีสภาพดังเช่นเครื่องใหม่ให้นานที่สุด และการติดฟิล์มกันรอยก็เป็นวิธีหนึ่งที่สามารถลดรอยขีดข่วนของตัวเครื่อง และหน้าจอได้เป็นอย่างดี ซึ่งฟิล์มกันรอยในปัจจุบันก็มีให้เลือกหลากหลายรูปแบบเสียจนหลายคนเกิดปัญหาว่าฟิล์มกันรอยแบบไหนมันดีกว่ากัน ? ฟิล์มกันรอยแบบไหนกันรอยได้ดีกว่า ? ฟิล์มกันรอยแบบไหนเหมาะสมกับการใช้งานของผู้ใช้ที่สุด ? ซึ่งปัญหาเหล่านี้ก็ได้สร้างความข้องใจให้กับผู้ใช้หลายคน แต่ก็ไม่ต้องกังวลไปเพราะวันนี้เว็บไซต์ thaimobilecenter.com ของเรา จะพาไปรู้จักกับฟิล์มกันรอยแบบต่างๆ เพื่อเป็นตัวช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อฟิล์มกันรอยให้กับทุกท่านกัน
ก่อนจะไปดูประเภทต่างๆ ของฟิล์มกันรอย ต้องกล่าวก่อนว่า “ฟิล์มกันรอย” ในที่นี้ มักจะถูกใช้เรียกรวมสิ่งที่นำมาปกป้องหน้าจอสมาร์ทโฟน ซึ่งในความเป็นจริงแล้วไม่ได้มีเพียงฟิล์ม แต่ยังมีกระจกนิรภัย ด้วยเช่นกัน
- สำหรับฟิล์มกันรอย จะมีลักษณะเป็นแผ่นบาง ป้องกันหน้าจอได้ด้วยการเคลือบฟิล์มแข็งบาง ซึ่งสามารถแนบสนิทไปกับหน้าจอ และไม่บดบังการแสดงผล และมีราคาถูก
- ส่วนกระจกนิรภัย จะมีความหนา พร้อมกับคุณสมบัติการป้องกันที่ดีกว่าแบบฟิล์ม รวมถึงราคาที่สูงกว่าแบบฟิล์มเล็กน้อย
ฟิล์มกันรอยแบบใส (Clear Screen Protector)
เป็นฟิล์มกันรอยที่หาซื้อหาใช้ได้ง่าย โดยมีการวางจำหน่ายอย่างแพร่หลาย พร้อมคุณสมบัติที่ไม่ส่งผลต่อการแสดงผล หรือสีสันของหน้าจอมากนักจนเรียกได้ว่า เหมือนไม่ติดฟิล์มกันรอยเลยทีเดียว โดยฟิล์มกันรอยแบบใสนี้จะมีให้เลือกหลายระดับทั้ง Ultra Clear หรือ Invisible Screen Protector ซึ่งมีจุดเด่นที่ไม่ทำให้การแสดงผลของหน้าจอประสิทธิภาพลดลงมากนัก ยังคงความสดใสของหน้าจอไว้ดังเดิม แต่จะมีข้อเสียตรงที่เกิดรอยนิ้วมือได้ค่อนข้างง่ายเมื่อใช้งาน
ฟิล์มกันรอยแบบด้าน (Matte Screen Protector)
เป็นฟิล์มกันรอยอีกแบบที่ได้รับความนิยมไม่น้อย ด้วยจุดเด่นอย่างการลดการเกิดรอยนิ้วมือขณะใช้งาน และยังลดแสงจากหน้าจอ ช่วยถนอมสายตาได้ในระดับหนึ่ง รวมถึงลดการสะท้อนจากแสงรอบๆ ด้วยเช่นกัน แต่สำหรับคนที่ชอบหน้าจอสีสดใสจากหน้าจอ ฟิล์มกันรอยแบบนี้อาจไม่ตอบโจทย์มากเท่าที่ควร
ฟิล์มกันรอยแบบเพิ่มความเป็นส่วนตัว (Privacy Screen Protector)
สำหรับผู้ใช้ที่ให้ความสำคัญด้านความเป็นส่วนตัวมากเป็นพิเศษ และต้องใช้สมาร์ทโฟนท่ามกลางฝูงชนมากมายที่อาจจะถือวิสาสะมองจอเราขณะที่เรากำลังใช้สมาร์ทโฟนอยู่ ฟิล์มลักษณะนี้ก็ถือว่าตอบโจทย์อยู่ไม่น้อย โดยฟิล์มชนิดมีคุณสมบัติที่ทำให้สามารถมองเห็นหน้าจอสมาร์ทโฟนได้เฉพาะมุมด้านหน้าตรงๆ เท่านั้น หากมองจากมุมอื่นจะมองเห็นเป็นแค่จอมืดๆ แต่ก็มีข้อเสียคือ เราอาจจะแชร์ความสุขด้วยการดูคลิปวีดีโอ หรือรูปภาพต่างๆ พร้อมกับเพื่อนหลายๆ คนไม่ได้ เพราะจะมีแค่คนที่อยู่ตรงหน้าจอเท่านั้นที่มองเห็น
ฟิล์มน้ำ หรือฟิล์มไฮโดรเจล (Hydrogel Film)
ฟิล์มกันรอยรูปแบบใหม่ที่มีจุดเด่นเป็นความบางเฉียบ จนกล่าวได้ว่าเหมือนไม่ได้ติดฟิล์มใดๆ อีกทั้งยังไม่บดบังความคมชัด หรือสีสันของหน้าจอ และยังสามารถสัมผัสใช้งานได้ตามปกติ ที่คล้ายกับอัปเกรดมาจาดฟิล์มใสปกติ ที่มีพร้อมความแข็งแรง ทนทานใกล้เคียงกับแบบกระจก โดยสามารถรับแรงกระแทกได้ในระดับหนึ่ง อีกทั้งยังติดใช้งานได้ไม่ยาก พร้อมไม่ทิ้งฟองอากาศ หรือคราบกาว ซึ่งมีให้เลือกใช้งานทั้งแบบใส และแบบด้านอีกด้วย เรียกได้ว่าตอบโจทย์การใช้งานในหลากหลายรูปแบบเลยทีเดียว
ฟิล์มกันรอยแบบกันกระแทก (Anti-Shock Screen Protector)
ปัญหาหนักอกหนักใจที่บรรดาผู้ใช้สมาร์ทโฟน หรือแท็บเล็ต ต้องเจอกันอยู่เป็นประจำก็คือการทำเครื่องหล่น หรือเกิดกระแทกกับของบางอย่างแล้วหน้าจอแตก ซึ่งทำให้ลำบากต้องเสียเงินไปเปลี่ยนหน้าจอกันหลายพันบาท ดังนั้นบรรดาผู้ผลิตฟิล์มกันรอยชั้นนำจึงพร้อมใจกันพัฒนาฟิล์มกันรอยแบบกันกระแทก (Anti-Shock) ออกมาโดยเฉพาะ ซึ่งจุดเด่นของฟิล์มกันกระแทกแบบนี้ แน่นอนว่าตัวฟิล์มจะมีความทนทานต่อแรงตกกระแทกของวัตถุที่กระทบกับหน้าจอ รวมไปถึงการป้องกันรอยขีดข่วนที่อาจเกิดขึ้นจากการพกพาของผู้ใช้ อีกทั้งแผ่นฟิล์มยังมีความแข็งแรงทนทานกว่าฟิล์มแบบทั่วๆ ไปหลายเท่าเลยทีเดียว
และเท่าที่มีการทดสอบกันมาก็พบว่า แผ่นฟิล์มชนิดนี้สามารถป้องกันหน้าจอแตกได้จริง เนื่องจากตัวของแผ่นฟิล์มเองจะประกอบไปด้วยชั้นย่อยหลายชั้นที่มีคุณสมบัติแตกต่างกัน ตั้งแต่ชั้นฟิล์มกันรอยนิ้วมือ, ชั้นฟิล์มกันรอยขีดข่วน และชั้นฟิล์มกันแรงกระแทก ซึ่งชั้นฟิล์มกันกระแทกนี้เองจะผลิตจากกระจกที่สามารถช่วยดูดซับแรง หรือกระจายแรงกระแทกแทนหน้าจอจริงๆ ได้ ซึ่งในปัจจุบันนี้แบรนด์ผู้ผลิตฟิล์มกันรอยชั้นนำหลายๆ แบรนด์ต่างก็มีฟิล์มกันกระแทกชนิดนี้ติดตั้งให้ผู้ใช้อย่างหลากหลาย และมีการพัฒนาให้ตัวฟิล์มเหมาะสมกับการใช้งานโดยทั่วไปแบบครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ความบางของฟิล์มในระดับ 0.xx มิลลิเมตร, การป้องกันรอยนิ้วมือ หรือการป้องกันการเกาะตัวของหยดน้ำ เป็นต้น และด้วยคุณสมบัติทั้งหมดนี้ก็ส่งผลให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่มักเลือกติดตั้งฟิล์มกันรอยแบบกันกระแทก (Anti-Shock) ที่มีคุณสมบัติครอบคลุมไว้เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นกับสมาร์ทโฟนเครื่องสำคัญของเราได้ทุกเมื่อนั่นเอง
กระจกกันรอย (Tempered Glass)
กระจกนิรภัยสำหรับปกป้องหน้าจอ กับจุดเด่นที่ความแข็งแรงทนทานกว่าแบบฟิล์ม พร้อมช่วยลดการแตกร้าวหน้าจอเมื่อตกพื้นได้ดีกว่า และแม้ความหนาของกระจกจะมากกว่าแบบฟิล์ม แต่ก็ไม่เป็นอุปสรรคต่อการใช้งาน โดยผู้ใช้ยังสามารถสัมผัสหน้าจอในตำแหน่งต่างๆ ได้ทั่วจอเช่นเดิม พร้อมคงความคมชัด และสีสันสดใสไว้ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ต้องเลือกที่มีการการันตีคุณภาพความแข็งแรงในระดับ 9H จึงจะมั่นใจได้ว่าช่วยปกป้องหน้าจอสมาร์ทโฟนของเราได้จริง
สำหรับกระจกกันรอยในปัจจุบันมีตัวเลือกให้ใช้อย่างหลากหลาย ตอบโจทย์สมาร์ทโฟนที่มีการดีไซน์ใหม่ อย่างเช่น กระจกกันรอยเต็มหน้าจอ และกระจกกันรอยเต็มหน้าจอแบบลงโค้งสำหรับสมาร์ทโฟยจอขอบโค้งโดยเฉพาะ
หมายเหตุ : สำหรับตัวเลข 9H มาจากการทดสอบ Pencil Hardness Test ตามมาตรฐาน ASTM D3363 (ประเทศสหรัฐอเมริกา) หรือ GB/T6739 (ประเทศจีนจีน) โดยการนำมาจัดเรียงลำดับความแข็งของธาตุต่างๆ ไว้ที่ 1-10 ขั้น ไล่ตั้งแต่ระดับความแข็งต่ำสุด แร่อ่อน แร่ยิปซัม ไปจนถึง พลอยสีแดง และเพชรที่มีความแข็งแรงมากที่สุดนั่นเอง ซึ่งหากได้รับผลเป็นตัวเลขมากเท่าใด แสดงว่ามีความแข็งแรงมากเท่านั้น โดยในปัจุบันคุณภาพของกระจกกันรอยจะอยู่ที่ 9H หรือ 9H+
กระจกกันรอย UV
เหมาะสำหรับสมาร์ทโฟนที่มีหน้าจอขอบโค้งโดยเฉพาะ ด้วยจุดเด่นอย่างความติดแน่นตลอดขอบหน้าจอทั้งสองด้าน ด้วยการใช้น้ำยาชนิดพิเศษ ผสานการฉายแสง UV เพื่อให้ติดแน่นกับหน้าจอ จนไม่มีช่องว่างใดๆ ระหว่างหน้าจอ และตัวฟิล์ม จึงมั่นในได้ว่าจะไม่มีการหลุด หรือการเผยอของตัวกระจกแต่อย่างใด ซึ่งต่างจากกระจกแบบปกติที่มีชั้นกาว ที่หากติดเบี้ยวไปเพียงเล็กน้อย การแก้ให้กลับมาตรงที่ที่ถูกต้องก็อาจเกิดฟองอากาศด้านในได้ ต่างจากแบบ UV ที่สามารถจัดตำแหน่งตามที่ต้องการได้ก่อนที่จะทำการฉายแสง UV นั่นเอง แต่กระจกกันรอยแบบ UV จำเป็นต้องใช้เครื่องฉายแสง UV (บางแบรนด์จะแถมเครื่องฉายมาให้) และอาจใช้เวลามากกว่า ทางที่ดีให้ผู้ที่เชี่ยวชาญทำการติดจะดีที่สุด อีกทั้งยังมีราคาที่ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับแบบปกติ แต่ก็แลกมากับอายุการใช้งานที่ยาวนาน และปกป้องหน้าจอได้อย่างครอบคลุมนั่นเอง ซึ่งหากเทียบกับราคาที่ต้องจ่ายในการเปลี่ยนหน้าจอแล้ว ก็ถือว่าคุ้มค่าในการลงทุน
นอกจากนี้กระจกแบบ UV ยังสามารถใช้งานเซ็นเซอร์สแกนลายนิ้วมือที่ฝังอยู่ใต้หน้าจอได้ตามปกติ อย่างที่กล่าวไปข้างต้นแล้วว่าตัวกระจกจะติดกับหน้าจอโดยไม่มีช่องว่าง หรืออากาศแทรกอยู่ ในขณะที่แบบกระจกปกติที่มีชั้นกาวมีโอกาสเกิดอากาศด้านในได้ จึงอาจทำให้ใช้งานฟีเจอร์นี้ได้ไม่ดีเท่าที่ควร
สรุปแล้ว ฟิล์มกันรอยราคาถูกหรือแพงแตกต่างกันอย่างไร และควรเลือกซื้อฟิล์มกันรอยแบบไหนดี ?
ฟิล์มกันรอยแบบต่างๆ แต่ละยี่ห้อ แต่ละแบบจะมีราคาที่แตกต่างกันไป โดยที่ฟิล์มราคาแพงกว่าจะแลกมาด้วยฟีเจอร์ต่างๆ ของฟิล์มที่ดีกว่า เช่น กันรอยขีดข่วนได้ดีกว่า, ป้องกันรอยนิ้วมือเมื่อใช้งานได้ดีกว่า หรือลดการสะท้อนแสงจากแสงรอบๆ ตัวได้ดีกว่า เป็นต้น ซึ่งฟิล์มกันรอยที่ราคายิ่งสูง ก็จะยิ่งได้ฟิล์มที่มีคุณภาพกว่าฟิล์มที่ราคาถูกกว่านั่นเอง สำหรับการเลือกซื้อ ก็คงต้องพิจารณากันต่อไปว่า ผู้ใช้ถูกใจกับฟิล์มกันรอยแบบไหนมากกว่ากัน, มีงบประมาณมากน้อยขนาดไหน และฟิล์มกันรอยแบบไหนเหมาะสมกับการใช้งานของผู้ใช้ที่สุดนั่นเองครับ
ฟิล์มกระจกเชียงราย
ฟิล์มกระจกเชียงใหม่
ฟิล์มกระจกน่าน
ฟิล์มกระจกพะเยา
ฟิล์มกระจกแพร่
ฟิล์มกระจกแม่ฮ่องสอน
ฟิล์มกระจกลำปาง
ฟิล์มกระจกลำพูน
ฟิล์มกระจกอุตรดิตถ์
ฟิล์มกระจกกาฬสินธุ์
ฟิล์มกระจกขอนแก่น
ฟิล์มกระจกชัยภูมิ
ฟิล์มกระจกนครพนม
ฟิล์มกระจกนครราชสีมา
ฟิล์มกระจกบึงกาฬ
ฟิล์มกระจกบุรีรัมย์
ฟิล์มกระจกมหาสารคาม
ฟิล์มกระจกมุกดาหาร
ฟิล์มกระจกยโสธร
ฟิล์มกระจกร้อยเอ็ด
ฟิล์มกระจกเลย
ฟิล์มกระจกสกลนคร
ฟิล์มกระจกสุรินทร์
ฟิล์มกระจกศรีสะเกษ
ฟิล์มกระจกหนองคาย
ฟิล์มกระจกหนองบัวลำภู
ฟิล์มกระจกอุดรธานี
ฟิล์มกระจกอุบลราชธานี
ฟิล์มกระจกอำนาจเจริญ
ฟิล์มกระจกกำแพงเพชร
ฟิล์มกระจกชัยนาท
ฟิล์มกระจกนครนายก
ฟิล์มกระจกนครปฐม
ฟิล์มกระจกนครสวรรค์
ฟิล์มกระจกนนทบุรี
ฟิล์มกระจกปทุมธานี
ฟิล์มกระจกพระนครศรีอยุธยา
ฟิล์มกระจกพิจิตร
ฟิล์มกระจกพิษณุโลก
ฟิล์มกระจกเพชรบูรณ์
ฟิล์มกระจกลพบุรี
ฟิล์มกระจกสมุทรปราการ
ฟิล์มกระจกสมุทรสงคราม
ฟิล์มกระจกสมุทรสาคร
ฟิล์มกระจกสิงห์บุรี
ฟิล์มกระจกสุโขทัย
ฟิล์มกระจกสุพรรณบุรี
ฟิล์มกระจกสระบุรี
ฟิล์มกระจกอ่างทอง
ฟิล์มกระจกอุทัยธานี
ฟิล์มกระจกจันทบุรี
ฟิล์มกระจกฉะเชิงเทรา
ฟิล์มกระจกชลบุรี
ฟิล์มกระจกตราด
ฟิล์มกระจกปราจีนบุรี
ฟิล์มกระจกระยอง
ฟิล์มกระจกสระแก้ว
ฟิล์มกระจกกาญจนบุรี
ฟิล์มกระจกตาก
ฟิล์มกระจกประจวบคีรีขันธ์
ฟิล์มกระจกเพชรบุรี
ฟิล์มกระจกราชบุรี
ฟิล์มกระจกกระบี่
ฟิล์มกระจกชุมพร
ฟิล์มกระจกตรัง
ฟิล์มกระจกนครศรีธรรมราช
ฟิล์มกระจกนราธิวาส
ฟิล์มกระจกปัตตานี
ฟิล์มกระจกพังงา
ฟิล์มกระจกพัทลุง
ฟิล์มกระจกภูเก็ต
ฟิล์มกระจกระนอง
ฟิล์มกระจกสตูล
ฟิล์มกระจกสงขลา
ฟิล์มกระจกสุราษฎร์ธานี
ฟิล์มกระจกยะลา
ฟิล์มกระจกกรุงเทพมหานคร
ฟิล์มกระจกคลองสาน
ฟิล์มกระจกคลองสามวา
ฟิล์มกระจกคลองเตย
ฟิล์มกระจกคันนายาว
ฟิล์มกระจกจอมทอง
ฟิล์มกระจกดอนเมือง
ฟิล์มกระจกดินแดง
ฟิล์มกระจกดุสิต
ฟิล์มกระจกตลิ่งชัน
ฟิล์มกระจกทวีวัฒนา
ฟิล์มกระจกทุ่งครุ
ฟิล์มกระจกธนบุรี
ฟิล์มกระจกบางกอกน้อย
ฟิล์มกระจกบางกอกใหญ่
ฟิล์มกระจกบางกะปิ
ฟิล์มกระจกบางคอแหลม
ฟิล์มกระจกบางซื่อ
ฟิล์มกระจกบางนา
ฟิล์มกระจกบางพลัด
ฟิล์มกระจกบางรัก
ฟิล์มกระจกบางเขน
ฟิล์มกระจกบางแค
ฟิล์มกระจกบึงกุ่ม
ฟิล์มกระจกปทุมวัน
ฟิล์มกระจกประเวศ
ฟิล์มกระจกป้อมปราบศัตรูพ่าย
ฟิล์มกระจกพญาไท
ฟิล์มกระจกพระนคร
ฟิล์มกระจกพระโขนง
ฟิล์มกระจกภาษีเจริญ
ฟิล์มกระจกมีนบุรี
ฟิล์มกระจกยานนาวา
ฟิล์มกระจกราชเทวี
ฟิล์มกระจกราษฎร์บูรณะ
ฟิล์มกระจกลาดกระบัง
ฟิล์มกระจกลาดพร้าว
ฟิล์มกระจกวังทองหลาง
ฟิล์มกระจกวัฒนา
ฟิล์มกระจกสวนหลวง
ฟิล์มกระจกสะพานสูง
ฟิล์มกระจกสัมพันธวงศ์
ฟิล์มกระจกสาทร
ฟิล์มกระจกสายไหม
ฟิล์มกระจกหนองจอก
ฟิล์มกระจกหนองแขม
ฟิล์มกระจกหลักสี่
ฟิล์มกระจกห้วยขวาง
ฟิล์มกระจกเมืองนครปฐม
ฟิล์มกระจกกำแพงแสน
ฟิล์มกระจกดอนตูม
ฟิล์มกระจกนครชัยศรี
ฟิล์มกระจกบางเลน
ฟิล์มกระจกพุทธมณฑล
ฟิล์มกระจกสามพราน
ฟิล์มกระจกเมืองนนทบุรี
ฟิล์มกระจกบางกรวย
ฟิล์มกระจกบางบัวทอง
ฟิล์มกระจกบางใหญ่
ฟิล์มกระจกปากเกร็ด
ฟิล์มกระจกไทรน้อย
ฟิล์มกระจกเมืองปทุมธานี
ฟิล์มกระจกคลองหลวง
ฟิล์มกระจกธัญบุรี
ฟิล์มกระจกลาดหลุมแก้ว
ฟิล์มกระจกลำลูกกา
ฟิล์มกระจกสามโคก
ฟิล์มกระจกหนองเสือ
ฟิล์มกระจกเมืองสมุทรปราการ
ฟิล์มกระจกบางพลี
ฟิล์มกระจกบางเสาธง
ฟิล์มกระจกพระประแดง
ฟิล์มกระจกพระสมุทรเจดีย์
ฟิล์มกระจกเมืองระยอง
ฟิล์มกระจกนิคมพัฒนา
ฟิล์มกระจกเขาชะเมา
ฟิล์มกระจกบ้านฉาง
ฟิล์มกระจกปลวกแดง
ฟิล์มกระจกวังจันทร์
ฟิล์มกระจกแกลง
ฟิล์มกระจกเมืองชลบุรี
ฟิล์มกระจกเกาะจันทร์
ฟิล์มกระจกบางละมุง
ฟิล์มกระจกบ่อทอง
ฟิล์มกระจกบ้านบึง
ฟิล์มกระจกพนัสนิคม
ฟิล์มกระจกพานทอง
ฟิล์มกระจกศรีราชา
ฟิล์มกระจกสัตหีบ
ฟิล์มกระจกหนองใหญ่
ฟิล์มกระจกเกาะสีชัง
ฟิล์มกระจกเมืองสมุทรสาคร
ฟิล์มกระจกกระทุ่มแบน
ฟิล์มกระจกบ้านแพ้ว
ฟิล์มกระจกมหาชัย
ฟิล์มกระจกเมืองสมุทร
ฟิล์มกระจกอัมพวา
ฟิล์มกระจกบางคนที
ฟิล์มกระจกเมืองราชบุรี
ฟิล์มกระจกบ้านคา
ฟิล์มกระจกจอมบึง
ฟิล์มกระจกดำเนินสะดวก
ฟิล์มกระจกบางแพ
ฟิล์มกระจกบ้านโป่ง
ฟิล์มกระจกปากท่อ
ฟิล์มกระจกวัดเพลง
ฟิล์มกระจกสวนผึ้ง
ฟิล์มกระจกโพธาราม
ฟิล์มกระจกเมืองฉะเชิงเทรา
ฟิล์มกระจกคลองเขื่อน
ฟิล์มกระจกท่าตะเกียบ
ฟิล์มกระจกบางคล้า
ฟิล์มกระจกบางน้ำเปรี้ยว
ฟิล์มกระจกบางปะกง
ฟิล์มกระจกบ้านโพธิ์
ฟิล์มกระจกพนมสารคาม
ฟิล์มกระจกราชสาส์น
ฟิล์มกระจกสนามชัยเขต
ฟิล์มกระจกแปลงยาว
ฟิล์มกระจกเมืองนครนายก
ฟิล์มกระจกปากพลี
ฟิล์มกระจกบ้านนา
ฟิล์มกระจกองครักษ์