9380577

ทาวเวอร์เครน คืออะไรกันนะ ปี 2023

หมวดหมู่สินค้า: A8 รถย้ายบ้าน

20 มีนาคม 2566

ผู้ชม 190 ผู้ชม

รถเฮียบขนส่งสินค้า เครื่องจักร อุปกรณ์ก่อสร้าง ด้วย รถเฮี๊ยบ - รถยก -รถเครน พร้อมคนขับ รถเฮี๊ยบ ให้เช่ารถเฮี๊ยบเครนคาร์โก้ บริการรถเฮี๊ยบ รถเฮี๊ยบรับจ้าง บรรทุกติดเครน รถกระเช้าติดปลายบูม บริการรถบรรทุก 6 ล้อ 10 ล้อ 
รถเฮี๊ยบ
รถเฮี๊ยบรับจ้าง
รถเฮียบรับจ้าง
หกล้อติดเครน
รถเฮียบ
รถเฮี๊ยบให้เช่า
รถเฮี๊ยบ5ตัน
รถเฮี๊ยบราคา 

                ติดต่อเช่ารถเฮี๊ยบ รถเครน


ทาวเวอร์เครน (Tower Crane)

ทาวเวอร์เครน (Tower Crane) ถือเป็นเครื่องจักรขนาดใหญ่ที่ใช้สำหรับเคลื่อนย้ายวัสดุที่มีน้ำหนักมาก และมีขนาดใหญ่เกินกว่าจะยกด้วยคน หรือเครื่องจักรประเภทอื่นๆ ซึ่งทาวเวอร์เครนจะมีแขนที่เคลื่อน ที่ได้รอบๆพื้นที่ก่อสร้างทำให้สะดวกยิ่งขึ้น แล้วรู้หรือไม่ว่าทาวเวอร์เครนมีลักษณะยังไง มีกี่ประเภท และมีโครงสร้างหรือชิ้นส่วนใดบ้าง แล้วแต่ละชิ้นไว้ทำอะไร บทความนี้เรามีคำตอบลองไปอ่านกันครับ

ทาวเวอร์เครน(Tower Crane) คือเครื่องจักรที่ใช้ยกของในแนวดิ่งและเคลื่อนที่ไปตามแนวราบมักพบในไซต์งานก่อสร้างเสียเป็นส่วนใหญ่เราสามารถจำแนกชนิด และประเภทได้ดังนี้คือแบบบูมราบ(Hammerhead Crane) และแบบบูมกระดก (Luffing Jib Crane) โดยทั้งสองแบบนี้ยังสามารถแยกลักษณะการติดตั้งได้อีก 3 แบบคือ แบบติดตั้งนอกอาคาร (Static Crane) แบบไต่ในช่องลิฟต์ หรือช่องเปิด (Internal Floor Climbing) และแบบเดินราง (Travelling Crane) นอกจากนี้ยังมีทาวเวอร์เครนแบบติดตั้งได้ด้วยตัวเองหรือที่เรียกว่า Self-Erection อีกด้วย

การเลือกใช้งานก็จะแตกต่างกันออกไป เช่น แบบบูมกระดกจะนิยมใช้กับไซต์งานก่อสร้างอาคารที่มีบริเวณใกล้เคียงกับผู้อื่น ไม่สามารถลุกล้ำอาณาเขตได้ จะสังเกตได้ในกรุงเทพฯ มักนิยมติดตั้งเครนในลักษณะนี้ ส่วนแบบบูมราบมักนิยมใช้กับไซต์งานก่อสร้างที่มีพื้นที่กว้าง ต้องการบูมหน้ายาวๆ เช่น 60 เมตรขึ้นไปหรือมากกว่า ประกอบกับแบบบูมราบนี้จะมีค่าเช่าที่ถูกกว่าแบบบูมกระดก

ส่วนประกอบของทาวเวอร์เครน

1. ตัวเสาของทาวเวอร์ซึ่งเป็นส่วนรับน้ำหนักโครงสร้างของทาวเวอร์เครนโดยประกอบขึ้นด้วยโครงถักเหล็กฉากรูปพรรณหรือเหล็กท่อกลม ยึดรอยต่อด้วยสลักเกลียวกำลังสูง ซึ่งทำให้สะดวกในการประกอบและรื้อถอน

2. แขนยกวัสดุ ประกอบด้วยโครงถักเหล็กฉากรูปพรรณหรือเหล็กท่อกลม ยึดรอยต่อด้วยสลักเกลียวกำลังสูงเหมือนกับตัวเสาทาวเวอร์สามารถต่อได้ยาวตามจำนวนที่ต้องการยกน้ำหนักของวัสดุ ถ้าจะยกน้ำหนักมากแขนจะสั้น ถ้ายกน้ำหนักปริมาณน้อยๆแขนสามารถยาวได้ คลอบคลุมรัศมีได้กว้างขึ้น

3. ตุ้มถ่วงน้ำหนัก จะเป็นก้อนคอนกรีตที่ทำหน้าที่ถ่วงน้ำหนักให้เกิดความสมดุลกับแขนยกในขณะที่ทำการยกวัสดุ

4. หอควบคุม ถือว่าเป็นห้องสำหรับพนักงานขับเครนที่ใช้ทำหน้าที่บังคับสั่งการให้สายสลิงและรอกสำหรับการยกวัสดุ รวมไปถึงการเคลื่อนย้ายแขนยกวัสดุไปยังทิศทางต่างๆตามที่ต้องการ จะหมุนไปทางไหนก็ได้

ส่วนประกอบหลักๆดังกล่าว เป็นหัวใจหลักของทาวเวอร์เครนที่เรามักจะเห็นกันตามไซต์งานก่อสร้าง แต่ทุกครั้งที่จะประกอบทาวเวอร์เครนพนักงานทุกคนต้องปฎิบัติตามกฎระเบียบด้านความปลอดภัยให้เคร่งครัด มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยคอยควบคุมทุกขั้นตอน และมีวิศวกรผู้เชี่ยวชาญคอยดูแล

ประเภทของ “เครน” เลือกใช้งานให้เหมาะสม!

เครน คือ เครื่องจักรกลที่ใช้ยกสิ่งของหนัก ขึ้นลงตามแนวดิ่ง และเคลื่อนย้ายสิ่งของในลักษณะแขวนลอยไปตามแนวราบแล้วเคลื่อนที่ไปมาโดยรอบหรือตามทิศทางที่กำหนดไว้ โดยการออกแบบเครนนั้น จะใช้คานตรงกลางของเครนเป็นที่รับน้ำหนักของการยก ซึ่งจำเป็นที่จะต้องได้รับการออกแบบให้แข็งแรงและปลอดภัยต่อการใช้งาน โดยทั่วไปในอุตสาหกรรม จะใช้รูปแบบของเครน เป็นตัวแบ่งประเภทของเครนตามลักษณะของเครนที่รับน้ำหนัก

ซึ่งประเภทของเครน ถูกแบ่งได้ดังนี้

1. เครนเหนือศรีษะ และเครนขาสูง (Overhead Crane and Gentry Crane)

เครนที่ใช้ยกสิ่งของที่มีน้ำหนักไม่มากเป็นเครนไฟฟ้าที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดสำหรับทุกโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทย เพราะมีโครงสร้างที่ไม่ใหญ่มากนักและใช้พื้นที่น้อย สามารถเคลื่อนที่ยกวัตถุได้ง่าย มีน้ำหนักที่ไม่มากไม่ทำให้โครงสร้างของสถานที่ใช้งานรับภาระน้ำหนักที่หนักมากเกินไป

2. เครนหอสูง (Tower Crane)

เครนที่นิยมใช้ในการก่อสร้าง เนื่องจากความสูงของตัวเครนและการใช้ยกสิ่งของที่มีน้ำหนักได้มากสามารถทุ่นแรงงานได้จำนวนมาก แต่เครนชนิดนี้ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยมากเนื่องจากหากเกิดอุบัติเหตุจะเป็นอันตรายอย่างมาก

3. รถเครน เรือเครน (Mobile Crane)

เครนที่ใช้ในการเคลื่อนที่ไปในที่ต่าง ๆ เน้นความสะดวกเป็นหลักยกน้ำหนักได้ไม่มาก แต่ถ้าเป็นเรือเครนจะยกน้ำหนักได้มาก ใช้ในเรือเป็นหลักรวมถึงท่าเรือด้วย

แยกเครนออกเป็นการใช้งาน 2 แบบ คือ

1. เครนชนิดเคลื่อนที่ (Mobile Cranes) คือ เครนที่ประกอบด้วยอุปกรณ์ควบคุม และเครื่องต้นกำลังอยู่ในตัว ซึ่งติดตั้งอยู่บนยานที่ขับเคลื่อนในตัวเอง

2. เครนชนิดอยู่กับที่ (Stationary Cranes) คือ เครนที่ประกอบด้วยอุปกรณ์ควบคุมและเครื่องต้นกำลังอยู่ในตัว ซึ่งติดตั้งอยู่บนหอสูง ขาตั้ง หรือบนล้อเลื่อน

ยกตัวอย่าง เครนชนิดเคลื่อนที่ (Mobile Cranes) ดังนี้

-รถเครนล้อยาง (All Terrain Cranes) คือ รถบรรทุกล้อยางที่มีเครนอยู่ด้านหลังหรือด้านบน ล้อยางเคลื่อนที่ทุกล้อ สามารถวิ่งได้เร็วคล้ายรถบรรทุก ทำงานในพื้นที่ขรุขระหรือพื้นที่สมบุกสมบันได้ รถเครนล้อยางนั้นจะสมบุกสมบันน้อยกว่าเครนรถแบบตีนตะขาบ มีบูมเฟรมเป็นท่อน ๆ เคลื่อนที่เข้าออกภายในบูมท่อนแรก มุมเลี้ยวแคบควบคุมให้เคลื่อนที่เข้าพื้นที่กีดขวางมุมหักศอก และองศาเลี้ยวน้อย ๆ ได้ดี มีขนาดตั้งแต่ 25 ตัน ขึ้นไป

- รถเครนตีนตะขาบ (Crawler Crane) คือ เครนที่มีการเคลื่อนที่ด้วยตีนตะขาบ และส่วนใหญ่มีบูมเป็นแบบบูมสาน (Lattices Boom) เหมาะสมกับการใช้ในไซด์งานที่บุกเบิกใหม่ พื้นที่ยังไม่ถูกบดอัด ติดหล่มยาก แต่ไม่แนะนำให้ใช้งานแบบวิ่งต่อเนื่องเป็นระยะทางคราวละหลายร้อยเมตร เพราะจะทำให้ชุดกลไกของล้อสึกเร็ว มีขนาดตั้งแต่ 50 ตัน ไปจนถึง 100 ตัน

 

-รถเครน 4 ล้อ (Rough Terrain Cranes) คือ รถแครนที่ออกแบบเพื่อใช้งานในสภาพพื้นที่ที่ขรุขระ ขับเคลื่อน 2 ล้อ หรือ 4 ล้อ ไม่เหมาะสมกับงานระยะทางที่วิ่งไกล ทำงานในพื้นที่บุกเบิกใหม่ได้หากติดหล่มมีชุดกว้านช่วยเหลือตัวเองได้ แต่ไม่สมบุกสมบันเหมือนเครนล้อตีนตะขาบ, วิ่งข้ามอำเภอ ข้ามจังหวัดได้แต่ใช้ความเร็วได้ต่ำกว่าทรัคเครน มีขนาดตั้งแต่ 8 ตัน ขึ้นไป

-เครนติดรถบรรทุก (Truck Loader Crane) คือ รถบรรทุกที่มีเครนติดตั้งอยู่บนรถบรรทุก ใช้ยกของขึ้นตัวรถบรรทุกขนาดไม่ใหญ่มาก มีแบบพับหลัง และแบบปกติ เครนติดรถบรรทุกขนาดใหญ่ ๆ สามารถยกของได้ถึง 8 ตัน ตัวรถสามารถวิ่งด้วยความเร็วได้ เลี้ยวได้มุมแคบ

ยกตัวอย่าง เครนชนิดอยู่กับที่ (Stationary Cranes) ดังนี้

-เครนหอสูงหรือปั้นจั่นหอสูง (Tower Cranes ) พื้นฐานการเคลื่อนที่ขนย้ายของได้ 6 ทิศทาง ติดตั้งรางวิ่ง (Crane Run Way) กับโครงสร้างสูงกว่าระดับพื้น เป็นเครนที่นิยมใช้ในการก่อสร้างเนื่องจากความสูงของตัวเครนและการใช้ยกสิ่งของที่มีน้ำหนักได้มากสามารถทุ่นแรงงานได้จำนวนมากแต่เครนชนิดนี้ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยมากเนื่องจากหากเกิดอุบัติเหตุจะเป็นอันตรายอย่างมาก

-เครนราง (Overhead Cranes) จะมีการติดตั้งรอกไฟฟ้าไว้ที่ด้านบนระหว่างคานสองตัว เหมาะกับโรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้ยกน้ำหนักที่หนัก ใช้สำหรับงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสหกรรมเคมี และโรงไฟฟ้า เป็นต้น

-เครนติดผนัง (Wall Cranes) เครนติดผนังยื่นแขนยก สามารถออกแบบสร้างได้ทั้งแบบคานเดี่ยว และแบบคานคู่  โดยโรงงานที่นิยมใช้ส่วนใหญ่จะทำเครนวิ่งเป็น  2 ระดับ โดยวางตำแหน่งเครนเหนือศีรษะวิ่งบนรางด้านบน และวางตำแหน่งเครนติดผนังยื่นแขนยกไว้ด้านล่าง แต่ชนิดนี้มีความเหมาะสมใช้งานยกน้ำหนักไม่หนักมาก ควรใช้งานยกน้ำหนักตั้งแต่ 1-5 ตันเท่านั้น ควรมีแขนยื่นออกมาจากรางวิ่งเพื่อยกวัตถุ ไม่เกิน 6 เมตร  และควรมีความเร็วในการวิ่งยาวไม่เกิน 20 เมตร/นาที ที่สำคัญควรใช้อินเวอร์เตอร์ควบคุมการออกและหยุดตัว เพราะการวิ่งแนวยาวที่เร็วเกินไป หรือการออกและหยุดตัวอย่างรุนแรง สำหรับเครนชนิดนี้จะเป็นอันตรายสำหรับโครงสร้างเครน และเกิดความไม่ปลอดภัยสำหรับผู้ใช้งานได้

ประโยชน์จากเครน

▸ รถเครน นอกจากจะเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนหรืออาคารสูงต่าง ๆ แล้ว ยังสามารถนำรถเครนมาประยุกต์การใช้งานในด้านต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลายอีกด้วย

▸ รถเครนใช้ในงานการแสดง เครนทำการยกสูงได้หลายสิบเมตร สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในงานการแสดงต่าง ๆได้เป็นอย่างดี ทั้งการติดกล้องกับกระเช้าเพื่อให้ได้ภาพมุมสูง หรือใช้ในงานการแสดงที่ต้องการภาพที่มีความสมจริง

▸ รถเครนใช้ในการทำความสะอาดอาคารสูง สามารถประยุกต์ใช้กระเช้าของรถเครนมาทำความสะอาดได้ โดยเริ่มจากการยกกระเช้าของรถเครนจากมุมสูง แล้วจึงทำความสะอาดไล่ระดับลงมา

▸ รถเครนใช้ในการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ไม่คาดฝัน ในกรณีที่เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติหรือเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันต่างๆ สามารถใช้รถเครนในการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุการณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ได้เป็นอย่างดี ด้วยขนาดความสูงของรถเครนซึ่งสามารถทำการขยายได้หลายสิบเมตร จึงสามารถช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในอาคารสูงได้อย่างง่ายดาย

▸ รถเครนใช้ในแปลงการเกษตร สามารถประยุกต์การใช้งานของรถเครนในแปลงการเกษตรได้

การใช้งานเครนอย่างปลอดภัย

▸ก่อนเริ่มใช้งานทุกครั้ง ควรตรวจสอบระบบการทำงานของรอกและเครน ว่าปกติหรือไม่ ก่อนทำการยกชิ้นงาน

▸ห้ามผู้ที่ไม่รู้วิธีการใช้งาน หรือไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง และรับผิดชอบโดยตรงใช้รอกและเครน

▸ไม่ควรใช้รอกและเครน เพื่อการโดยสาร

▸หยุดการใช้รอกและเครน โดยกดปุ่มสวิทซ์ฉุกเฉินทันที เมื่อเสียงดังหรือระบบการทำงานผิดปกติ

▸ไม่ควรเดินรอกหรือยกชิ้นงานข้ามศีรษะผู้อื่นโดยไม่บอกกล่าว อาจเกิดอุบัติเหตุและอันตรายได้

▸ไม่ควรเล่น แกว่งหรือโยกอย่างคึกคะนอง ขณะทำการยกชิ้นงาน

▸ห้ามทำการซ่อมแซมรอกเอง เมื่อเกิดความผิดปกติขึ้นกับรอก ควรแจ้งช่างซ่อมบำรุง หรือผู้รับผิดชอบโดยตรง

▸ไม่ควรยกหรือห้อยชิ้นงานค้างไว้ โดยไม่จำเป็นรถเฮี๊ยบเชียงราย 

รถเฮี๊ยบเชียงใหม่ 

รถเฮี๊ยบน่าน 

รถเฮี๊ยบพะเยา 

รถเฮี๊ยบแพร่ 

รถเฮี๊ยบแม่ฮ่องสอน 

รถเฮี๊ยบลำปาง 

รถเฮี๊ยบลำพูน 

รถเฮี๊ยบอุตรดิตถ์

รถเฮี๊ยบกาฬสินธุ์ 

รถเฮี๊ยบขอนแก่น 

รถเฮี๊ยบชัยภูมิ 

รถเฮี๊ยบนครพนม 

รถเฮี๊ยบนครราชสีมา 

รถเฮี๊ยบบึงกาฬ 

รถเฮี๊ยบบุรีรัมย์ 

รถเฮี๊ยบมหาสารคาม 

รถเฮี๊ยบมุกดาหาร 

รถเฮี๊ยบยโสธร 

รถเฮี๊ยบร้อยเอ็ด 

รถเฮี๊ยบเลย 

รถเฮี๊ยบสกลนคร 

รถเฮี๊ยบสุรินทร์ 

รถเฮี๊ยบศรีสะเกษ 

รถเฮี๊ยบหนองคาย 

รถเฮี๊ยบหนองบัวลำภู 

รถเฮี๊ยบอุดรธานี 

รถเฮี๊ยบอุบลราชธานี 

รถเฮี๊ยบอำนาจเจริญ 

รถเฮี๊ยบกำแพงเพชร 

รถเฮี๊ยบชัยนาท 

รถเฮี๊ยบนครนายก 

รถเฮี๊ยบนครปฐม 

รถเฮี๊ยบนครสวรรค์ 

รถเฮี๊ยบนนทบุรี 

รถเฮี๊ยบปทุมธานี 

รถเฮี๊ยบพระนครศรีอยุธยา 

รถเฮี๊ยบพิจิตร 

รถเฮี๊ยบพิษณุโลก 

รถเฮี๊ยบเพชรบูรณ์ 

รถเฮี๊ยบลพบุรี 

รถเฮี๊ยบสมุทรปราการ 

รถเฮี๊ยบสมุทรสงคราม 

รถเฮี๊ยบสมุทรสาคร 

รถเฮี๊ยบสิงห์บุรี 

รถเฮี๊ยบสุโขทัย 

รถเฮี๊ยบสุพรรณบุรี 

รถเฮี๊ยบสระบุรี 

รถเฮี๊ยบอ่างทอง 

รถเฮี๊ยบอุทัยธานี 

รถเฮี๊ยบจันทบุรี 

รถเฮี๊ยบฉะเชิงเทรา 

รถเฮี๊ยบชลบุรี 

รถเฮี๊ยบตราด 

รถเฮี๊ยบปราจีนบุรี 

รถเฮี๊ยบระยอง 

รถเฮี๊ยบสระแก้ว 

รถเฮี๊ยบกาญจนบุรี 

รถเฮี๊ยบตาก 

รถเฮี๊ยบประจวบคีรีขันธ์ 

รถเฮี๊ยบเพชรบุรี 

รถเฮี๊ยบราชบุรี 

รถเฮี๊ยบกระบี่ 

รถเฮี๊ยบชุมพร 

รถเฮี๊ยบตรัง 

รถเฮี๊ยบนครศรีธรรมราช 

รถเฮี๊ยบนราธิวาส 

รถเฮี๊ยบปัตตานี 

รถเฮี๊ยบพังงา 

รถเฮี๊ยบพัทลุง 

รถเฮี๊ยบภูเก็ต 

รถเฮี๊ยบระนอง 

รถเฮี๊ยบสตูล 

รถเฮี๊ยบสงขลา 

รถเฮี๊ยบสุราษฎร์ธานี 

รถเฮี๊ยบยะลา 

รถเฮี๊ยบกรุงเทพมหานคร

 

รถเฮี๊ยบคลองสาน 

รถเฮี๊ยบคลองสามวา 

รถเฮี๊ยบคลองเตย

รถเฮี๊ยบคันนายาว 

รถเฮี๊ยบจอมทอง 

รถเฮี๊ยบดอนเมือง

รถเฮี๊ยบดินแดง 

รถเฮี๊ยบดุสิต 

รถเฮี๊ยบตลิ่งชัน 

รถเฮี๊ยบทวีวัฒนา

รถเฮี๊ยบทุ่งครุ 

รถเฮี๊ยบธนบุรี 

รถเฮี๊ยบบางกอกน้อย

รถเฮี๊ยบบางกอกใหญ่ 

รถเฮี๊ยบบางกะปิ 

รถเฮี๊ยบบางคอแหลม

รถเฮี๊ยบบางซื่อ 

รถเฮี๊ยบบางนา 

รถเฮี๊ยบบางพลัด 

รถเฮี๊ยบบางรัก

รถเฮี๊ยบบางเขน 

รถเฮี๊ยบบางแค 

รถเฮี๊ยบบึงกุ่ม 

รถเฮี๊ยบปทุมวัน

รถเฮี๊ยบประเวศ 

รถเฮี๊ยบป้อมปราบศัตรูพ่าย 

รถเฮี๊ยบพญาไท

รถเฮี๊ยบพระนคร 

รถเฮี๊ยบพระโขนง 

รถเฮี๊ยบภาษีเจริญ 

รถเฮี๊ยบมีนบุรี

รถเฮี๊ยบยานนาวา 

รถเฮี๊ยบราชเทวี 

รถเฮี๊ยบราษฎร์บูรณะ

รถเฮี๊ยบลาดกระบัง 

รถเฮี๊ยบลาดพร้าว 

รถเฮี๊ยบวังทองหลาง

รถเฮี๊ยบวัฒนา 

รถเฮี๊ยบสวนหลวง 

รถเฮี๊ยบสะพานสูง

รถเฮี๊ยบสัมพันธวงศ์ 

รถเฮี๊ยบสาทร 

รถเฮี๊ยบสายไหม

รถเฮี๊ยบหนองจอก 

รถเฮี๊ยบหนองแขม 

รถเฮี๊ยบหลักสี่ 

รถเฮี๊ยบห้วยขวาง

รถเฮี๊ยบเมืองนครปฐม 

รถเฮี๊ยบกำแพงแสน 

รถเฮี๊ยบดอนตูม

รถเฮี๊ยบนครชัยศรี 

รถเฮี๊ยบบางเลน 

รถเฮี๊ยบพุทธมณฑล 

รถเฮี๊ยบสามพราน

รถเฮี๊ยบเมืองนนทบุรี 

รถเฮี๊ยบบางกรวย 

รถเฮี๊ยบบางบัวทอง

รถเฮี๊ยบบางใหญ่ 

รถเฮี๊ยบปากเกร็ด 

รถเฮี๊ยบไทรน้อย

รถเฮี๊ยบเมืองปทุมธานี 

รถเฮี๊ยบคลองหลวง 

รถเฮี๊ยบธัญบุรี

รถเฮี๊ยบลาดหลุมแก้ว 

รถเฮี๊ยบลำลูกกา 

รถเฮี๊ยบสามโคก 

รถเฮี๊ยบหนองเสือ

รถเฮี๊ยบเมืองสมุทรปราการ 

รถเฮี๊ยบบางพลี 

รถเฮี๊ยบบางเสาธง

รถเฮี๊ยบพระประแดง

 รถเฮี๊ยบพระสมุทรเจดีย์

รถเฮี๊ยบเมืองระยอง

รถเฮี๊ยบนิคมพัฒนา 

รถเฮี๊ยบเขาชะเมา

รถเฮี๊ยบบ้านฉาง 

รถเฮี๊ยบปลวกแดง 

รถเฮี๊ยบวังจันทร์ 

รถเฮี๊ยบแกลง

รถเฮี๊ยบเมืองชลบุรี 

รถเฮี๊ยบเกาะจันทร์ 

รถเฮี๊ยบบางละมุง

รถเฮี๊ยบบ่อทอง  

รถเฮี๊ยบบ้านบึง 

รถเฮี๊ยบพนัสนิคม

รถเฮี๊ยบพานทอง

รถเฮี๊ยบศรีราชา 

รถเฮี๊ยบสัตหีบ 

รถเฮี๊ยบหนองใหญ่ 

รถเฮี๊ยบเกาะสีชัง

รถเฮี๊ยบเมืองสมุทรสาคร 

รถเฮี๊ยบกระทุ่มแบน 

รถเฮี๊ยบบ้านแพ้ว 

รถเฮี๊ยบมหาชัย

รถเฮี๊ยบเมืองสมุทร

รถเฮี๊ยบอัมพวา 

รถเฮี๊ยบบางคนที

รถเฮี๊ยบเมืองราชบุรี 

รถเฮี๊ยบบ้านคา 

รถเฮี๊ยบจอมบึง

รถเฮี๊ยบดำเนินสะดวก 

รถเฮี๊ยบบางแพ 

รถเฮี๊ยบบ้านโป่ง

รถเฮี๊ยบปากท่อ

รถเฮี๊ยบวัดเพลง 

รถเฮี๊ยบสวนผึ้ง 

รถเฮี๊ยบโพธาราม

รถเฮี๊ยบเมืองฉะเชิงเทรา 

รถเฮี๊ยบคลองเขื่อน 

รถเฮี๊ยบท่าตะเกียบ 

รถเฮี๊ยบบางคล้า

รถเฮี๊ยบบางน้ำเปรี้ยว 

รถเฮี๊ยบบางปะกง 

รถเฮี๊ยบบ้านโพธิ์

รถเฮี๊ยบพนมสารคาม

รถเฮี๊ยบราชสาส์น 

รถเฮี๊ยบสนามชัยเขต 

รถเฮี๊ยบแปลงยาว

รถเฮี๊ยบเมืองนครนายก 

รถเฮี๊ยบปากพลี 

รถเฮี๊ยบบ้านนา 

รถเฮี๊ยบองครักษ์

 




 

Engine by shopup.com