วิธีการใหม่ในการกำจัดปลวกมีหลักการดังนี้
หมวดหมู่สินค้า: A94 ปลวก
25 กุมภาพันธ์ 2565
ผู้ชม 143 ผู้ชม
รับกำจัดปลวกสลายรังปลวก
บริการกำจัดปลวก
บริการกำจัดแมลง
บริการกำจัดมด
บริการกำจัดแมลงสาบ
บริการกำจัดหนู
บริการฆ่าปลวก
บริการฉีดปลวก
ติดต่อสอบถาม
การควบคุมโดยใช้เหยื่อ (bait)
ทำให้เกิดการตายต่อเนื่อง เป็นวิธีการใหม่ในการกำจัดปลวกมีหลักการดังนี้
1. ใช้วัตถุอันตรายที่ออกฤทธิ์ช้า มีความปลอดภัยต่อสิ่งมีชีวิตและแวดล้อมมีประสิทธิภาพในการขัดขวางกระบวนการตามธรรมชาติในการดำรงชีวิตของปลวก สามารถลดจำนวนประชากรปลวกจนถึงระดับที่ไม่กอให้เกิดความเสียหายหรือเกิดการตายของปลวกต่อเนื่องจนหมดรัง
2. ใช้วัตถุอันตรายที่มีคุณสมบัติพิเศษดึงดูดปลวกให้เข้ามากินและสามารุคงรูปอยู่ในตัวปลวกได้ดีในระยะเวลาที่เหมาะสมที่จะเกิดการถ่ายทอดไปสู่สมาชิกอื่นในรังได้
เหยื่อ (bait)
เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีผลต่อการเจริญเติบโต แล้วส่งผลให้เกิดการตายอย่างต่อเนื่องภายในรังของปลวก อาจเป็นกลุ่มคล้ายฮอร์โมนที่มีผลมนการควบคุมการเจริญเติบโต เช่น hexaflumuron, diflubezuron เป็นสารประเภทยับยั้งการสร้างผนังลำตัวหรือเป็นสารที่ออกฤทธิ์ในระบบทางเดินอาหารของปลวกสามารถถ่ายทอกไปยังปลวกตัวอื่นๆ ที่มากินซากปลวกที่ตายแล้ว เพราะกินเหยื่อชนิดนั้น เช่น disochin octoherate tetreahydrate ปัจจุบันมีเหยื่อกำจัดปลวกทั้งชนิดที่ติดตั้งภายในอาคารและชนิดฝังดินบริเวณรอบนอกอาคาร ในการนำเหยื่อกำจัดปลวกนี้ไปใช้จำเป็นต้องอาศัยผู้ที่ผ่าการอบรมให้มีความรู้ทางชีววิทยาและนิเวศวิทยาของปลวกเป็นอย่างดี และควรมีความชำนาญในการแก้ปัญหาระหว่างการวางและเปลี่ยนเหยื่อด้วย เนื่องจากประเทศไทยมีการปลูกสร้างอาคารลักษณะที่สลับซับซ้อน จึงจำเป็นต้องกัดแปลงระบบการวางเหยื่อให้เข้ากับสถานการณ์เพื่อล่อให้ปลวกเข้ามากินเหยื่อให้เร็วที่สุด
วิธีการวางเหยื่ออาหารล่อปลวก ขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้
1. สำรวจหาเส้นทางเดินใต้ดิน ของปลวกชนิดที่เข้าทำลายอาคารบ้านเรือน (Coptotermes gestroi) ตัดส่วนปลายให้แหลมหรือเป็นรูปลูกศร เพื่อง่ายต่อการนำไปฝังลงในดิน จะฝังชิ้นไม้นี้ลงไปในดินบริเวณรอบอาคาร ระยะห่างกันประมาณ 1.0 –5 เมตร ทิ้งไว้นานประมาณ 1 เดือน จึงทำการตรวจสอบว่ามีปลวกเข้มาทำลายตรงจุดไหนบ้าง โดยถอนชิ้นไม้ที่ปักไว้ไว้ขึ้นมาแต่ละจุดที่พบว่ามีการทำลายของปลวกในไม้ทำให้ทราบเส้นทางเดินใต้ดินของปลวกแน่ชัดของหลุมประมาณ 50 – 90 เซนติเมตร หรือขนาดพอที่จะฝังท่อปูนซีเมนต์หรือท่อพีวีซีหรือถุงพลาสติกที่มีลักษณะเปิดหัวเปิดท้ายลงไป จากนั้นจึงนำไม้ยางพาราขนาดเดียวกันแต่ไม่ต้องตัดให้แหลมมาจัดเรียงลงในกล่องกระดาษลูกฟูก พยามจัดเรียงชิ้นไม่ให้พื้นผิวด้านกว่างติดกันแน่นสนิท ให้ความชื้นไม้ก่อนที่จะนำไปวางไว้ภายในบ่อหรือท่อที่ทำไว้ ปิดฝาทิ้งไว้นานประมาณ 1-2 เดือน ปลวกจะเข้ามากินชิ้นไม้เหยื่อเป็นจำนวนมาก
2. การกำจัดและเปลี่ยนเหยื่อใหม่ ปลวกที่เข้ามาอยู่กินภายนกล่องเหยื่อนี้ จะถูกนไปกำจัดทิ้งอาจใช้วิธีกลต่างๆ ตามที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น จากนั้นจึงนำกล่องเหยื่อไม้ยางพาราใหม่กลับเข้ามาวางไว้แทนที่จุดเดิม ทำการดักปลวกเป็นระยะๆ ไปเรื่อยๆประมาณ 4-6 ครั้ง พบว่าปลวกเริ่มลดปริมาณลงไปจนไม่สามารถจะก่อให้เกิดความเสียหายที่รุนแรงได้ เทคนิคการดักเก็บปลวกเริ่มลดปริมาณลงไปจนไม่สามารถนำไปใช้เป็นขั้นตอนการปฏิบัติงานร่วมกันกับวิธีการใช้สารออกฤทธิ์ประเภทสารยับยั้งการเจริญเติบโต และสามรถนำเทคนิคนี้ไปใช้ร่วมกับการกำจัดปลวกโดยชีววิธีในอนาคตได้ด้วย เช่น การใช้ nematode หรือจุลินทรีย์บางชนิด ซึ่งปัจจุบันในประเทศไทยยังอยู่ในระหว่างขันตอนศึกษาทดลองภายในห้อง
3. การใช้แสงไฟดึงดูดหรือขับไล่ปลวกแมลงเม่า ปลวกวรรณะนี้พบในฤดูผสมพันธุ์ อาจเกิดขึ้นปีละ 1-2 ครั้ง ขึ้นอยู่กับชนิดของปลวก แมลงเม่าจะบินออกมาจากรังเพื่อหาคู่ผสมพันธุ์ โดยทั่วไปมักจะบินมาเล่นไฟในพลบค่ำ ตั้งแต่ 6 โมงเย็นจนถึงทุ่มครึ่ง ไม่เกินสองทุ่ม บางครั้งอาจพบแมลงเม่าบินออกจากรังหลังจากฝนตกใหม่ๆ ซึ่งเป็นสภาวะที่ดินมีความชุ่มชื้นและมีสภาพอากาศเหมาะสมต่อการผสมพันธุ์และสร้างรังใหม่ของปลวก การจัดการปลวกในระยะนี้สามารถช่วยลดปริมาณแมลงเม่าที่จะผสมพันธุ์และสร้างรังใหม่ในบริเวณอาคารได้ การดำเนินการใช้วิธีการง่ายๆ เช่น การปิดไฟภายในบ้ายช่วงระยะเวลาดังกล่าว แล้วเปิดไฟบริเวณด้านนอกของอาคารแทนเพื่อดึงดูดให้แมลงเม่าออกไปเล่นไฟอยู่เฉพาะภายนอกอาคาร ในขณะเดียวกันควรจัดตั้งภาชนะปากกว้างใส่น้ำทิ้งไว้เพื่อดักแมลงเม่า จากนั้นนำไปกำจัดหรือนำไปใช้เป็นอาหารของคนหรือสัตว์
นอกจากนี้การใช้หลอดไฟที่ห่อหุ้มด้วยพลาสติกชนิดเคลือบสารพิเศษ เช่น แสง UV เพื่อขับไล่แมลงบินชนิดต่างๆ บริเวณรอบอาคาร เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ป้องกันไม่ให้แมลงเม่าบินเข้ามาผสมพันธุ์และสร้างรังในอาคารได้
4. การดูแลสถานที่และการจัดวางข้างของเครื่องเรือน เครื่องใช้ทั้งภายในและภายในอาคาร เพื่อช่วยลดความรุนแรงในการเข้าทำลายของปลวก ดังนี้
- หลีกเลี่ยงการวางสิ่งของลักษณะที่สัมผัสกับพื้นดินหรือพื้นอาคารโดยตรง ควรวางชั้นที่ยกระดับขึ้นเหนือพื้นดินหรือพื้นอาคารไม่น้อยกว่า 15 เซนตอเมตร หลีกเลี่ยงการวางสิ่งของชิดมุมหรือตอดผนัง ควรวางห่างจากมุมห้องหรือฝาผนังระยะไม่น้อยกว่า 5 – 10 เซนติเมตร เพื่อให้มีการระบายอากาศที่ดี สามรถเข้าไปตรวจดูเส้นทางเดินดินของปลวกที่จะขึ้นมาได้และสามรถจะกำจัดได้ก่อนที่จะก่อให้เกิดความเสียหายที่รุนแรงขึ้น
- เคลื่อนย้าย รื้อสิ่งของและเปลี่ยนตำแหน่งการเก็บเครื่องเรือนเครื่องใช้อยู่เสมอ เป็นอีกวิธีหนึ่งที่สามารถรบกวนการเข้าทำลายของปลวกได้ เนื่องจากปลวกมักจะอาศัยอยู่เฉพาะที่ที่เงียบสงบไม่มีอะไรมารบกวน
- หลีกเลี่ยงกรปลูกต้นไม้ต่างๆ ในลักษณะที่ชิดหรือติดกับตัวอาคารเพื่อช่วยลดความรุนแรงการเข้ามาทำลายของปลวกภายในอาคารได้ เนื่องจากกิ่งก้านของต้นไม้อาจจะเป็นสะพานเชื่อมต่อเส้นทางเดินของปลวกให้เข้าสู่อาคารสะดวกขึ้น และบริเวณพื้นดินรอบอาคารที่ปลูกต้นไม้มัดมีการรดน้ำอยู่เสมอ ทำให้พื้นดินบริเวณนี้กลายเป็นจุดที่มีการสะสมความชื้นจัดเป็นปัจจัยที่ชักนำปลวกให้เข้ามาอาศัยและทำลายมากขึ้น
3.4 รูปแบบสูตรผสมที่เหมาะกับการนำไปใช้งาน
3.4.1 ชนิดของสูตรผสมของสารกำจัดปลวกชนิดเข้มข้นใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย ได้แก่
EC (emulsifiable concentration) ลักษณะของเหลวที่ผสมเป็นเนื้อเดียวกันเมื่อเจือจางด้วยน้ำจะได้สารอิมัลชั่น ที่มีลักษณะขุ่นขาว
SC (suspension concentration) ลักษณะเป็นสารผสมแขวนลอยของสารออกฤทธิ์ในของเหลว ไม่ตกตะกอนเมือนำไปเจือจาง
SL (soluble concentration) ลักษณะเป็นของเหลวที่ผสมเป็นเนื้อเดียวกันก่อนใช้ต้องนำไปเจือจางด้วยน้ำ
SP (soluble power) ลักษณะเป็นรูปผง ก่อนใช้ต้องนำไปผสมน้ำ สารออกฤทธิ์ละลายน้ำได้ แต่สารไม่ออกฤทธิ์บางส่วนในสูตรไม่ละลายน้ำ
WP (wettable powder) ลักษณะเป็นผง ก่อนใช้ต้องเจือจางด้วยน้ำจะได้สารละลายในรูปของสารแขวนลอย สูตรนี้เหมาะสำหรับใช้ในการอัดสารกำจัดปลวกลงดินหรือฉีดพ่นบนพื้นดินบริเวณริบอาคารบ้านเรือน
ในการพิจารณาเลือกใช้สูตรตำรับใดนั้น ขึ้นอยู่กับความสะดวกของผู้ใช้หรือราคาของสารกำจัดปลวกนั้น
3.4.2 ชนิดของสูตรผสมของสารกำจัดปลวกชนิดเข้มข้น ใช้สารอินทรีย์เป็นตัวทำละลาย ได้แก่
OL (oil miscible liquid) ลักษณะเป็นของเหลวที่เป็นเนื้อเดียวกัน ก่อนใช้ต้องเจือจางด้วยตัวทำละลายอินทรีย์ สูตรนี้เหมาะจะนำไปใช้กับอุปกรณ์ชนิดเข็มหรือหลอดฉีดยา เพื่ออัดหรือฉีดพ่นสารกำจัดปลวกเข้าในโครงสร้างไม้ที่ถูกทำลายแต่ละจุดเป็นระยะๆ เพื่อช่วยให้มีการแทรกซึมของตัวยาเข้าไปในเนื้อไม้ได้ดีกว่าการใช้ตัวทำละลายที่เป็นน้ำ
3.4.3 ชนิดของสูตรผสมของสารกำจัดปลวกที่ใช้ได้ทันทีไม่ต้องเจือจาง ได้แก่
DP (dustable powder) มีลักษณะเป็นผงละเอียด สูตรนี้เหมาะนำไปใช้ในการใช้พ่นผง โดยใช้อุปกรณ์ชนิดลูกยางบีบพ่น เพื่อพ่นสารกำจัดปลวกเข้าไปในเส้นทางเดินของปลวกหรือในโครงสร้างที่ถูกทำลายโดยไม่ทำให้เลอะเปรอะเปื้อน ต่างจากการใช้สารกำจัดปลวกที่ต้องผสมกับตัวทำละลายที่เป็นน้ำหรือน้ำมัน ที่ก่อให้เกอดความเสียหายกับโครงสร้างของอาคารหรือวัสดุสิ่งของนั้นๆ
3.4.4 ชนิดของสูตรผสมของสารกำจัดปลวกสูตรใช้เฉพาะอย่าง
AE (aerosol dispenser) บรรจุในภาชนะปิดมิดชิด มีลิ้นบังคับการเปิด-ปิดเมื่อลิ้นปิดสารละลายจะถูกปล่อยมาเป็นละอองฝอย
BA (bait ready for use) เป็นเหยื่อล่อหรือดึงดูดปลวกให้เข้ามากัดกิน ใช้ได้โดยไม่ต้องผสม
Foam เป็นรูปแบบที่ตัวทำละลายผสมกับสารกำจัดปลวก นิยมใช้เมื่อต้องอัดสารเคมีลงไปในดินใต้พื้นล่างของอาคารที่เป็นคอนกรีต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการนำพาสารเคมีให้แทรกซึมและกระจายได้เร็วและทั่วถึงไปตามช่องว่างภายใต้พื้นคอนกรีต
การเลือกใช้สารกำจัดปลวกชนิดต่างๆ มีข้อพิจารณา ดังนี้
- เลือกใช้ชนิดของสารกำจัดปลวกที่ผ่านการทดสอบประสิทธิภาพ และผ่านการขึ้นทะเบียนจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
- เลือกใช้สารกำจัดปลวก ในอัตราความเข้มที่เหมาะสมตามวัตถุประสงค์ว่าต้องการหวังผลในระยะสั้นหรือระยะยาว เช่น ควรเลือกใช้อัตราความเข้มข้นต่ำสุดแต่มีประสิทธิภาพเพื่อลดปัญหาความเป็นพิษตกค้างต่อมนุษย์ สัตว์ และสิ่งแวดล้อม ทั้งยังเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายด้วย โดยเฉพาะกรณีที่ใช้ในการกำจัดเฉพาะจุดที่ไม่หวังผลในระยะยาว
- เลือกรูปแบบของสูตรผสมให้เหมาะสมกับลักษณะการนำไปใช้งาน
- เลือกอุปกรณ์และวิธีการที่เหมาะสมกับชนิดของสารกำจัดปลวก เช่น การเลือกใช้สารกำจัดปลวกเพื่อฉีดพ่นหรืออัดลงดินควรเลือกสูตรผสมชนิดเข้มที่ต้องผสมน้ำก่อนนำฉีด โดยใช้เครื่องพ่นแบบสูบโยกสะพายหลังชนิดใช้แรงลมหรือใช้เครื่องแรงดันสูง สำหรับโครงสร้างไม้ที่ถูกทำลายบริเวณซอกมุม อาจเลือกใช้สูตรผสมที่ใช้สารอินทรีย์เป็นตัวทำลายโดยใช้อุปกรณ์เข็มฉีดยาหรือเครื่องพ่นขนาดเล็ก ฉีดพ่นเข้าไปตามร่อง รอยแตกของโครงสร้างที่ถูกทำลาย บางกรณีอาจต้องเลือกใช้สูตรผสมชนิดผงละเอียดโดยใช้ลูกยางบีบพ่นหรืออาจเลือกใช้ในรูปแบบ aerosol ที่มีหัวฉีดพ่นเข้าไปในโครงสร้างที่ถูกทำลายได้ง่าย
จุดสำคัญของโครงสร้างอาคารที่ควรคำนึงถึงในการใช้วัตถุอันตราย
1. บริเวณขอบบัวของพื้นอาคารและพื้นไม้ปาร์เก้ โดยเฉพาะตามมุมห้องต่างๆ บริเวณใต้บันได ผนังอาคาร หลังตู้เก็บของ ห้องเก็บองที่ไม่มีการเคลื่อนย้ายเป็นเวลานาน
2. บริเวณท่อระบายน้ำทิ้งและท่อสุขภัณฑ์ ซึ่งมักจะก่อผนังปิดหุ้มท่อไว้
3. บริเวณรอยแตกของเสาไม้ผนังหรือพื้นคอนกรีต
4. บริเวณคร่าวเพดานและฝาสองชั้นที่มักจะบุด้วยไม้อัดหรือใช้ไม้เนื้ออ่อน
5. พื้นล่างของอาคารที่เป็นคอนกรีต
หลักการควบคุม ป้องกันและกำจัดสัตว์ เป็นปัญหาในบ้านเรือนหรือทางสาธารณสุข
แมลงเป็นสัตว์ที่อยู่ร่วมกับมนุษย์มาตั้งแต่ครั้งดึกดำบรรพ์ ตราบใดที่บนโลกยังมีมนุษย์อยู่ตราบนั้นก็จะยังคงมีแมลงอยู่เช่นเดียวกัน ยิ่งกว่านั้นถึงแม้ว่ามนุษย์จะสูญหายตายจากโลกไปหมดแมลงก็จะยังคงมีชีวิตอยู่รอดต่อไปได้อีก ดังนั้นการทำให้แมลงโดยเฉพาะแหล่งซึ่งเป็นปัญหาในบ้านเรือนหรือทางสาธารณสุขหมดไปจากถิ่นที่อยู่ ที่ทำมาหากินของมนุษย์จึงไม่มีทางที่จะเป็นไปได้ ประเด็นในการดำเนินการจึงอยู่ที่ว่าทำอย่างไรจึงจะสามารถควบคุม ป้องกันและกำจัดแมลงเหล่านั้นให้ได้ดีที่สุดและมากที่สุดและเกิดผลกระทบต่อมนุษย์ ต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด เช่นเดียวกับมนุษย์และสัตว์อื่นๆ แมลงและสัตว์ที่เป็นปัญหาในบ้านเรือนหรือทางสาธารณสุข เช่น ยง แมลงวัน ปลวก มด แมลงสาบ ไรฝุ่นและหนู เป็นต้น ต้องการปัจจัยพื้นฐานสำคัญ ในการดำรงชีวิต 3 อย่าง ได้แก่ อาหาร น้ำและที่อยู่อาศัย ซึ่งเป็นวงจรที่มีความสัมพันธ์กัน เสมือนเป็นสามเหลี่ยมแห่งชีวิต (triangle of Life)
ปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตของแมลง
อาหาร + น้ำ + ที่อยู่อาศัย
การที่แมลงและสัตว์ดังกล่าวเข้ามาในอาคารบ้านเรือนและสถานประกอบการต่างๆ ของมนุษย์ ก็เพื่อเสาะแสวงหาปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตข้างต้น ดังนั้นการควบคุม ป้องกันและกำจัดให้ได้ผลจึงต้องคำนึงถึงการขจัดปัจจัยอันเป็นจุดต้นตอประกอบกันไปกับการกำจัดโดยวิธีการอื่นๆ ด้วย นั่นหมายถึงการนำเอาวิธีการจัดการแมลงและสัตว์ (Integrated Pest Management : IPM) มาใช้เพื่อให้บังเกิดผลที่ยั่งยืนและมีความปลอดภัยสูงสุดต่อทั้งมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
“แมลงและสัตว์” ในที่นี้หมายถึงแมลงที่มาจากคำว่า “pest” ในภาษาอังกฤษ มีคำแปลที่ค่อนข้างกว้างในปทานุกรม (dictionary) อังกฤษเป็นไทยของ สอ เสถบุตร “pest” แปลว่า “สัตว์ที่รบกวนหรือทำลาย” เช่น แมลงโรคร้ายหรือมนุษย์ที่ทำลายความสุขผู้อื่น เพราะฉะนั้นแมลงและสัตว์ที่เป็นปัญหาในบ้านเรือนหรือทางสาธารณสุข จึงเป็นส่วนหนึ่งของ pest ที่เราจะทำการควบคุมป้องกันและกำจัดเท่านั้น
ปัจจุบันการจัดการแมลงและสัตว์ เข้ามามีบทบาทและถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางในทุกนานาอารยะประเทศทั่วโลก สมาคม องค์การธุรกิจหรือแม้กระทั่งผู้ประกอบการกำจัดแมลง โดยเปลี่ยนชื่อเรียกจาก “Pest Control” เป็นชื่อ “Pest Management” เช่น สถาบัน “National Pest Control Association : NPCA” ของประเทศสหรัฐอเมริกา ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นชื่อ “National Pest Management Association : NPMA” เป็นต้น
วิธีการจัดการแมลงและสัตว์ ประกอบด้วยขั้นตอนพื้นฐาน 5 ขั้นตอนดังนี้
1. การสำรวจหรือตรวจ (Inspection)
2. การระบุหรือจำแนกชนิดแมลงและสัตว์ (Identification)
3. การสุขาภิบาล (Sanitation)
4. การจัดการโดยใช้ตั้งแต่สองวิธีการขึ้นไป (Application of two or more procedures)
5. การติดตามประเมินผล (Evaluation)
1. การสำรวจหรือตรวจ (Inspection)
การสำรวจสภาพปัญหาแมลงและสัตว์ แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือการสำรวจก่อนการปฏิบัติงานและภายหลังการปฏิบัติงาน การสำรวจทั้งสองขั้นตอนควรเป็นการสำรวจตามมาตรฐาน “การสำรวจอย่างละเอียดถ้วนทั่ว” หรือ “A thorough survey” โดยผู้ปฏิบัติงานจะมีเสื้อผ้าสวมใส่โดยเฉพาะ มีอุปกรณ์ป้องกันอนามัยส่วนบุคคลเพื่อความปลอดภัย เช่น หมวกกันกระแทก หน้ากาก รองเท้านิรภัย เป็นต้น นอกจากนี้ยังต้องมีอุปกรณ์การสำรวจ เช่น ไฟฉาย ไขควง หลอดเก็บตัวอย่าง กระดานรองเขียน เป็นต้น
การสำรวจก่อนการปฏิบัติงานเป็นการสำรวจเมื่อหาการมีอยู่ของแมลงและสัตว์ ชนิด จำนวนความเสียหายจากการทำลาย เพื่อนำมาใช้ในการจัดทำแผนผังของสถานที่ภายในตัวอาคารรวมทั้งสภาพแวดล้อม เพื่อบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งหลบซ่อนอาศัย แหล่งอาหารและอื่นๆ ที่เอื้ออำนวยต่อการเข้ามาระบาดของแมลงและสัตว์ ส่วนการสำรวจภายหลังการปฏิบัติงานเป็นการตรวจติดตาม และประเมินผลภายหลังการทำบริการ
1.1 วิธีการและจุดทีควรสำรวจหรือตรวจ
1.1.1 แหล่งที่แมลงชอบหลบซ่อนอาศัย (pest hot spot) เช่น ล็อคเกอร์พนักงาน ห้องเก็บของแม่บ้าน ห้องซักรีด ห้องครัว ห้องเตรียมอาหารและเครื่องดื่ม บริเวณที่ทิ้งขยะ ท่อชาฟท์ และท่อระบายน้ำ เป็นต้น
1.1.2 สอบถามหรือสัมภาษณ์เจ้าของสถานที่ (Client Interview)
1.1.3 การสุ่มตรวจด้วยอุปกรณ์ต่างๆ เช่น กล่องดัก กล่องหรือกระดาษกาว กับดัก หรือกรงดัก เป็นต้น
2. การระบุหรือจำแนกชนิดแมลงและสัตว์ (Identification)
การระบุหรือจำแนกชนิด ชีววิทยาและนิเวศวิทยาของแมลงและสัตว์ที่สำรวจพบ เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนป้องกันและกำจัด
3. การสุขาภิบาล (Sanitation)
ได้แก่ การดูแลด้านสุขวิทยาและการสุขาภิบาล โดยปรับปรุง แก้ไขอาคารบ้านเรือนและสถานที่เพื่อทำการปิดกั้นหรือสกัดกั้นไม่ให้แมลงและสัตว์ที่เป็นปัญหาเข้ามาภายในได้ รวมทั้งการดูแลจัดการความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ข้อมูลเหล่านี้ส่วนหนึ่งได้มาจากผู้ให้บริการกำจัดแมลงที่มาทำการสำรวจสถานที่ก่อนการปฏิบัติงานและได้ทำรายงานพร้อมข้อเสนอแนะให้กับฝ่ายผู้รับบริการเพื่อพิจารณาดำเนินการ
การสร้างวัฒนธรรมภายในองค์กร โดยการรณรงค์ให้พนักงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วม อาจทำได้โดยการกำหนดระเบียบปฏิบัติตามหลัก 5 ส เพื่อช่วยให้การควบคุม ป้องกันและกำจัดแมลงและสัตว์ ประสบผลสำเร็จมากยิ่งขึ้นได้ดังนี้
3.1 สะสาง แยกและขจัดของที่ไม่จำเป็นทิ้ง มีให้สกปรกรกรุงรังอันจะเป็นแหล่งอาศัยและเพาะพันธุ์ของแมลงและสัตว์
3.2 สะดวก จัดวางสิ่งของให้เป็นระเบียบ มีระยะห่างที่เหมาะสมและควรจัดวางบนชั้นเพื่อให้สามารถสำรวจตรวจสอบปัญหาได้โดยง่าย ไม่ควรตั้งวางสิ่งของติดผนังหรือวางบนพื้นโดยตรง ควรตั้งวางบนที่รองรับ
3.3 สะอาด ทำความสะอาดอาคารบ้านเรือนและสถานที่ทั้งภายในและภายนอก กำจัดแหล่งน้ำ แหล่งอาหารและแหล่งหลบซ่อนอาศัยของแมลงและสัตว์ จัดให้มีการล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำเพื่อป้องกันการอุดตันหรือหมักหมมของเศษขยะและอาหาร
3.4 สุขลักษณะ จัดสภาพแวดล้อมภายในบ้านเรือนและสถานที่ต่างๆ ให้สะอาด ปลอดภัย และถูกหลักอนามัย เน้นการดูแลจุดที่สำคัญ ดังนี้
3.4.1 อุด ปิดกั้น สกัดกั้นโดยปิดทางเข้าออก ซ่อมแซมรอยแตก รอยร้าวหรือรอยทรุดตัวของอาคาร ไม่ให้เป็นแหล่งหลบซ่อนอาศัยของแมลงและสัตว์
3.4.2 จัดที่ทิ้งขยะให้มีฝาปิดมิดชิดและนำมาทิ้งในเวลาอันเหมาะสมขยะเปียก และขยะประเภทเศษอาหารควรมีห้องขยะที่สามารถปิดกั้นแมลงและสัตว์ไม่ให้เข้ามาระบาดได้
3.5 สร้างนิสัย ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์การจัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในหน่วยงานให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องและช่วยกันดูแลสอดส่องไม่ให้มีการระบาดของแมลงและสัตว์ในพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง
4. การจัดการโดยใช้ตั้งแต่สองวิธีการขึ้นไป (Application of two or more procedures)
เมื่อได้ดำเนินการในส่วนของการป้องกัน การปิดกั้นและการสุขาภิบาลแล้ว จึงมาถึงการทำการกำจัด แบ่งออกได้เป็น 2 วิธี ดังนี้
4.1 การจัดการโดยไม่ใช้สารเคมี
4.1.1 การควบคุมโดยวิธีกล (Mechanical control) เช่น การใช้กาวดัก กล่อง หรือ กรงดักและเครื่องดักจับแมลงแบบต่างๆ
4.1.2 การควบคุมโดยวิธีกายภาพ (physical control) เช่น การสำรวจตรวจสอบวัสดุ สิ่งของ สินค้า และวัตถุดิบที่จะนำเข้ามาจากภายนอกว่ามีแมลงสาบหรือไข่ของแมลงติดเข้ามาด้วยหรือไม่ โดยการใช้เครื่องดูดฝุ่นดูดจับแมลง การใช้ไม้ตีหรือช็อตและการใช้สวิงตัก เป็นต้น
4.1.3 การควบคุมโดยวิธีชีววิทยา (Biological control) โดยใช้สิ่งมีชีวิตที่เป็นศัตรูทางธรรมชาติ ได้แก่ ตัวห้ำ (predators) ตัวเบียน (parasitoids) และจุลินทรีย์ (microorganisms) ต่างๆ
4.1.4 การควบคุมโดยวิธีอื่นๆ (other methods) เช่น การใช้สารไล่ (repellents) การใช้สารเพศล่อ (sex pheromones) การใช้อาหารล่อ (food attractants) และการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต (Insect growth regulator) เป็นต้น
4.2 การจัดการโดยใช้สารเคมี (chemical control)
หลักการจัดการแมลงและสัตว์นั้น การพิจารณานำสารเคมีมาใช้ควรเป็นทางเลือกสุดท้าย เมื่อการใช้วิธีการอื่นๆ ไมประสบผลสำเร็จแล้วเท่านั้น แม้กระนั้นก็ควรเลือกใช้สารเคมีที่มีความเป็นพิษต่อถึงปานกลางและนำมาใช้เท่าที่จำเป็นในแต่ละสถานที่เท่านั้นดังรายละเอียดวิธีการควบคุม ป้องกันและกำจัดแมลงและสัตว์แต่ละชนิด ได้กล่าวมาแล้ว
5. การติดตามประเมินผล (Evaluation)
การติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน เพื่อประเมินระดับการระบาดของแมลงและสัตว์ว่าลดลงหรือไม่เพียงใด โดยการสำรวจด้วยตนเองหรือสอบถามจากเจ้าของสถานที่ พร้อมจัดทำบันทึกรายงานการติดตามผล (follow - up inspection report) นำเสนอให้ผู้รับบริการ หรือเพื่อเก็บไว้อ้างอิง ตรวจสอบ ทั้งนี้อาจทำการประเมินผลทุกครั้งที่เข้าดำเนินการหรือเป็นช่วงระยะเวลา ขึ้นอยู่กับความจำเป็นหรือเงื่อนไขข้อตกลง
จะเห็นว่าการกำจัดแมลงและสัตว์ให้ได้ผลและได้ประโยชน์สูงสุดนั้น ไม่มีหลักการหรือวิธีการใดที่จะสมบูรณ์ไปกว่าวิธีการจัดการแมลงและสัตว์ดังกล่าวมาแล้วข้างต้นทั้งหมด เพราะนอกจากจะช่วยลดปัญหาผลกระทบจากการใช้สารเคมีต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว ยังช่วยทำให้เกิดความประหยัด ปลอดภัย และยังช่วยป้องกันปัญหาแมลงต้านทานต่อสารเคมีได้อีกทางหนึ่งด้วย
ปัจจัยที่ทำให้การจัดการแมลงและสัตว์เป็นไปด้วยความลำบาก
ในการนำเอาวิธีการจัดการแมลงและสัตว์มาใช้ในการดำเนินการ โดยมุ่งหวังที่จะให้ได้ผลสำเร็จนั้น ยังมีปัจจัยหรือตัวแปรสำคัญอื่นที่เป็นอุปสรรค ดังนี้
1. วัตถุดิบหรือหีบห่อที่นำเข้ามาจากข้างนอกอาจนำแมลงและสัตว์เข้ามาสู่สถานที่ได้
2. กลิ่นอาหารต่างๆ จากอาคารบ้านเรือนและสถานประกอบอาหารย่อมดึงดูดแมลง และสัตว์ให้เข้ามายังสถานที่นั้นๆ ได้
3. แสงไฟส่องสว่างโดยรอบอาคารบ้านเรือนและสถานที่ทำให้แมลงกลางคืนบินเข้าหา และอาจบินเข้าสู่บริเวณภายในได้
4. อาคารบ้านเรือนและสถานที่ต่างๆ ที่มีความอบอุ่นหรือเป็นพื้นที่ที่มีความอับชื้นเหมาะต่อการเข้ามาระบาดลุกลามของแมลง
5. เครื่องจักรกล ฝาประกับและช่องว่างต่างๆ ของโครงสร้างอาคารบ้านเรือน เป็นสถานที่ที่แมลงและสัตว์ใช้เป็นที่หลบซ่อนอาศัยได้
6. อาคารบ้านเรือนที่เก่า อุปกรณ์เครื่องใช้มีอายุในการใช้และอยู่ในสภาพเก่าแล้ว ยากแก่การบำรุงรักษาและทำความสะอาด
7. สถานที่ซึ่งมีการผลิตหรือปฏิบัติงานตลอด 24 ชั่วโมง ทำให้การดำเนินมาตรการเพื่อการจัดการแปลงเป็นไปได้ยากยิ่งขึ้น
8. ฝุ่น คราบไขมัน อุณหภูมิที่สูงและความชื้นอย่างต่อเนื่อง สามารถทำให้ประสิทธิภาพของสารเคมีด้อยลง
9. มาตรการในการทำความสะอาดอาคารบ้านเรือนและสถานที่ ทำให้เกิดการชะล้างทำลาย ตกค้าง ของ สารเคมี
10. การทำความสะอาดและรถโฟล์คลิฟท์ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ เป็นต้น ทำลายแมลงบางชนิด และอุปกรณ์ดักหนูอย่างรวดเร็ว
11. ข้อกำหนดในการไม่อนุญาตให้ใช้สารเคมีภายในสถานที่ประกอบอาหารบางประเภท หรือของหน่วยราชการที่กำกับดูแล ทำให้ไม่สามารถใช้สารเคมีช่วยในการกำจัดได้
12. บ้านหรือผู้บริหารของสถานที่ลังเลใจที่จะใช้เงินในการจัดการแมลง
บริษัทฉีดปลวกเชียงราย
บริษัทฉีดปลวกเชียงใหม่
บริษัทฉีดปลวกน่าน
บริษัทฉีดปลวกพะเยา
บริษัทฉีดปลวกแพร่
บริษัทฉีดปลวกแม่ฮ่องสอน
บริษัทฉีดปลวกลำปาง
บริษัทฉีดปลวกลำพูน
บริษัทฉีดปลวกอุตรดิตถ์
บริษัทฉีดปลวกกาฬสินธุ์
บริษัทฉีดปลวกขอนแก่น
บริษัทฉีดปลวกชัยภูมิ
บริษัทฉีดปลวกนครพนม
บริษัทฉีดปลวกนครราชสีมา
บริษัทฉีดปลวกบึงกาฬ
บริษัทฉีดปลวกบุรีรัมย์
บริษัทฉีดปลวกมหาสารคาม
บริษัทฉีดปลวกมุกดาหาร
บริษัทฉีดปลวกยโสธร
บริษัทฉีดปลวกร้อยเอ็ด
บริษัทฉีดปลวกเลย
บริษัทฉีดปลวกสกลนคร
บริษัทฉีดปลวกสุรินทร์
บริษัทฉีดปลวกศรีสะเกษ
บริษัทฉีดปลวกหนองคาย
บริษัทฉีดปลวกหนองบัวลำภู
บริษัทฉีดปลวกอุดรธานี
บริษัทฉีดปลวกอุบลราชธานี
บริษัทฉีดปลวกอำนาจเจริญ
บริษัทฉีดปลวกกำแพงเพชร
บริษัทฉีดปลวกชัยนาท
บริษัทฉีดปลวกนครนายก
บริษัทฉีดปลวกนครปฐม
บริษัทฉีดปลวกนครสวรรค์
บริษัทฉีดปลวกนนทบุรี
บริษัทฉีดปลวกปทุมธานี
บริษัทฉีดปลวกพระนครศรีอยุธยา
บริษัทฉีดปลวกพิจิตร
บริษัทฉีดปลวกพิษณุโลก
บริษัทฉีดปลวกเพชรบูรณ์
บริษัทฉีดปลวกลพบุรี
บริษัทฉีดปลวกสมุทรปราการ
บริษัทฉีดปลวกสมุทรสงคราม
บริษัทฉีดปลวกสมุทรสาคร
บริษัทฉีดปลวกสิงห์บุรี
บริษัทฉีดปลวกสุโขทัย
บริษัทฉีดปลวกสุพรรณบุรี
บริษัทฉีดปลวกสระบุรี
บริษัทฉีดปลวกอ่างทอง
บริษัทฉีดปลวกอุทัยธานี
บริษัทฉีดปลวกจันทบุรี
บริษัทฉีดปลวกฉะเชิงเทรา
บริษัทฉีดปลวกชลบุรี
บริษัทฉีดปลวกตราด
บริษัทฉีดปลวกปราจีนบุรี
บริษัทฉีดปลวกระยอง
บริษัทฉีดปลวกสระแก้ว
บริษัทฉีดปลวกกาญจนบุรี
บริษัทฉีดปลวกตาก
บริษัทฉีดปลวกประจวบคีรีขันธ์
บริษัทฉีดปลวกเพชรบุรี
บริษัทฉีดปลวกราชบุรี
บริษัทฉีดปลวกกระบี่
บริษัทฉีดปลวกชุมพร
บริษัทฉีดปลวกตรัง
บริษัทฉีดปลวกนครศรีธรรมราช
บริษัทฉีดปลวกนราธิวาส
บริษัทฉีดปลวกปัตตานี
บริษัทฉีดปลวกพังงา
บริษัทฉีดปลวกพัทลุง
บริษัทฉีดปลวกภูเก็ต
บริษัทฉีดปลวกระนอง
บริษัทฉีดปลวกสตูล
บริษัทฉีดปลวกสงขลา
บริษัทฉีดปลวกสุราษฎร์ธานี
บริษัทฉีดปลวกยะลา
บริษัทฉีดปลวกกรุงเทพมหานคร
บริษัทฉีดปลวกคลองสาน
บริษัทฉีดปลวกคลองสามวา
บริษัทฉีดปลวกคลองเตย
บริษัทฉีดปลวกคันนายาว
บริษัทฉีดปลวกจอมทอง
บริษัทฉีดปลวกดอนเมือง
บริษัทฉีดปลวกดินแดง
บริษัทฉีดปลวกดุสิต
บริษัทฉีดปลวกตลิ่งชัน
บริษัทฉีดปลวกทวีวัฒนา
บริษัทฉีดปลวกทุ่งครุ
บริษัทฉีดปลวกธนบุรี
บริษัทฉีดปลวกบางกอกน้อย
บริษัทฉีดปลวกบางกอกใหญ่
บริษัทฉีดปลวกบางกะปิ
บริษัทฉีดปลวกบางคอแหลม
บริษัทฉีดปลวกบางซื่อ
บริษัทฉีดปลวกบางนา
บริษัทฉีดปลวกบางพลัด
บริษัทฉีดปลวกบางรัก
บริษัทฉีดปลวกบางเขน
บริษัทฉีดปลวกบางแค
บริษัทฉีดปลวกบึงกุ่ม
บริษัทฉีดปลวกปทุมวัน
บริษัทฉีดปลวกประเวศ
บริษัทฉีดปลวกป้อมปราบศัตรูพ่าย
บริษัทฉีดปลวกพญาไท
บริษัทฉีดปลวกพระนคร
บริษัทฉีดปลวกพระโขนง
บริษัทฉีดปลวกภาษีเจริญ
บริษัทฉีดปลวกมีนบุรี
บริษัทฉีดปลวกยานนาวา
บริษัทฉีดปลวกราชเทวี
บริษัทฉีดปลวกราษฎร์บูรณะ
บริษัทฉีดปลวกลาดกระบัง
บริษัทฉีดปลวกลาดพร้าว
บริษัทฉีดปลวกวังทองหลาง
บริษัทฉีดปลวกวัฒนา
บริษัทฉีดปลวกสวนหลวง
บริษัทฉีดปลวกสะพานสูง
บริษัทฉีดปลวกสัมพันธวงศ์
บริษัทฉีดปลวกสาทร
บริษัทฉีดปลวกสายไหม
บริษัทฉีดปลวกหนองจอก
บริษัทฉีดปลวกหนองแขม
บริษัทฉีดปลวกหลักสี่
บริษัทฉีดปลวกห้วยขวาง
บริษัทฉีดปลวกเมืองนครปฐม
บริษัทฉีดปลวกกำแพงแสน
บริษัทฉีดปลวกดอนตูม
บริษัทฉีดปลวกนครชัยศรี
บริษัทฉีดปลวกบางเลน
บริษัทฉีดปลวกพุทธมณฑล
บริษัทฉีดปลวกสามพราน
บริษัทฉีดปลวกเมืองนนทบุรี
บริษัทฉีดปลวกบางกรวย
บริษัทฉีดปลวกบางบัวทอง
บริษัทฉีดปลวกบางใหญ่
บริษัทฉีดปลวกปากเกร็ด
บริษัทฉีดปลวกไทรน้อย
บริษัทฉีดปลวกเมืองปทุมธานี
บริษัทฉีดปลวกคลองหลวง
บริษัทฉีดปลวกธัญบุรี
บริษัทฉีดปลวกลาดหลุมแก้ว
บริษัทฉีดปลวกลำลูกกา
บริษัทฉีดปลวกสามโคก
บริษัทฉีดปลวกหนองเสือ
บริษัทฉีดปลวกเมืองสมุทรปราการ
บริษัทฉีดปลวกบางพลี
บริษัทฉีดปลวกบางเสาธง
บริษัทฉีดปลวกพระประแดง
บริษัทฉีดปลวกพระสมุทรเจดีย์
บริษัทฉีดปลวกเมืองระยอง
บริษัทฉีดปลวกนิคมพัฒนา
บริษัทฉีดปลวกเขาชะเมา
บริษัทฉีดปลวกบ้านฉาง
บริษัทฉีดปลวกปลวกแดง
บริษัทฉีดปลวกวังจันทร์
บริษัทฉีดปลวกแกลง
บริษัทฉีดปลวกเมืองชลบุรี
บริษัทฉีดปลวกเกาะจันทร์
บริษัทฉีดปลวกบางละมุง
บริษัทฉีดปลวกบ่อทอง
บริษัทฉีดปลวกบ้านบึง
บริษัทฉีดปลวกพนัสนิคม
บริษัทฉีดปลวกพานทอง
บริษัทฉีดปลวกศรีราชา
บริษัทฉีดปลวกสัตหีบ
บริษัทฉีดปลวกหนองใหญ่
บริษัทฉีดปลวกเกาะสีชัง
บริษัทฉีดปลวกเมืองสมุทรสาคร
บริษัทฉีดปลวกกระทุ่มแบน
บริษัทฉีดปลวกบ้านแพ้ว
บริษัทฉีดปลวกมหาชัย
บริษัทฉีดปลวกเมืองสมุทร
บริษัทฉีดปลวกอัมพวา
บริษัทฉีดปลวกบางคนที
บริษัทฉีดปลวกเมืองราชบุรี
บริษัทฉีดปลวกบ้านคา
บริษัทฉีดปลวกจอมบึง
บริษัทฉีดปลวกดำเนินสะดวก
บริษัทฉีดปลวกบางแพ
บริษัทฉีดปลวกบ้านโป่ง
บริษัทฉีดปลวกปากท่อ
บริษัทฉีดปลวกวัดเพลง
บริษัทฉีดปลวกสวนผึ้ง
บริษัทฉีดปลวกโพธาราม
บริษัทฉีดปลวกเมืองฉะเชิงเทรา
บริษัทฉีดปลวกคลองเขื่อน
บริษัทฉีดปลวกท่าตะเกียบ
บริษัทฉีดปลวกบางคล้า
บริษัทฉีดปลวกบางน้ำเปรี้ยว
บริษัทฉีดปลวกบางปะกง
บริษัทฉีดปลวกบ้านโพธิ์
บริษัทฉีดปลวกพนมสารคาม
บริษัทฉีดปลวกราชสาส์น
บริษัทฉีดปลวกสนามชัยเขต
บริษัทฉีดปลวกแปลงยาว
บริษัทฉีดปลวกเมืองนครนายก
บริษัทฉีดปลวกปากพลี
บริษัทฉีดปลวกบ้านนา
บริษัทฉีดปลวกองครักษ์